SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
บทที่ 2
การแจกแจงปกติ
(20 ชั่วโมง)
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. นําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล
2. หาพื้นที่ใตเสนโคงปกติและนําความรูเกี่ยวกับพื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได
ขอเสนอแนะ
1. ความสําคัญของคะแนนมาตรฐาน
คะแนนมาตรฐานจะบอกใหทราบวาคาสังเกตนั้นๆ อยูหางจากคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนกี่เทา
ของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและอยูในทิศทางใดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ย เนื่องจาก X
Z
−µ
=
σ
คาสังเกตที่มีคามากกวาคาเฉลี่ยจะมีคะแนนมาตรฐานเปนบวกสวนคาสังเกตที่มีคานอยกวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตจะมีคะแนนมาตรฐานเปนลบ คาสังเกตที่มีคาเทากับคาเฉลี่ยเลขคณิตพอดีจะมีคะแนนมาตรฐาน
เปนศูนย
สวนใหญแลวเราจะแปลงคาสังเกตหรือหาคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตแตละชุดที่มี
การแจกแจงแบบสมมาตรเพื่อใหมีมาตรวัดเดียวกันเนื่องจากคะแนนมาตรฐานเปนคะแนนที่ไมมีหนวย
จากนั้นจึงทําการเปรียบเทียบคาสังเกตโดยพิจารณาจากคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตนั้นๆ เชน
เปรียบเทียบสวนสูงของนักเรียนสองคนที่มีอายุตางกันโดยการแปลงสวนสูงของนักเรียนแตละคน
ใหเปนคะแนนมาตรฐานเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนใน
กลุมอายุนั้น ๆ คะแนนมาตรฐานของสวนสูงจะบอกใหทราบวานักเรียนแตละคนมีความสูงอยูใน
ตําแหนงใดในการแจกแจงของกลุมนักเรียนอายุเดียวกันนั้น
การแปลงหรือหาคะแนนมาตรฐานเปนการแปลงแบบเชิงเสน (linear transformation)
การแปลงแบบเชิงเสนนี้ไมทําใหการแจกแจงของคาสังเกตกอนและหลังการแปลงเปลี่ยนแปลงไป
และคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลหลังการแปลงก็หาไดโดยวิธีงายๆ อนึ่งคาที่ได
จากการแปลงแบบเชิงเสนของขอมูลที่มีการแจกแจงแบบปกติจะยังคงมีการแจกแจงแบบปกติ
นอกจากนี้คะแนนมาตรฐานของการแจกแจงแบบใดๆ ก็ตามที่คํานวณจากขอมูลประชากรทั้งหมด
(กลาวคือใชสูตร i
i
X
Z
−µ
=
σ
เมื่อ i คือ 1, 2, 3, ..., N) คะแนนมาตรฐานนั้นจะมีคาเฉลี่ยเลขคณิต
(µ) เปน 0 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ ) เปน 1 ทําใหไดวาคะแนนมาตรฐานจากขอมูลเดิมที่มีการ
แจกแจงแบบปกติมีคาเฉลี่ยเลขคณิตµ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ ที่มีคาใดๆ จะมีการแจกแจง
แบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต µ= 0 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ = 1
68
การแจกแจงของคะแนนมาตรฐานของขอมูลไมจําเปนตองมีการแจกแจงแบบปกติ ขึ้นอยูกับ
ลักษณะของขอมูลชุดนั้นๆ เวนเสียแตวาขอมูลเดิมมีการแจกแจงแบบปกติ
2. ตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสมของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีหลายแบบ
กลาวคือ
(1) แสดงเพียงครึ่งดานขวาการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป (z ≥ 0)
และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = 0 ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่
แสดงคือ .0000
(2) แสดงเพียงดานขวาของการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป และ
คาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = ∞− ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่
แสดงคือ .5000
69
(3) แสดงการแจกแจงทั้งหมด โดยแสดงคา z ที่เปนลบดวย เชน –3.40 เปนตนไป
และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = ∞− ถึง คา z ที่ตองการ
3. การแจกแจงของขอมูลมีหลายชนิดการแจกแจงของอายุการใชงานมักมีการแจกแจงแบบอื่นที่ไมใช
แบบปกติ เชน การแจกแจงแบบชี้กําลัง การแจกแจงแบบสม่ําเสมอ
การแจกแจงแบบปกติ (normal) การแจกแจงแบบสม่ําเสมอ (uniform)
การแจกแจงแบบชี้กําลัง (exponential)
70
กิจกรรมเสนอแนะ
กิจกรรมที่ 1 คะแนนมาตรฐาน
ใหนักเรียนเก็บขอมูลคะแนนสอบวิชาใดวิชาหนึ่งของทุกคนในหองแปลงคะแนนดิบ
เหลานั้นใหเปนคะแนนมาตรฐานโดยสูตร i
i
X
Z
−µ
=
σ
(หรือใหนักเรียนแตละคนหาคะแนน
มาตรฐานของคะแนนสอบที่ตนเองได โดยผูสอนคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ไวให) จากนั้นใหรวมกันตอบคําถามตอไปนี้
1. มีนักเรียนกี่คนที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนบวก คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทั้งหมด
และคะแนนมาตรฐานที่เปนบวกนี้หมายความวาอยางไร
2. มีนักเรียนกี่คนที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนลบ คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทั้งหมด
และคะแนนมาตรฐานที่เปนลบนี้หมายความวาอยางไร
3. ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานระหวาง –1 ถึง 1 มีกี่คน คิดเปนรอยละเทาใดของทั้งหมด
และผูที่ไดคะแนนในชวงนี้หมายความวาอยางไร
4. ตีความหมายคะแนนมาตรฐานของนักเรียนแตละคน
5. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) และหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ ) ของคะแนนมาตรฐาน
ของนักเรียนทั้งหอง (ใหใชสูตรที่คํานวณจากขอมูลระดับประชากร) สังเกตคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานวามีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เปนหนึ่งหรือไม
แนวคิดในการทํากิจกรรมนี้ หากนักเรียนในหองมีจํานวนมากพอและการแจกแจงของคะแนน
สอบคอนขางสมมาตรหรือใกลเคียงกับการแจกแจงแบบปกติ ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนบวกและ
ลบจะมีพอๆ กัน หรือรอยละ 50 ของนักเรียนทั้งหมด (ถามีการแจกแจงเปนแบบปกติจริง) ผูที่มี
คะแนนมาตรฐานอยูระหวาง –1 ถึง 1 ควรมีประมาณ รอยละ 68 อยางไรก็ตามไมวาการแจกแจง
ของคะแนนสอบจะเปนอยางไร คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนมาตรฐานจะตองเปนศูนยและสวนเบี่ยง
เบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานตองเปนหนึ่งเสมอ
หมายเหตุ คาสของ Zi ขางตน อาจเรียกไดหลายชื่อ เชน คะแนน z (z score) หรือคา z (z value)
หรือคะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือ คามาตรฐาน ซึ่งเปนชื่อกลาง ๆ ใชไดทั่วไป
ไมวาคาของ xi จะเปนคะแนนหรือไมเปนคะแนน เชนอาจเปนน้ําหนักตัว หรือ ราคา
สินคา ฯลฯ
กิจกรรมที่ 2 รูปกราฟของการแจกแจงแบบปกติ
หากนักเรียนสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได ใหคนและศึกษารูปการแจกแจงแบบปกติที่มี
คาเฉลี่ยเลขคณิตตางๆ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานตางๆ เปรียบเทียบกับการแจกแจงแบบปกติ
