SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 1
อสมการ (12 ชั่วโมง)
1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง)
1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (5 ชั่วโมง)
1.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (4 ชั่วโมง)
เนื้อหาที่นําเสนอในบทนี้เปนการใหความรูเกี่ยวกับอสมการ อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแก
อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติของการไมเทากัน และการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิง
เสนตัวแปรเดียว
เนื่องจากสมบัติของการไมเทากันมีหลายขอที่คลายคลึงกับสมบัติของการเทากัน ดังนั้นในการใช
สมบัติของการไมเทากันมาชวยในการแกอสมการ ครูควรเนนใหนักเรียนระมัดระวังเรื่องการใชสมบัติการ
คูณของการไมเทากันโดยเฉพาะเมื่อนําจํานวนลบมาคูณทั้งสองขางของอสมการ ซึ่งจะตองมีการเปลี่ยน
เครื่องหมายของอสมการ จึงจะยังทําใหอสมการเปนจริง
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. แกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได
2. ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2
แนวทางในการจัดการเรียนรู
1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนประโยคเกี่ยวกับจํานวนใหเปนประโยคที่ใชสัญลักษณ < , > , < , > หรือ ≠ ได
2. ระบุวาประโยคที่กําหนดให เปนหรือไมเปนอสมการ
3. หาคําตอบและเขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการที่กําหนดใหได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนการเขียนประโยคเกี่ยวกับจํานวนใหเปนสมการ แลวใหนักเรียนชวยกัน
ยกตัวอยางประโยคเกี่ยวกับจํานวนที่มีคําแสดงความสัมพันธ นอยกวา มากกวา นอยกวาหรือเทากับ
มากกวาหรือเทากับ ไมเทากับ เพื่อนําไปสูการอธิบายเกี่ยวกับอสมการ
2. ครูควรใหนักเรียนสังเกตวาอสมการแตละอสมการอาจมีหรือไมมีตัวแปรก็ได เพื่อนําไปสู
การอธิบายและยกตัวอยางของอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
3. ครูควรใหนักเรียนหาคําตอบของอสมการโดยการลองแทนคาตัวแปรดวยจํานวนในอสมการ
งาย ๆ และชี้ใหนักเรียนเห็นวาอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวสวนใหญที่จะพบในบทนี้มีคําตอบเปนจํานวน
จริงมากมายที่สามารถเขียนแสดงไดบนเสนจํานวน ตัวอยางที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 4 แสดงถึงอสมการ 3 แบบ
ตามลักษณะคําตอบ ครูควรใหนักเรียนสังเกตวาคําตอบของอสมการมีได 3 แบบ แตละแบบเปนอยางไร
และมีลักษณะแตกตางจากคําตอบของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวอยางไร
4. ครูควรทบทวนความรูเรื่องเสนจํานวนและการแทนจํานวนจริงบนเสนจํานวนที่นักเรียนเคย
เรียนมาแลว และชี้ใหนักเรียนเห็นจากตัวอยางวาเราใชความรูดังกลาวในการเขียนกราฟแสดงคําตอบของ
อสมการ ซึ่งจะทําใหเห็นคําตอบที่เปนชวงไดชัดเจนขึ้น
5. แบบฝกหัด 1.1 เจตนาใหนักเรียนไดฝกเขียนอสมการแทนประโยคที่ใชสัญลักษณทาง
คณิตศาสตร เพื่อเปนพื้นฐานในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการ ตลอดจนฝกใหนักเรียนเขียนและอาน
กราฟแสดงคําตอบของอสมการที่หลากหลาย
3
1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่กําหนดให โดยใชสมบัติของการ
ไมเทากันได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนการใชสมบัติการบวกและสมบัติการคูณในการแกสมการ เพื่อนําไปสูการใช
สมบัติการบวกของการไมเทากันและสมบัติการคูณของการไมเทากันในการแกอสมการ
2. ครูอาจสอนใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับการสมมูลของอสมการ โดยยกตัวอยางตามที่เสนอไวใน
หนังสือเรียน จากนั้นครูอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมที่แสดงการสมมูลกันของอสมการมากกวาหนึ่งคู เชน
3x – 2 > 5 สมมูลกับ 3x > 7 และ 3x > 7 สมมูลกับ x > 7
3 การหาอสมการที่สมมูลกับอสมการใด
ๆ ทําไดโดยใชสมบัติของการไมเทากัน ในการแกอสมการ เราจะพยายามหาอสมการที่สมมูลกับอสมการ
เดิม และอยูในรูปงาย ๆ ตอการหาคําตอบที่สังเกตได
3. ครูควรถามเพื่อใหนักเรียนเห็นวา การลบทั้งสองขางของอสมการดวยคาคงตัว c ใด ๆ ยัง
สามารถใชสมบัติการบวกของการไมเทากันได เนื่องจากการลบดวย c คือการบวกดวย -c และการหาร
ทั้งสองขางของอสมการดวยคาคงตัว c ใด ๆ ที่ไมเทากับ 0 ยังสามารถใชสมบัติการคูณของการไมเทากันได
เนื่องจากการหารดวย c คือการคูณดวย 1
c
4. ครูควรยกตัวอยางการแกอสมการที่มีความหลากหลายและเพิ่มระดับความซับซอนดังตัวอยาง
ที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 8 และควรใหนักเรียนระมัดระวังการคูณทั้งสองขางของอสมการดวยจํานวนลบ จําเปนตอง
เปลี่ยนเครื่องหมายจาก < เปน >, < เปน >, > เปน < และ > เปน < จึงจะทําใหอสมการเปนจริง
5. ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาในการแกอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เราไมใชสมบัติการบวกของ
การไมเทากัน และสมบัติการคูณของการไมเทากัน เนื่องจากสมบัติทั้งสองไมไดรวมถึงความสัมพันธ ≠
เชน การแกอสมการ 2x + 10 ≠ 30 จะไมดําเนินการดังนี้
2x + 10 ≠ 30
2x ≠ 20
x ≠ 10
แตใชการแกสมการดังนี้
2x + 10 = 30
2x = 20
x = 10
ดังนั้น คําตอบของอสมการ 2x + 10 ≠ 30 คือจํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 10
4
การแกอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ จะแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากัน ซึ่งคําตอบของ
อสมการที่ตองการเปนจํานวนทุกจํานวนยกเวนจํานวนที่เปนคําตอบของสมการ
6. กิจกรรม “นาคิด” มีเจตนาใหนักเรียนวิเคราะหหาเหตุผลในการตัดสินวาขอความถูกตอง
หรือไม ครูควรใหนักเรียนอธิบายวิธีคิด สําหรับขอความที่นักเรียนตอบวาไมถูกตอง ใหนักเรียนอธิบาย
โดยการยกตัวอยางคาน และสําหรับขอความที่นักเรียนตอบวาถูกตองใหนักเรียนอธิบายโดยใชสมบัติของ
การไมเทากัน
7. แบบฝกหัด 1.2 มีเจตนาฝกทักษะการแกอสมการที่หลากหลาย ในขอแรกอาจใหนักเรียน
เขียนกราฟแสดงคําตอบเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนเรื่องชวงและอสมการในระดับที่สูงขึ้น แตเมื่ออสมการ
ซับซอนขึ้น ควรเนนกระบวนการแกอสมการโดยไมจําเปนตองเขียนกราฟแสดงคําตอบ
8. กิจกรรม “บอกหนอยซิ” เปนกิจกรรมที่มีเจตนาใหนักเรียนเห็นอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว
ที่มีลักษณะพิเศษและมีลักษณะของคําตอบตาง ๆ กัน การใชสมบัติของการไมเทากันในการหาคําตอบของ
อสมการเหลานี้อาจทําใหนักเรียนสับสน เนื่องจากอาจทําใหตัวแปรหายไป ในบางขอครูอาจใหนักเรียนใช
ความรูสึกเชิงจํานวนมาชวยในการวิเคราะห
1.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวจากโจทยปญหาที่กําหนดใหได
2. ใชความรูเรื่องการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาที่กําหนด
ใหได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูควรทบทวนการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวเพื่อนําไปสูการสอน
ขั้นตอนในการแกปญหา 5 ขั้นตอนตามรายละเอียดในหนังสือ จากนั้นครูอาจฝก 3 ขั้นตอนแรกกอน คือ
การวิเคราะหโจทยเพื่อหาวาโจทยกําหนดอะไรมาใหและใหหาอะไร การกําหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทยให
หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวของกับสิ่งที่โจทยใหหา และการเขียนอสมการตามเงื่อนไขในโจทย การฝก 3
ขั้นตอนแรกใหมากพอ จะชวยใหนักเรียนคุนเคยกับการวิเคราะหโจทยและสรางอสมการ ทั้งนี้ครูควรฝกให
นักเรียนหาคําที่มีความหมายเชนเดียวกับคําที่มักพบในโจทยปญหาเชนคําวา “ไมถึง” “ไมเกิน”