มาตรฐานที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปนหนึ่ง
เว็บไซตที่แนะนํา ซึ่งมีภาพเคลื่อนไหวแสดงรูปรางของการแจกแจงแบบปกติตางๆ รวมทั้ง
ความสัมพันธกับฟงกชันของการแจกแจงแบบปกติเมื่อกําหนดคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบน
71
มาตรฐานไดแก http://davidmlane.com/hyperstat/normal_distribution.html แลวคลิกที่ Flash Demo by
Juha Puranen ภายใตหัวขอ Other Sites หรือไปที่ http://noppa5.pc.helsinki.fi/koe/flash/flash.html โดย
ตรง ไปที่หัวขอ Distributions จากนั้นเลือก Normal distribution
กิจกรรมที่ 3 (เพิ่มเติมในกรณีที่มีเวลาพิเศษ)
ใหนักเรียนลองหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน กรณีที่มีตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสม
แบบตางๆ ตามที่เสนอไวในขอเสนอแนะ
การประเมินผล
เนื่องจากในการเรียนการสอนเรื่อง การแจกแจงแบบปกติ ใหความสําคัญกับการนําความรู
เรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติและนําความรูเกี่ยวกับ
พื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได ดังนั้นในการประเมินผลผูสอนอาจประเมินจากแบบฝกหัด ขอสอบที่
เนนการนําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล ความหมายของคามาตรฐานที่
คํานวณได ความสัมพันธระหวางคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติ
นอกจากนั้นอาจประเมินผลโดยพิจารณาจากกิจกรรมกลุมที่ใหคํานวณคะแนนมาตรฐาน
ความหมายของคาที่ได และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานกรณีที่มีตารางแจกแจงความนาจะเปน
สะสมแบบตางๆ หากมีเวลาในการสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับตารางเหลานี้
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. สมมุติวา คะแนนทดสอบ IQ สําหรับผูที่มีอายุระหวาง 20 ถึง 34 ป มีการแจกแจงที่
ประมาณไดวาเปนแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) 110 และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ ) 25
1.1 จะมีรอยละเทาใดของผูที่อยูในชวงอายุนี้ที่มีคะแนน IQ มากกวา 160
1.2 รอยละ 95 ของผูที่มีอายุในชวงนี้ ซึ่งเปนรอยละที่อยูชวงกลางของการแจกแจงมี
คะแนน IQ อยูระหวางคาใด
2. ถาเด็กหญิงคนหนึ่งสอบ SAT วิชาคณิตศาสตรได 680 คะแนน สมมุติวาคะแนนสอบ
SAT นี้มีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 500 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
100 คะแนน และถาเด็กชายคนหนึ่งทําคะแนนสอบ ACT วิชาคณิตศาสตรได 27 คะแนน สมมุติ
วาคะแนนสอบ ACT นี้มีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 18 คะแนน และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 6 คะแนน ถาการทดสอบทั้งสองแบบวัดความสามารถ เชิงคณิตศาสตรแบบเดียวกัน เด็ก
ชายหรือเด็กหญิงมีคะแนนสอบดีกวากัน
3. จงใชตารางแจกแจงปกติมาตรฐานเขียนรูปและแรเงาพื้นที่ใตโคงเพื่อตอบคําถามตอไปนี้
3.1 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z < 2.85
3.2 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z > 2.85
72
3.3 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z > –1.66
3.4 พื้นที่ใตโคงที่มีคา –1.66 < z < 2.85
4. สมมุติวาความกวางของศีรษะของผูขับขี่มอเตอรไซตรับจางมีการแจกแจงแบบปกติที่
มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 22.8 นิ้วและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.1 นิ้ว ในการทําหมวกกันน็อคตองทํา
คราวละมากๆ ใหทุกคนใสไดยกเวนผูที่มีความกวางของศีรษะเล็กเกินไป หรือใหญเกินไป กลุมละ 5%
ซึ่งจะตองสั่งเปนพิเศษ อยากทราบวาผูที่มีขนาดศีรษะเทาใดที่จะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ
5. เครื่องกดน้ําอัดลมเครื่องหนึ่งไดถูกตั้งไวใหจายน้ําอัดลมโดยเฉลี่ย 7.00 ออนซ ตอถวย
สมมุติวาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ําอัดลมที่จายคือ 0.10 ออนซ และปริมาณน้ําอัดลมที่จายมีการ
แจกแจงแบบปกติจงหา
5.1 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมระหวาง7.10ถึง7.25ออนซ
5.2 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมอยางนอย 7.25 ออนซ
5.3 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมระหวาง6.80ถึง7.25ออนซ
6. ถาฉลากขางกระปองของแฮมที่นําเขามาจากตางประเทศระบุวามีน้ําหนัก 9.00 ปอนด
แตในการตรวจสอบพบวาน้ําหนักที่ซึ่งไดมีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 9.20 ปอนด
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน0.25ปอนด จงหาวา
6.1 จะมีแฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักนอยกวาน้ําหนักที่ระบุไวบนฉลากในสัดสวนเทาใด
6.2 ถาบริษัทที่นําเขาตองการลดสัดสวนของแฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักนอยกวาที่
ระบุไวบนฉลากโดยมีทางเลือกสองทางไดแก
วิธีที่ 1 เพิ่มน้ําหนักโดยเฉลี่ยใหเปน 9.25 ปอนดโดยใหสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาคงเดิม
วิธีที่ 2 ลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 0.15 ปอนดโดยใหน้ําหนักเฉลี่ยมีคาคงเดิม
ทานจะแนะนําใหใชทางเลือกใด
7. ถายอดขายประจําปของนวนิยายเรื่องหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติแตไมทราบคาเฉลี่ย
เลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อยางไรก็ตามจากขอมูลที่เก็บมาทราบวารอยละ 40 ของทั้งหมดมี
ยอดขายเกิน 470,000 บาท และรอยละ 10 ของทั้งหมดมียอดขายเกิน 500,000 บาท แลวคาเฉลี่ยเลขคณิต
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของยอดขายควรมีคาเทาใด
8. ถาคะแนนสอบเชาวปญญาของผูที่มีอายุ 20 ถึง 34 ป และผูที่มีอายุ 60 ถึง 64 ป มีการแจก
แจงปกติโดยประมาณ โดยกลุมที่มีอายุ20ถึง34ป มีคาเฉลี่ยเลขคณิต110คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตร
ฐาน 25คะแนน และกลุมที่มีอายุ 60 ถึง 64 ป มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 90 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 25
คะแนน
นางสาวชวนชื่นมีอายุ 30 ป สอบไดคะแนน 135 คะแนน ในขณะที่นางชวนชมซึ่งเปนแม
มีอายุ 62 ป สอบได 120 คะแนน ใครสอบไดคะแนนดีกวากันเมื่อเปรียบเทียบกับผูสอบในกลุมอายุ
นั้นๆ (รอยละของผูที่ไดคะแนนต่ํากวาชวนชื่นและชวนชมในกลุมอายุนั้นๆ เปนเทาใด)
73
9. พื้นที่ใตโคงปกติมาตรฐานตั้งแตควอรไทลที่หนึ่งไปทางดานซายมือมีพื้นที่เทาใด ควอรไทลที่หนึ่ง
และควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีคาเทาใด
เฉลยแบบทดสอบประจําบท
1. 1.1 ประมาณ 2.28 %
1.2 ระหวาง 60 ถึง 160
2. เด็กหญิงมีคะแนนมาตรฐาน 1.8 สวนเด็กชายมีคะแนนมาตรฐาน 1.5 ดังนั้นเด็กหญิงสอบได
คะแนนดีกวาเด็กชาย
3. 3.1 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9978
3.2 พื้นที่ใตโคงคือ 0.0022
3.3 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9515
3.4 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9493
4. ผูที่มีขนาดศีรษะนอกชวง 22.8± 1.81 นิ้ว หรือผูที่มีศีรษะเล็กกวา 21 นิ้ว หรือใหญกวา 24.6 นิ้ว
โดยประมาณจะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ
5. 5.1 15.25% (จากคา z เทากับ 1 ถึง 2.5)
5.2 0.62%
5.3 97.10% (จากคา z เทากับ -2 ถึง 2.5)
6. 6.1 รอยละ 21.19
6.2 การเพิ่มน้ําหนักเฉลี่ย ทําใหไดคา z เทากับ –1.00 และใหคาสัดสวนคือ 0.1587
การลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทําใหไดคา z เทากับ –1.33 และใหคาสัดสวนคือ 0.0918
ดังนั้นการลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานลงจะเปนทางเลือกที่ดีกวาเพราะทําใหมีสัดสวนของ
แฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักต่ํากวามาตรฐานนอยกวา
7. จาก 470,000
0.25
−µ
=
σ
และ 500,000
1.28
−µ
=
σ
ทําใหไดคาเฉลี่ยเทากับ 462,719 บาท
และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 29,126 บาทโดยประมาณ
8. คะแนนมาตรฐานของชวนชื่นคือ 1 ขณะที่คะแนนมาตรฐานของชวนชมคือ 1.2 ดังนั้นแมของ
ชวนชื่นมีคะแนนสัมพัทธที่สูงกวา(แตชวนชื่นมีคะแนนดิบสูงกวา) หรือพิจารณาจากเปอรเช็นไทล
ของชวนชื่นคือ 84 ขณะที่เปอรเซ็นไทลของชวนชมคือ 88.5 โดยประมาณ
9. พื้นที่นับตั้งแตควอรไทลที่หนึ่งไปทางซายมือของการแจกแจงแบบใดๆตองเปน0.2500 ควอรไทล
ที่หนึ่งและควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานคือ –0.675 และ 0.675 โดย
ประมาณ
74
เฉลยแบบฝกหัด 2.1
1. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 = 15
7075−
= 3
1
คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.4 = 20
8080−
= 0
คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 สูงกวาคามาตรฐานของ
คะแนนในชั้น ม.4 แสดงวาวิชัยเรียนคณิตศาสตรในชั้น ม.3 ไดดีกวา
2. ถาให µ คือคาเฉลี่ยเลขคณิตจะไดวา 1 = 1.1
12 µ−
µ = 12 – 1.1
µ = 10.9
ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใชในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเปน 10.9 วินาที
3. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย = 15
8580−
= 3
1−
คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ = 20
7560−
= 4
3−
คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร = 5
6570−
= 1
ดังนั้น จิตราเรียนวิชาวิทยาศาสตรไดดีที่สุด
4. คามาตรฐานของอายุคนงาน 2 = 2
25x−
x = 4 + 25
x = 29
ดังนั้น คนงานที่มีอายุตั้งแต 29 ปขึ้นไป จึงจะมีโอกาสไดรับเลือกเขาเปนคนงานของโรงงานนี้
5. คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนาย ก = 5
7070−
= 0
คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนาย ก = 10
7075−
= 2
1
คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนาย ก = 15
8075−
= 3
1−
75
ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยของวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนาย ก = 3
3
1
2
10 −+
= 18
1
คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนางสาว ข = 5
7075−
= 1
คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนางสาว ข = 10
7050−
= –2
คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนางสาว ข = 15
8095−
= 1
ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยอขงวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนางสาว ข = 3
121 +−
= 0
แตเกณฑของหนวยงานผูสอบคัดเลือกไดจะตองไดคามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา
ไมต่ํากวา 0
ดังนั้น นาย ก และนางสาว ข จะสอบคัดเลือกไดทั้งสองคน
6. ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตคือ µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ σ จะไดวา 3 = 650 − µ
σ
3µ + σ = 650 (1)
และ 1.9 = 540 − µ
σ
1.9µ + σ = 540 (2)
จาก (1) และ (2) จะได 1.1σ = 110
σ = 100
และ µ = 650 – 300
µ = 350
ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบคือ 350 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ของคะแนนสอบคือ 100 คะแนน
7. (1) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐอลาสกา = 54
28990−
= –3.69
ดังนั้น โรคหัวใจในรัฐอลาสกาจะมีความรุนแรงนอยกวารัฐอื่น ๆ
76
(2) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐคาลิฟอรเนีย = 54
289240−
= –0.91
คามาตรฐานของผูปวยโรคมะเร็งในรัฐคาลิฟอรเนีย = 31
200166−
= –1.10
ดังนั้น ในรัฐคาลิฟอรเนียโรคหัวใจมีความรุนแรงมากกวาโรคมะเร็ง เมื่อเทียบกับที่พบ
ในรัฐอื่น ๆในระดับประเทศ
8. เนื่องจาก zi = ix −µ
σ
(1) 2 = 5
20x−
x = 10 + 20
x = 30
(2) –1 = 3
25x−
x = –3 + 25
x = 22
(3) –1.5 = 10
100x−
x = –15 + 100
x = 85
(4) 2.5 = ( )x 10
0.2
− −
0.5 = x + 10
x = 0.5 – 10
x = –9.5
77
เฉลยแบบฝกหัด 2.2
1. (1) ให x เปนคาของขอมูล โดยกําหนดให µ = 400 และ σ = 100
จาก z = x −µ
σ
จะได z = 100
400538−
= 1.38
จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.38 เทากับ 0.4162
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเมื่อ z > 1.38 เทากับ 0.5 – 0.4162 = 0.0838
นั่นคือ มีขอมูล 8.38% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 538
(2) จะได z = 100
400179−
= –2.21
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –2.21 ถึง z = 0 เทากับ 0.4864
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > –2.21 เทากับ 0.5 + 0.4865 = 0.9864
นั่นคือ มีขอมูล 98.64% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 179
0 1.38 Z
Z
0-2.21
78
(3) จะได z = 100
400356−
= –0.44
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.44 ถึง z = 0 เทากับ 0.1700
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.44 เทากับ 0.5 – 0.1700 = 0.3300
นั่นคือ มีขอมูล 33% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 356
(4) จะได z = 100
400621−
= 2.21
จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.21 เทากับ 0.4864
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปก เมื่อ z < 2.21 เทากับ 0.5 + 0.4864 = 0.9864
นั่นคือ มีขอมูล 98.65% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 621
0-0.44
Z
Z
0 2.21
79
(5) จะได z1 = 100
400318−
= –0.82
z2 = 100
400671−
= 2.71