“ไมมากกวา” และ “ไมนอยกวา” ดวย
ครูอาจเพิ่มเติมโดยหาโจทยปญหาทั่ว ๆ ไปหรือโจทยปญหาในทองถิ่นที่มีการใชคําที่แสดง
ความสัมพันธในลักษณะเปนอสมการ เพื่อใหนักเรียนเกิดความคุนเคยกับความหมายของคํา
5
2. เมื่อนักเรียนแกอสมการและหาคําตอบได ครูควรฝกใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบที่ไดวาตรง
กับเงื่อนไขในโจทยหรือไม และควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาคําตอบของโจทยปญหาอาจเปนเพียงบางคําตอบ
ของอสมการที่หาได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไข เชน ถาเปนความยาวจะเปนจํานวนบวก นักเรียนตอง
ตรวจสอบคําตอบและความสมเหตุสมผลของคําตอบตามเงื่อนไขของโจทยแตละขอ
3. กิจกรรม “คิดหนอย” เปนโจทยเชื่อมโยงความรูเรื่องอัตราสวนกับอสมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียว
4. กิจกรรม “อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม” เปนกิจกรรมที่แสดงถึงการเชื่อมโยงความรูเรื่อง
อสมการไปใชในการแกปญหาทางเรขาคณิต ความรูเรื่องอสมการอิงรูปสามเหลี่ยมจะนําไปใชมากใน
คณิตศาสตรระดับสูงขึ้นไป
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) 3x + 6 < 20
2) 3x < 18
3) x + 7 > 25
4) 7 x15 ≠ 105
5) 3
4 (x – 2) < 40
6) 2(x – 4) < 5(x + 8)
7) 3
4 x + 8 < 15
2.
1)
2)
3)
-18 9-9 0 18 27
-9 0-6 -3 3 6
-12 6-6 0 12 18
6
4)
5)
3.
1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา -2
2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 8
3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 15
4) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -6
5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 10 แตนอยกวาหรือเทากับ 30
6) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ -150 แตนอยกวาหรือเทากับ 50
คําตอบกิจกรรม “นาคิด”
1. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = 1, b = 2 และ c = -5
จะได 1 < 2 แต (1)(-5) > (2)(-5) หรือ -5 > -10
2. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = -10 และ b = 3 จะได -10 < 3 แต (-10)2
> 32
หรือ 100 > 9
3. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = 2 และ b = -3 จะได 22
< (-3)2
หรือ 4 < 9 แต 2 > -3
4. ถูกตอง เนื่องจากเมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ
ถา a < b แลว -a > -b (สมบัติการคูณของการไมเทากัน)
-a + c > -b + c (สมบัติการบวกของการไมเทากัน)
หรือ c – a > c – b
5. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = -2, b = 1 และ c = 0 จะได -2 < 1
แต (-2)2
– 02
> 12
– 02
หรือ 4 > 1
6. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = -5 และ b = 5 จะได -5 ≠ 5 แต (-5)2
= 52
หรือ 25 = 25
-6 120 6 18 24
-10 200 10 30 40
7
คําตอบแบบฝกหัด 1.2
1.
1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 7
2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 2
3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 12
4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่ยกเวน 4
5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 7
6) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 13
7) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 5
8) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 111
9) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 15
14
10) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 5
5 86 7 9
-1 20 1 3
-6 120 6 18
-14 7-7 0 14
11 1412 13 15
-5 100 5 15
1 15
14
2
0 62 4 8
0 11137 74 148
-5 100 5 15
8
2.