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.71 เทากับ 0.4966
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.82 ถึง z = 0 เทากับ 0.2939
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –0.82 < z < 2.71 เทากับ 0.4966 + 0.2939 = 0.7905
นั่นคือ มีขอมูล 79.05% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 318 และ 671
(6) จะได z1 = 100
400484−
= 0.84
z2 = 100
400565−
= 1.65
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.84 เทากับ 0.2995
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.65 เทากับ 0.4505
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ 0.84 < z < 1.65 เทากับ 0.4505 – 0.2995 = 0.1510
นั่นคือ มีขอมูล 15.09% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 484 และ 565
Z
0-0.82 2.71
Z
0 1.650.84
80
(7) จะได z1 = 100
400249−
= –1.51
z2 = 100
400297−
= –1.03
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.51 ถึง z = 0 เทากับ 0.4345
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.03 ถึง z = 0 เทากับ 0.3485
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.51 < z < –1.03 เทากับ 0.4345 – 0.3485 = 0.0860
นั่นคือ มีขอมูล 8.6% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 249 และ 297
2. (1) ให x เปนน้ําหนักของกาแฟ (กรัม) โดยกําหนด µ = 115.5 และ σ = 0.3
จาก z = x −µ
σ
จะได z1 = 3.0
5.115115−
≈ –1.667
z2 = 3.0
5.1155.115 −
= 0
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.66 เทากับ 0.4515
และ z = 0 ถึง z = 1.67 เทากับ 0.4525
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ
0.4515 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
007.0001.0
= 0.4522
Z
0-1.51 -1.03
Z
0-1.667
81
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.667 < z < 0 เทากับ 0.4522
นั่นคือ มีขวดกาแฟ 45.22% ของขวดกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนัก
ระหวาง 115 กรัม และ 115.5 กรัม
(2) จะได z1 = 3.0
5.1159.114 −
= –2
z2 = 3.0
5.1155.115 −
= 0
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2 < z < 0 เทากับ 0.4772
นั่นคือ มีขวดกาแฟ 47.72% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง
114.9 กรัม และ 115.5 กรัม
(3) จะได z1 = 3.0
5.1152.115 −
= –1
z2 = 3.0
5.1159.115 −
≈ 1.333
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.33 เทากับ 0.4082
และ z = 0 ถึง z = 1.34 เทากับ 0.4099
จะได พื้นที่เสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.333 เทากับ
0.4082 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
003.00017.0
= 0.4087
Z
0-2
Z
0-1 1.333
82
และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1 ถึง z = 0 เทากับ 0.3413
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1 < z < 1.333 เทากับ 0.4087 + 0.3413 = 0.75
นั่นคือ มีขวดกาแฟ 75% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง
115.2 กรัม และ 115.9 กรัม
(4) จะได z1 = 3.0
5.1157.114 −
≈ –2.667
z2 = 3.0
5.115115−
≈ –1.667
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.66 เทากับ 0.4961
และ z = 0 ถึง z = 2.67 เทากับ 0.4962
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.667 เทากับ 0.4961+0.00007=0.49617
และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2.667 < z < –1.667 เทากับ 0.49617–0.4522 = 0.0440
นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.4% ของกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง
114.7 กรัม และ 115 กรัม
(5) จะได z = 3.0
5.1155.115 −
= 0
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > 0 เทากับ 0.5
นั่นคือ มีขวดกาแฟ 50% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา
115.5 กรัม
Z
0-2.667 -1.667
Z
0
83
(6) จะได z = 3.0
5.115115−
≈ –1.667
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1.667 เทากับ 0.5 – 0.4522 = 0.0478
นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.78% ขวดกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา
115 กรัม
3. (1) ให x เปนคะแนนสอบของนายไผท โดยกําหนด µ = 64 และ σ = 8
จาก z = x − µ
σ
จะได z = 8
6462−
= –0.25
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.25 ถึง z = 0 เทากับ 0.0987
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.25 เทากับ 0.5 – 0.0987 = 0.4013
นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนไผท คือ 40.13 ในกลุมนักเรียนชาย
Z
0-1.667
Z
0-0.25
84
(2) ให x เปนคะแนนสอบของอาภัสรา โดยกําหนด µ = 60 และ σ = 10
จาก z = 10
6073−
= 1.3
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.3 เทากับ 0.4032
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.3 เทากับ 0.5 + 0.4032 = 0.9032
นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 90.32 ในกลุมนักเรียนหญิง
คะแนนของอาภัสราในกลุมนักเรียนชาย โดยกําหนด
จะได z = 8
6473−
= 1.125
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.12 เทากับ 0.3686
และ z = 0 ถึง z = 1.13 เทากับ 0.3708
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงระหวาง z = 0 ถึง z = 1.125 เทากับ 0.3686 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
005.00022.0
= 0.3697
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.125 เทากับ 0.5 + 0.3697 = 0.8697
นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 86.97 ในกลุมนักเรียนชาย
Z
0 1.3
Z
0 1.125
85
4. (1) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P25 เทากับ 0.25
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2518 คา z เทากับ 0.68
พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2486 คา z เทากับ 0.67
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.25 คา z เทากับ 0.67 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
0032.0
0014.001.0
≈ 0.6744
จาก z = x − µ
σ
–0.6744 = 12
72x−
x = 72 – 8.0928
x = 63.91
นั่นคือ คะแนน ที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25 คือ 63.91
(2) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90
จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P90 เทากับ 0.90 – 0.5 = 0.4
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4015 คา z เทากับ 1.29
พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3997 คา z เทากับ 1.28
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4 คา z เทากับ 1.28 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
0018.0
0003.001.0
≈ 1.2817
Z
0P25
0.25
Z
0 P90
86
จาก 1.2817 = 12
72x−
x = 72 + 15.3804
x = 87.38
นั่นคือ คะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90 คือ 87.38
5. ให x เปนความหนาของแผนพลาสติก
จาก z = x −µ
σ
จะได z1 = 0025.0
0625.00595.0 −
= –1.2
z2 = 0025.0
0625.00659.0 −
= 1.36
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.36 เทากับ 0.4131
และจะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.2 เทากับ 0.3849
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.2 < z < 1.36 เทากับ 0.4131 + 0.3849 = 0.7980
นั่นคือ มีแผนพลาสติก 79.8% ของพลาสติกทั้งหมดที่ผลิตไดมีความหนาอยูระหวาง 0.595
เซนติเมตร และ 0.0659 เซนติเมตร
6. เพราะวา 50.04% ของนาฬิกาทั้งหมดที่ผลิตไดมีความคลาดเคลื่อนระหวาง x กับ 0.136
วินาที
จาก z = x −µ
σ
z = 4.0
00.0136.0 −
= 0.34
Z
0-1.2 1.36
87
จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.34 เทากับ 0.1331
จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก z = 0 ถึง x เทากับ 0.5004 – 0.1331 = 0.3673
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3686 คา z เทากับ 1.12
พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3665 คา z เทากับ 1.11
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3673 คา z เทากับ 1.11 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
0021.0
0008.001.0
≈ 1.1138
จะได –1.1138 = 4.0
00.0x−
x = –0.446
นั่นคือ x เทากับ –0.446 วินาที
7.
จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก x = 11.88 ถึง µ = 12.00 เทากับ 0.5–0.1151 = 0.3849
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3849 คา z เทากับ 1.20
จาก z = x −µ
σ
–1.20 = 11.88 12.00−
σ
σ = 2.1
12.0
−
−
= 0.1
ดังนั้น ความแปรปรวนของน้ําหนักสุทธิของกระปองบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทนี้เทากับ 0.01
Z
0 0.136X
50.04%
Z
µ = 12.00X = 11.88
88
8. (1) กําหนด σ = 3, x = 6 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.09
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4099 คา z เทากับ 1.34
พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4115 คา z เทากับ 1.35
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.09 คา z เทากับ 1.34 + 0.01 0.0001
0.0016
×⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1.3406
จะได –1.3406 = 6
3
−µ
µ = 6 + 4.0218
µ = 10.0218
ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตประมาณ 10.0218 เปนคา a ที่ตองการ
(2) กําหนด µ = 10, x = 12 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.60
จากรูป พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง µ ถึง x = 12 เทากับ 0.6 – 0.5 = 0.1
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1026 คา z เทากับ 0.26
พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.0987 คา z เทากับ 0.25
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1 คา z เทากับ 0.25 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
0039.0
0013.001.0
≈ 0.2533
จะได 0.2533 = 12 10−
σ
σ = 2
0.2533
σ ≈ 7.90
ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 7.90 เปนคา b ที่ตองการ
Z
0X = 6
X = 12µ
0.09
0.41
89
(3) กําหนด µ = 10, σ = 2 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.18
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1808 คา z เทากับ 0.47
พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1772 คา z เทากับ 0.46
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.18 คา z เทากับ 0.46 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
0036.0
0028.001.0
= 0.4678
จะได –0.4678 = 2
10x−
x = 10 – 0.9356
x = 9.0644
ดังนั้น คะแนนที่สนใจศึกษาประมาณ 9.06 เปนคา c ที่ตองการ
(4) กําหนด µ = 3, σ = 1 และ x = 2
จะได z = 1
32−
= –1
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1 เทากับ 0.5 – 0.3413 = 0.1587
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนนที่ต่ํากวา 2 เทากับ 0.1587 เปนคา d ที่ตองการ
X µ
z = –1 µ
90
9. (1) ให x เปนคะแนนสอบ SAT โดยกําหนด µ = 505 และ σ = 111
จาก z = x −µ
σ
จะได z1 = 111
505400−
= –0.946
z2 = 111
505600−
= 0.856
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.94 เทากับ 0.3264
พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.95 เทากับ 0.3289
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.946 เทากับ
0.3264 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
006.00025.0
= 0.3279
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.85 เทากับ 0.3023
พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.86 เทากับ 0.3051
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.856 เทากับ
0.3023 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
006.00028.0
= 0.30398
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่อยูระหวาง 400 และ 600 เทากับ
0.3279 + 0.30398 = 0.63188
(2) จะได z = 111
505700−
≈ 1.757
Z
-0.946 0 0.856
Z
1.7570
91
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.75 เทากับ 0.4599
พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.76 เทากับ 0.4608
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.757 เทากับ
0.4599 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
007.00009.0
= 0.46053
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่มากกวา 700 เทากับ
0.5 – 0.46053 = 0.03947
(3) จะได z = 111
505450−
≈ –0.495
จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.49 เทากับ 0.1879
พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.50 เทากับ 0.1915
จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.495 เทากับ
0.1879 + ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ ×
01.0
005.00036.0
= 0.1897
ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่นอยกวา 450 เทากับ
0.5 – 0.1897 = 0.3103
Z
-0.495 0