1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 26
2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา -2
3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 5
4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ -3
5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 1
6) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -8
3
7) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 31
8) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 7
2
9) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 3
10) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 7159
11) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -4
12) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 0
คําตอบกิจกรรม “บอกหนอยซิ”
1) ไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบ
ตัวอยางแนวคิด จํานวนใดจํานวนหนึ่งลบดวย 2 ยอมมากกวาจํานวนนั้นลบดวย 3
ดังนั้น ไมมีจํานวนใดลบดวย 2 แลวยังนอยกวาจํานวนนั้นลบดวย 3
2) จํานวนจริงทุกจํานวน
ตัวอยางแนวคิด สองเทาของจํานวนใดจํานวนหนึ่ง ยอมมากกวาสองเทาของจํานวนนั้น
ลบดวย 1
3) จํานวนจริงทุกจํานวน
ตัวอยางแนวคิด จํานวนใดจํานวนหนึ่งลบดวย 2 ยอมนอยกวาจํานวนนั้นบวกดวย 1
4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 0
ตัวอยางแนวคิด สองเทาของจํานวนบวก ยอมมากกวาจํานวนนั้น
หรือ 2y > y
2y – y > 0
ดังนั้น y > 0
9
คําตอบแบบฝกหัด 1.3
1. 249 หนา
2. 48 เหรียญ
3. 11 และ 12
4. 135 ตารางเซนติเมตร
5. จํานวนนักเรียนหอง ก ที่เปนไปไดคือ 24, 30, 36, ..., 48
( 2
3 ของจํานวนนักเรียนหอง ก และ 1
2 ของนักเรียนหอง ข ตองเปนจํานวนนับ)
6. ควรบรรจุมะมวงใสลังอยางนอยลังละ 55 ผล อยางมากลังละ 75 ผล
คําตอบกิจกรรม “คิดหนอย”
คําตอบ เดิมแชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมดเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่งในจํานวนตอไปนี้
1002, 1008, 1014, ..., 1398
แนวคิด ใหแชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมด x ตัว
ขายเปดไป 500 ตัว ขายไกไป 200 ตัว
ดังนั้น ขายสัตวไปทั้งหมด 700 ตัว
นั่นคือ จะเหลือสัตวทั้งหมด x – 700 ตัว
แตเหลือสัตวไมถึงครึ่งหนึ่งของจํานวนสัตวเดิม
จะได x – 700 < x
2
ดังนั้น x < 1400 --------------- (1)
จากอัตราสวน เปด : ไก : กระตาย = 3 : 2 : 1
นั่นคือ เมื่อมีสัตวทั้งหมด 6 ตัว จะเปนเปด 3 ตัว ไก 2 ตัว และกระตาย 1 ตัว
ดังนั้น ถามีสัตว x ตัว จะเปนเปด 3x6 ตัว ไก 2x6 ตัว และกระตาย x
6 ตัว
เนื่องจากขายเปดไป 500 ตัว แสดงวามีเปดอยางนอย 500 ตัว
ดังนั้น 3x6 > 500
x > 1000 --------------- (2)
และขายไกไป 200 ตัว
ดังนั้น 2x6 > 200
x > 600 --------------- (3)
10
จาก (1), (2) และ (3) จะได 1000 < x < 1400 และจากอัตราสวนของจํานวนเปด ไก
และกระตาย เปน 3 : 2 : 1
ดังนั้น จํานวนสัตวทั้งหมดคือ x ตองหารดวย 6 ลงตัว ซึ่งจํานวนที่อาจเปนไปได
ไดแก 1002, 1008, 1014, ..., 1398
นั่นคือ แชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมดเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่งดังขางตน
คําตอบกิจกรรม “อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม”
1.
(1) สวนของเสนตรงในขอ 1) และ 3) สามารถประกอบเปนรูปสามเหลี่ยมได เพราะผลบวกของ
ความยาวของดานสองดานใด ๆ จะยาวกวาความยาวของดานที่เหลือ
(2) สวนของเสนตรงในขอ 2) และ 4) ไมสามารถประกอบเปนรูปสามเหลี่ยมได เพราะมีผลบวก
ของความยาวของดานสองดาน บางคูไมยาวกวาความยาวของดานที่เหลือ ดังนี้
ในขอ 2) ผลบวกของความยาวของดานที่ยาว 7 และ 9 ซึ่งเทากับ 16 เซนติเมตร
สั้นกวาความยาวของดานที่เหลือซึ่งยาว 17 เซนติเมตร
ในขอ 3) ผลบวกของความยาวของดานที่ยาว 4 และ 11 ซึ่งเทากับ 15 เซนติเมตร
ไมยาวกวาความยาวของดานที่เหลือซึ่งยาว 15 เซนติเมตร
2.