More Related Content

What's hot

ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
othanatoso
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
Nitinop Tongwassanasong
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
kroojaja
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
khuwawa2513
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
Yoon Yoon
 

What's hot (20)

Week 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_frameworkWeek 8 conceptual_framework
Week 8 conceptual_framework
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2ตัวชี้วัดม.2
ตัวชี้วัดม.2
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
การเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัยการเขียนผลการวิจัย
การเขียนผลการวิจัย
 
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัยการเขียนระเบียบวิธีวิจัย
การเขียนระเบียบวิธีวิจัย
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

Basic m2-1-link
Basic m2-1-linkBasic m2-1-link
Basic m2-1-link
 
Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 

Similar to Add m6-1-chapter2

การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
pattya0207
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
kaew393
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
othanatoso
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
krutew Sudarat
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา
Nichaphon Tasombat
 
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
othanatoso
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
wongsrida
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
krusongkran
 

Similar to Add m6-1-chapter2 (20)

การแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติการแจกแจงปกติ
การแจกแจงปกติ
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
57 กำหนดการเชิงเส้น ตอนที่2_การหาค่าสุดขีด
 
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 ใบความรู้ การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
31201final531
31201final53131201final531
31201final531
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา2 โครงสร้างรายวิชา
2 โครงสร้างรายวิชา
 
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์2.91  แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
2.91 แบบฝึกหัด การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
Epi info unit09
Epi info unit09Epi info unit09
Epi info unit09
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
คณิต M6
คณิต M6คณิต M6
คณิต M6
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 