1) 6 < AB < 24
2) 3
2 < AB < 19
6

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1Manas Panjai
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53GiveAGift
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2jutarattubtim
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาDarika Roopdee
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตอนุชิต ไชยชมพู
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันAon Narinchoti
 

What's hot (20)

Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ม.3 ชุด 1
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
การ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอาการ์ตูนทำแผนเอา
การ์ตูนทำแผนเอา
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
Set
SetSet
Set
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Key o net-math3-y54(2)
Key o net-math3-y54(2)Key o net-math3-y54(2)
Key o net-math3-y54(2)
 

Viewers also liked

Viewers also liked (9)

Add m5-2-link
Add m5-2-linkAdd m5-2-link
Add m5-2-link
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 

Similar to Basic m3-2-chapter1

แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3Jirathorn Buenglee
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 

Similar to Basic m3-2-chapter1 (20)

Add m3-1-chapter1
Add m3-1-chapter1Add m3-1-chapter1
Add m3-1-chapter1
 
Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 
Add m1-1-chapter3
Add m1-1-chapter3Add m1-1-chapter3
Add m1-1-chapter3
 
Eq5
Eq5Eq5
Eq5
 
Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Pat1 52-07+key
Pat1 52-07+keyPat1 52-07+key
Pat1 52-07+key
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (18)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m3-2-chapter1

  • 1. บทที่ 1 อสมการ (12 ชั่วโมง) 1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง) 1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (5 ชั่วโมง) 1.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (4 ชั่วโมง) เนื้อหาที่นําเสนอในบทนี้เปนการใหความรูเกี่ยวกับอสมการ อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว การแก อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวโดยใชสมบัติของการไมเทากัน และการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิง เสนตัวแปรเดียว เนื่องจากสมบัติของการไมเทากันมีหลายขอที่คลายคลึงกับสมบัติของการเทากัน ดังนั้นในการใช สมบัติของการไมเทากันมาชวยในการแกอสมการ ครูควรเนนใหนักเรียนระมัดระวังเรื่องการใชสมบัติการ คูณของการไมเทากันโดยเฉพาะเมื่อนําจํานวนลบมาคูณทั้งสองขางของอสมการ ซึ่งจะตองมีการเปลี่ยน เครื่องหมายของอสมการ จึงจะยังทําใหอสมการเปนจริง ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. แกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวได 2. ใชความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 2 แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 อสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนประโยคเกี่ยวกับจํานวนใหเปนประโยคที่ใชสัญลักษณ < , > , < , > หรือ ≠ ได 2. ระบุวาประโยคที่กําหนดให เปนหรือไมเปนอสมการ 3. หาคําตอบและเขียนกราฟแสดงคําตอบของอสมการที่กําหนดใหได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนการเขียนประโยคเกี่ยวกับจํานวนใหเปนสมการ แลวใหนักเรียนชวยกัน ยกตัวอยางประโยคเกี่ยวกับจํานวนที่มีคําแสดงความสัมพันธ นอยกวา มากกวา นอยกวาหรือเทากับ มากกวาหรือเทากับ ไมเทากับ เพื่อนําไปสูการอธิบายเกี่ยวกับอสมการ 2. ครูควรใหนักเรียนสังเกตวาอสมการแตละอสมการอาจมีหรือไมมีตัวแปรก็ได เพื่อนําไปสู การอธิบายและยกตัวอยางของอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว 3. ครูควรใหนักเรียนหาคําตอบของอสมการโดยการลองแทนคาตัวแปรดวยจํานวนในอสมการ งาย ๆ และชี้ใหนักเรียนเห็นวาอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวสวนใหญที่จะพบในบทนี้มีคําตอบเปนจํานวน จริงมากมายที่สามารถเขียนแสดงไดบนเสนจํานวน ตัวอยางที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 4 แสดงถึงอสมการ 3 แบบ ตามลักษณะคําตอบ ครูควรใหนักเรียนสังเกตวาคําตอบของอสมการมีได 3 แบบ แตละแบบเปนอยางไร และมีลักษณะแตกตางจากคําตอบของสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวอยางไร 4. ครูควรทบทวนความรูเรื่องเสนจํานวนและการแทนจํานวนจริงบนเสนจํานวนที่นักเรียนเคย เรียนมาแลว และชี้ใหนักเรียนเห็นจากตัวอยางวาเราใชความรูดังกลาวในการเขียนกราฟแสดงคําตอบของ อสมการ ซึ่งจะทําใหเห็นคําตอบที่เปนชวงไดชัดเจนขึ้น 5. แบบฝกหัด 1.1 เจตนาใหนักเรียนไดฝกเขียนอสมการแทนประโยคที่ใชสัญลักษณทาง คณิตศาสตร เพื่อเปนพื้นฐานในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการ ตลอดจนฝกใหนักเรียนเขียนและอาน กราฟแสดงคําตอบของอสมการที่หลากหลาย
  • 3. 3 1.2 การแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวที่กําหนดให โดยใชสมบัติของการ ไมเทากันได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนการใชสมบัติการบวกและสมบัติการคูณในการแกสมการ เพื่อนําไปสูการใช สมบัติการบวกของการไมเทากันและสมบัติการคูณของการไมเทากันในการแกอสมการ 2. ครูอาจสอนใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับการสมมูลของอสมการ โดยยกตัวอยางตามที่เสนอไวใน หนังสือเรียน จากนั้นครูอาจยกตัวอยางเพิ่มเติมที่แสดงการสมมูลกันของอสมการมากกวาหนึ่งคู เชน 3x – 2 > 5 สมมูลกับ 3x > 7 และ 3x > 7 สมมูลกับ x > 7 3 การหาอสมการที่สมมูลกับอสมการใด ๆ ทําไดโดยใชสมบัติของการไมเทากัน ในการแกอสมการ เราจะพยายามหาอสมการที่สมมูลกับอสมการ เดิม และอยูในรูปงาย ๆ ตอการหาคําตอบที่สังเกตได 3. ครูควรถามเพื่อใหนักเรียนเห็นวา การลบทั้งสองขางของอสมการดวยคาคงตัว c ใด ๆ ยัง สามารถใชสมบัติการบวกของการไมเทากันได เนื่องจากการลบดวย c คือการบวกดวย -c และการหาร ทั้งสองขางของอสมการดวยคาคงตัว c ใด ๆ ที่ไมเทากับ 0 ยังสามารถใชสมบัติการคูณของการไมเทากันได เนื่องจากการหารดวย c คือการคูณดวย 1 c 4. ครูควรยกตัวอยางการแกอสมการที่มีความหลากหลายและเพิ่มระดับความซับซอนดังตัวอยาง ที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 8 และควรใหนักเรียนระมัดระวังการคูณทั้งสองขางของอสมการดวยจํานวนลบ จําเปนตอง เปลี่ยนเครื่องหมายจาก < เปน >, < เปน >, > เปน < และ > เปน < จึงจะทําใหอสมการเปนจริง 5. ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาในการแกอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ เราไมใชสมบัติการบวกของ การไมเทากัน และสมบัติการคูณของการไมเทากัน เนื่องจากสมบัติทั้งสองไมไดรวมถึงความสัมพันธ ≠ เชน การแกอสมการ 2x + 10 ≠ 30 จะไมดําเนินการดังนี้ 2x + 10 ≠ 30 2x ≠ 20 x ≠ 10 แตใชการแกสมการดังนี้ 2x + 10 = 30 2x = 20 x = 10 ดังนั้น คําตอบของอสมการ 2x + 10 ≠ 30 คือจํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 10
  • 4. 4 การแกอสมการที่มีเครื่องหมาย ≠ จะแกสมการโดยใชสมบัติของการเทากัน ซึ่งคําตอบของ อสมการที่ตองการเปนจํานวนทุกจํานวนยกเวนจํานวนที่เปนคําตอบของสมการ 6. กิจกรรม “นาคิด” มีเจตนาใหนักเรียนวิเคราะหหาเหตุผลในการตัดสินวาขอความถูกตอง หรือไม ครูควรใหนักเรียนอธิบายวิธีคิด สําหรับขอความที่นักเรียนตอบวาไมถูกตอง ใหนักเรียนอธิบาย โดยการยกตัวอยางคาน และสําหรับขอความที่นักเรียนตอบวาถูกตองใหนักเรียนอธิบายโดยใชสมบัติของ การไมเทากัน 7. แบบฝกหัด 1.2 มีเจตนาฝกทักษะการแกอสมการที่หลากหลาย ในขอแรกอาจใหนักเรียน เขียนกราฟแสดงคําตอบเพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนเรื่องชวงและอสมการในระดับที่สูงขึ้น แตเมื่ออสมการ ซับซอนขึ้น ควรเนนกระบวนการแกอสมการโดยไมจําเปนตองเขียนกราฟแสดงคําตอบ 8. กิจกรรม “บอกหนอยซิ” เปนกิจกรรมที่มีเจตนาใหนักเรียนเห็นอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ที่มีลักษณะพิเศษและมีลักษณะของคําตอบตาง ๆ กัน การใชสมบัติของการไมเทากันในการหาคําตอบของ อสมการเหลานี้อาจทําใหนักเรียนสับสน เนื่องจากอาจทําใหตัวแปรหายไป ในบางขอครูอาจใหนักเรียนใช ความรูสึกเชิงจํานวนมาชวยในการวิเคราะห 1.3 โจทยปญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวจากโจทยปญหาที่กําหนดใหได 2. ใชความรูเรื่องการแกอสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวหาคําตอบของโจทยปญหาที่กําหนด ใหได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูควรทบทวนการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวเพื่อนําไปสูการสอน ขั้นตอนในการแกปญหา 5 ขั้นตอนตามรายละเอียดในหนังสือ จากนั้นครูอาจฝก 3 ขั้นตอนแรกกอน คือ การวิเคราะหโจทยเพื่อหาวาโจทยกําหนดอะไรมาใหและใหหาอะไร การกําหนดตัวแปรแทนสิ่งที่โจทยให หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวของกับสิ่งที่โจทยใหหา และการเขียนอสมการตามเงื่อนไขในโจทย การฝก 3 ขั้นตอนแรกใหมากพอ จะชวยใหนักเรียนคุนเคยกับการวิเคราะหโจทยและสรางอสมการ ทั้งนี้ครูควรฝกให นักเรียนหาคําที่มีความหมายเชนเดียวกับคําที่มักพบในโจทยปญหาเชนคําวา “ไมถึง” “ไมเกิน” “ไมมากกวา” และ “ไมนอยกวา” ดวย ครูอาจเพิ่มเติมโดยหาโจทยปญหาทั่ว ๆ ไปหรือโจทยปญหาในทองถิ่นที่มีการใชคําที่แสดง ความสัมพันธในลักษณะเปนอสมการ เพื่อใหนักเรียนเกิดความคุนเคยกับความหมายของคํา
  • 5. 5 2. เมื่อนักเรียนแกอสมการและหาคําตอบได ครูควรฝกใหนักเรียนตรวจสอบคําตอบที่ไดวาตรง กับเงื่อนไขในโจทยหรือไม และควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาคําตอบของโจทยปญหาอาจเปนเพียงบางคําตอบ ของอสมการที่หาได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเงื่อนไข เชน ถาเปนความยาวจะเปนจํานวนบวก นักเรียนตอง ตรวจสอบคําตอบและความสมเหตุสมผลของคําตอบตามเงื่อนไขของโจทยแตละขอ 3. กิจกรรม “คิดหนอย” เปนโจทยเชื่อมโยงความรูเรื่องอัตราสวนกับอสมการเชิงเสน ตัวแปรเดียว 4. กิจกรรม “อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม” เปนกิจกรรมที่แสดงถึงการเชื่อมโยงความรูเรื่อง อสมการไปใชในการแกปญหาทางเรขาคณิต ความรูเรื่องอสมการอิงรูปสามเหลี่ยมจะนําไปใชมากใน คณิตศาสตรระดับสูงขึ้นไป คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) 3x + 6 < 20 2) 3x < 18 3) x + 7 > 25 4) 7 x15 ≠ 105 5) 3 4 (x – 2) < 40 6) 2(x – 4) < 5(x + 8) 7) 3 4 x + 8 < 15 2. 1) 2) 3) -18 9-9 0 18 27 -9 0-6 -3 3 6 -12 6-6 0 12 18
  • 6. 6 4) 5) 3. 1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา -2 2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 8 3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 15 4) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -6 5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 10 แตนอยกวาหรือเทากับ 30 6) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ -150 แตนอยกวาหรือเทากับ 50 คําตอบกิจกรรม “นาคิด” 1. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = 1, b = 2 และ c = -5 จะได 1 < 2 แต (1)(-5) > (2)(-5) หรือ -5 > -10 2. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = -10 และ b = 3 จะได -10 < 3 แต (-10)2 > 32 หรือ 100 > 9 3. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = 2 และ b = -3 จะได 22 < (-3)2 หรือ 4 < 9 แต 2 > -3 4. ถูกตอง เนื่องจากเมื่อ a, b และ c แทนจํานวนจริงใด ๆ ถา a < b แลว -a > -b (สมบัติการคูณของการไมเทากัน) -a + c > -b + c (สมบัติการบวกของการไมเทากัน) หรือ c – a > c – b 5. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = -2, b = 1 และ c = 0 จะได -2 < 1 แต (-2)2 – 02 > 12 – 02 หรือ 4 > 1 6. ไมถูกตอง ตัวอยางเชน a = -5 และ b = 5 จะได -5 ≠ 5 แต (-5)2 = 52 หรือ 25 = 25 -6 120 6 18 24 -10 200 10 30 40
  • 7. 7 คําตอบแบบฝกหัด 1.2 1. 1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 7 2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 2 3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 12 4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่ยกเวน 4 5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 7 6) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 13 7) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 5 8) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 111 9) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 15 14 10) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 5 5 86 7 9 -1 20 1 3 -6 120 6 18 -14 7-7 0 14 11 1412 13 15 -5 100 5 15 1 15 14 2 0 62 4 8 0 11137 74 148 -5 100 5 15
  • 8. 8 2. 1) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 26 2) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา -2 3) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 5 4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ -3 5) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 1 6) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -8 3 7) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 31 8) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวาหรือเทากับ 7 2 9) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวาหรือเทากับ 3 10) จํานวนจริงทุกจํานวนที่นอยกวา 7159 11) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน -4 12) จํานวนจริงทุกจํานวนยกเวน 0 คําตอบกิจกรรม “บอกหนอยซิ” 1) ไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบ ตัวอยางแนวคิด จํานวนใดจํานวนหนึ่งลบดวย 2 ยอมมากกวาจํานวนนั้นลบดวย 3 ดังนั้น ไมมีจํานวนใดลบดวย 2 แลวยังนอยกวาจํานวนนั้นลบดวย 3 2) จํานวนจริงทุกจํานวน ตัวอยางแนวคิด สองเทาของจํานวนใดจํานวนหนึ่ง ยอมมากกวาสองเทาของจํานวนนั้น ลบดวย 1 3) จํานวนจริงทุกจํานวน ตัวอยางแนวคิด จํานวนใดจํานวนหนึ่งลบดวย 2 ยอมนอยกวาจํานวนนั้นบวกดวย 1 4) จํานวนจริงทุกจํานวนที่มากกวา 0 ตัวอยางแนวคิด สองเทาของจํานวนบวก ยอมมากกวาจํานวนนั้น หรือ 2y > y 2y – y > 0 ดังนั้น y > 0
  • 9. 9 คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. 249 หนา 2. 48 เหรียญ 3. 11 และ 12 4. 135 ตารางเซนติเมตร 5. จํานวนนักเรียนหอง ก ที่เปนไปไดคือ 24, 30, 36, ..., 48 ( 2 3 ของจํานวนนักเรียนหอง ก และ 1 2 ของนักเรียนหอง ข ตองเปนจํานวนนับ) 6. ควรบรรจุมะมวงใสลังอยางนอยลังละ 55 ผล อยางมากลังละ 75 ผล คําตอบกิจกรรม “คิดหนอย” คําตอบ เดิมแชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมดเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่งในจํานวนตอไปนี้ 1002, 1008, 1014, ..., 1398 แนวคิด ใหแชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมด x ตัว ขายเปดไป 500 ตัว ขายไกไป 200 ตัว ดังนั้น ขายสัตวไปทั้งหมด 700 ตัว นั่นคือ จะเหลือสัตวทั้งหมด x – 700 ตัว แตเหลือสัตวไมถึงครึ่งหนึ่งของจํานวนสัตวเดิม จะได x – 700 < x 2 ดังนั้น x < 1400 --------------- (1) จากอัตราสวน เปด : ไก : กระตาย = 3 : 2 : 1 นั่นคือ เมื่อมีสัตวทั้งหมด 6 ตัว จะเปนเปด 3 ตัว ไก 2 ตัว และกระตาย 1 ตัว ดังนั้น ถามีสัตว x ตัว จะเปนเปด 3x6 ตัว ไก 2x6 ตัว และกระตาย x 6 ตัว เนื่องจากขายเปดไป 500 ตัว แสดงวามีเปดอยางนอย 500 ตัว ดังนั้น 3x6 > 500 x > 1000 --------------- (2) และขายไกไป 200 ตัว ดังนั้น 2x6 > 200 x > 600 --------------- (3)
  • 10. 10 จาก (1), (2) และ (3) จะได 1000 < x < 1400 และจากอัตราสวนของจํานวนเปด ไก และกระตาย เปน 3 : 2 : 1 ดังนั้น จํานวนสัตวทั้งหมดคือ x ตองหารดวย 6 ลงตัว ซึ่งจํานวนที่อาจเปนไปได ไดแก 1002, 1008, 1014, ..., 1398 นั่นคือ แชมเลี้ยงสัตวไวทั้งหมดเปนจํานวนใดจํานวนหนึ่งดังขางตน คําตอบกิจกรรม “อสมการอิงรูปสามเหลี่ยม” 1. (1) สวนของเสนตรงในขอ 1) และ 3) สามารถประกอบเปนรูปสามเหลี่ยมได เพราะผลบวกของ ความยาวของดานสองดานใด ๆ จะยาวกวาความยาวของดานที่เหลือ (2) สวนของเสนตรงในขอ 2) และ 4) ไมสามารถประกอบเปนรูปสามเหลี่ยมได เพราะมีผลบวก ของความยาวของดานสองดาน บางคูไมยาวกวาความยาวของดานที่เหลือ ดังนี้ ในขอ 2) ผลบวกของความยาวของดานที่ยาว 7 และ 9 ซึ่งเทากับ 16 เซนติเมตร สั้นกวาความยาวของดานที่เหลือซึ่งยาว 17 เซนติเมตร ในขอ 3) ผลบวกของความยาวของดานที่ยาว 4 และ 11 ซึ่งเทากับ 15 เซนติเมตร ไมยาวกวาความยาวของดานที่เหลือซึ่งยาว 15 เซนติเมตร 2. 1) 6 < AB < 24 2) 3 2 < AB < 19 6