Add m6-1-chapter2

  • 1. บทที่ 2 การแจกแจงปกติ (20 ชั่วโมง) ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. นําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล 2. หาพื้นที่ใตเสนโคงปกติและนําความรูเกี่ยวกับพื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได ขอเสนอแนะ 1. ความสําคัญของคะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐานจะบอกใหทราบวาคาสังเกตนั้นๆ อยูหางจากคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนกี่เทา ของสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและอยูในทิศทางใดเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ย เนื่องจาก X Z −µ = σ คาสังเกตที่มีคามากกวาคาเฉลี่ยจะมีคะแนนมาตรฐานเปนบวกสวนคาสังเกตที่มีคานอยกวา คาเฉลี่ยเลขคณิตจะมีคะแนนมาตรฐานเปนลบ คาสังเกตที่มีคาเทากับคาเฉลี่ยเลขคณิตพอดีจะมีคะแนนมาตรฐาน เปนศูนย สวนใหญแลวเราจะแปลงคาสังเกตหรือหาคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตแตละชุดที่มี การแจกแจงแบบสมมาตรเพื่อใหมีมาตรวัดเดียวกันเนื่องจากคะแนนมาตรฐานเปนคะแนนที่ไมมีหนวย จากนั้นจึงทําการเปรียบเทียบคาสังเกตโดยพิจารณาจากคะแนนมาตรฐานของคาสังเกตนั้นๆ เชน เปรียบเทียบสวนสูงของนักเรียนสองคนที่มีอายุตางกันโดยการแปลงสวนสูงของนักเรียนแตละคน ใหเปนคะแนนมาตรฐานเมื่อเทียบกับคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของนักเรียนใน กลุมอายุนั้น ๆ คะแนนมาตรฐานของสวนสูงจะบอกใหทราบวานักเรียนแตละคนมีความสูงอยูใน ตําแหนงใดในการแจกแจงของกลุมนักเรียนอายุเดียวกันนั้น การแปลงหรือหาคะแนนมาตรฐานเปนการแปลงแบบเชิงเสน (linear transformation) การแปลงแบบเชิงเสนนี้ไมทําใหการแจกแจงของคาสังเกตกอนและหลังการแปลงเปลี่ยนแปลงไป และคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูลหลังการแปลงก็หาไดโดยวิธีงายๆ อนึ่งคาที่ได จากการแปลงแบบเชิงเสนของขอมูลที่มีการแจกแจงแบบปกติจะยังคงมีการแจกแจงแบบปกติ นอกจากนี้คะแนนมาตรฐานของการแจกแจงแบบใดๆ ก็ตามที่คํานวณจากขอมูลประชากรทั้งหมด (กลาวคือใชสูตร i i X Z −µ = σ เมื่อ i คือ 1, 2, 3, ..., N) คะแนนมาตรฐานนั้นจะมีคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) เปน 0 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ ) เปน 1 ทําใหไดวาคะแนนมาตรฐานจากขอมูลเดิมที่มีการ แจกแจงแบบปกติมีคาเฉลี่ยเลขคณิตµ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ ที่มีคาใดๆ จะมีการแจกแจง แบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต µ= 0 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน σ = 1
  • 2. 68 การแจกแจงของคะแนนมาตรฐานของขอมูลไมจําเปนตองมีการแจกแจงแบบปกติ ขึ้นอยูกับ ลักษณะของขอมูลชุดนั้นๆ เวนเสียแตวาขอมูลเดิมมีการแจกแจงแบบปกติ 2. ตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสมของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีหลายแบบ กลาวคือ (1) แสดงเพียงครึ่งดานขวาการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป (z ≥ 0) และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = 0 ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่ แสดงคือ .0000 (2) แสดงเพียงดานขวาของการแจกแจง โดยแสดงคา z ที่เปนศูนยเปนตนไป และ คาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = ∞− ถึง คา z ที่ตองการ ใหสังเกตเมื่อ z = 0.00 คาที่ แสดงคือ .5000
  • 3. 69 (3) แสดงการแจกแจงทั้งหมด โดยแสดงคา z ที่เปนลบดวย เชน –3.40 เปนตนไป และคาที่แสดงคือพื้นที่ใตเสนโคงที่เริ่มจาก z = ∞− ถึง คา z ที่ตองการ 3. การแจกแจงของขอมูลมีหลายชนิดการแจกแจงของอายุการใชงานมักมีการแจกแจงแบบอื่นที่ไมใช แบบปกติ เชน การแจกแจงแบบชี้กําลัง การแจกแจงแบบสม่ําเสมอ การแจกแจงแบบปกติ (normal) การแจกแจงแบบสม่ําเสมอ (uniform) การแจกแจงแบบชี้กําลัง (exponential)
  • 4. 70 กิจกรรมเสนอแนะ กิจกรรมที่ 1 คะแนนมาตรฐาน ใหนักเรียนเก็บขอมูลคะแนนสอบวิชาใดวิชาหนึ่งของทุกคนในหองแปลงคะแนนดิบ เหลานั้นใหเปนคะแนนมาตรฐานโดยสูตร i i X Z −µ = σ (หรือใหนักเรียนแตละคนหาคะแนน มาตรฐานของคะแนนสอบที่ตนเองได โดยผูสอนคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไวให) จากนั้นใหรวมกันตอบคําถามตอไปนี้ 1. มีนักเรียนกี่คนที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนบวก คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทั้งหมด และคะแนนมาตรฐานที่เปนบวกนี้หมายความวาอยางไร 2. มีนักเรียนกี่คนที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนลบ คิดเปนรอยละเทาใดของนักเรียนทั้งหมด และคะแนนมาตรฐานที่เปนลบนี้หมายความวาอยางไร 3. ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานระหวาง –1 ถึง 1 มีกี่คน คิดเปนรอยละเทาใดของทั้งหมด และผูที่ไดคะแนนในชวงนี้หมายความวาอยางไร 4. ตีความหมายคะแนนมาตรฐานของนักเรียนแตละคน 5. หาคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) และหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ ) ของคะแนนมาตรฐาน ของนักเรียนทั้งหอง (ใหใชสูตรที่คํานวณจากขอมูลระดับประชากร) สังเกตคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวน เบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานวามีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปนหนึ่งหรือไม แนวคิดในการทํากิจกรรมนี้ หากนักเรียนในหองมีจํานวนมากพอและการแจกแจงของคะแนน สอบคอนขางสมมาตรหรือใกลเคียงกับการแจกแจงแบบปกติ ผูที่ไดคะแนนมาตรฐานเปนบวกและ ลบจะมีพอๆ กัน หรือรอยละ 50 ของนักเรียนทั้งหมด (ถามีการแจกแจงเปนแบบปกติจริง) ผูที่มี คะแนนมาตรฐานอยูระหวาง –1 ถึง 1 ควรมีประมาณ รอยละ 68 อยางไรก็ตามไมวาการแจกแจง ของคะแนนสอบจะเปนอยางไร คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนมาตรฐานจะตองเปนศูนยและสวนเบี่ยง เบนมาตรฐานของคะแนนมาตรฐานตองเปนหนึ่งเสมอ หมายเหตุ คาสของ Zi ขางตน อาจเรียกไดหลายชื่อ เชน คะแนน z (z score) หรือคา z (z value) หรือคะแนนมาตรฐาน (standard score) หรือ คามาตรฐาน ซึ่งเปนชื่อกลาง ๆ ใชไดทั่วไป ไมวาคาของ xi จะเปนคะแนนหรือไมเปนคะแนน เชนอาจเปนน้ําหนักตัว หรือ ราคา สินคา ฯลฯ กิจกรรมที่ 2 รูปกราฟของการแจกแจงแบบปกติ หากนักเรียนสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ตได ใหคนและศึกษารูปการแจกแจงแบบปกติที่มี คาเฉลี่ยเลขคณิตตางๆ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานตางๆ เปรียบเทียบกับการแจกแจงแบบปกติ มาตรฐานที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเปนศูนยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปนหนึ่ง เว็บไซตที่แนะนํา ซึ่งมีภาพเคลื่อนไหวแสดงรูปรางของการแจกแจงแบบปกติตางๆ รวมทั้ง ความสัมพันธกับฟงกชันของการแจกแจงแบบปกติเมื่อกําหนดคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบน
  • 5. 71 มาตรฐานไดแก http://davidmlane.com/hyperstat/normal_distribution.html แลวคลิกที่ Flash Demo by Juha Puranen ภายใตหัวขอ Other Sites หรือไปที่ http://noppa5.pc.helsinki.fi/koe/flash/flash.html โดย ตรง ไปที่หัวขอ Distributions จากนั้นเลือก Normal distribution กิจกรรมที่ 3 (เพิ่มเติมในกรณีที่มีเวลาพิเศษ) ใหนักเรียนลองหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐาน กรณีที่มีตารางแจกแจงความนาจะเปนสะสม แบบตางๆ ตามที่เสนอไวในขอเสนอแนะ การประเมินผล เนื่องจากในการเรียนการสอนเรื่อง การแจกแจงแบบปกติ ใหความสําคัญกับการนําความรู เรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติและนําความรูเกี่ยวกับ พื้นที่ใตเสนโคงปกติไปใชได ดังนั้นในการประเมินผลผูสอนอาจประเมินจากแบบฝกหัด ขอสอบที่ เนนการนําความรูเรื่องคามาตรฐานไปใชในการเปรียบเทียบขอมูล ความหมายของคามาตรฐานที่ คํานวณได ความสัมพันธระหวางคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติ นอกจากนั้นอาจประเมินผลโดยพิจารณาจากกิจกรรมกลุมที่ใหคํานวณคะแนนมาตรฐาน ความหมายของคาที่ได และการหาพื้นที่ใตเสนโคงปกติมาตรฐานกรณีที่มีตารางแจกแจงความนาจะเปน สะสมแบบตางๆ หากมีเวลาในการสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับตารางเหลานี้ ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. สมมุติวา คะแนนทดสอบ IQ สําหรับผูที่มีอายุระหวาง 20 ถึง 34 ป มีการแจกแจงที่ ประมาณไดวาเปนแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต (µ) 110 และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ ) 25 1.1 จะมีรอยละเทาใดของผูที่อยูในชวงอายุนี้ที่มีคะแนน IQ มากกวา 160 1.2 รอยละ 95 ของผูที่มีอายุในชวงนี้ ซึ่งเปนรอยละที่อยูชวงกลางของการแจกแจงมี คะแนน IQ อยูระหวางคาใด 2. ถาเด็กหญิงคนหนึ่งสอบ SAT วิชาคณิตศาสตรได 680 คะแนน สมมุติวาคะแนนสอบ SAT นี้มีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 500 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 100 คะแนน และถาเด็กชายคนหนึ่งทําคะแนนสอบ ACT วิชาคณิตศาสตรได 27 คะแนน สมมุติ วาคะแนนสอบ ACT นี้มีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 18 คะแนน และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 6 คะแนน ถาการทดสอบทั้งสองแบบวัดความสามารถ เชิงคณิตศาสตรแบบเดียวกัน เด็ก ชายหรือเด็กหญิงมีคะแนนสอบดีกวากัน 3. จงใชตารางแจกแจงปกติมาตรฐานเขียนรูปและแรเงาพื้นที่ใตโคงเพื่อตอบคําถามตอไปนี้ 3.1 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z < 2.85 3.2 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z > 2.85
  • 6. 72 3.3 พื้นที่ใตโคงที่มีคา z > –1.66 3.4 พื้นที่ใตโคงที่มีคา –1.66 < z < 2.85 4. สมมุติวาความกวางของศีรษะของผูขับขี่มอเตอรไซตรับจางมีการแจกแจงแบบปกติที่ มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 22.8 นิ้วและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.1 นิ้ว ในการทําหมวกกันน็อคตองทํา คราวละมากๆ ใหทุกคนใสไดยกเวนผูที่มีความกวางของศีรษะเล็กเกินไป หรือใหญเกินไป กลุมละ 5% ซึ่งจะตองสั่งเปนพิเศษ อยากทราบวาผูที่มีขนาดศีรษะเทาใดที่จะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ 5. เครื่องกดน้ําอัดลมเครื่องหนึ่งไดถูกตั้งไวใหจายน้ําอัดลมโดยเฉลี่ย 7.00 ออนซ ตอถวย สมมุติวาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้ําอัดลมที่จายคือ 0.10 ออนซ และปริมาณน้ําอัดลมที่จายมีการ แจกแจงแบบปกติจงหา 5.1 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมระหวาง7.10ถึง7.25ออนซ 5.2 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมอยางนอย 7.25 ออนซ 5.3 เปอรเซ็นตที่เครื่องกดน้ําอัดลมนี้จะจายน้ําอัดลมระหวาง6.80ถึง7.25ออนซ 6. ถาฉลากขางกระปองของแฮมที่นําเขามาจากตางประเทศระบุวามีน้ําหนัก 9.00 ปอนด แตในการตรวจสอบพบวาน้ําหนักที่ซึ่งไดมีการแจกแจงแบบปกติที่มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 9.20 ปอนด และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน0.25ปอนด จงหาวา 6.1 จะมีแฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักนอยกวาน้ําหนักที่ระบุไวบนฉลากในสัดสวนเทาใด 6.2 ถาบริษัทที่นําเขาตองการลดสัดสวนของแฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักนอยกวาที่ ระบุไวบนฉลากโดยมีทางเลือกสองทางไดแก วิธีที่ 1 เพิ่มน้ําหนักโดยเฉลี่ยใหเปน 9.25 ปอนดโดยใหสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาคงเดิม วิธีที่ 2 ลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเปน 0.15 ปอนดโดยใหน้ําหนักเฉลี่ยมีคาคงเดิม ทานจะแนะนําใหใชทางเลือกใด 7. ถายอดขายประจําปของนวนิยายเรื่องหนึ่งมีการแจกแจงแบบปกติแตไมทราบคาเฉลี่ย เลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน อยางไรก็ตามจากขอมูลที่เก็บมาทราบวารอยละ 40 ของทั้งหมดมี ยอดขายเกิน 470,000 บาท และรอยละ 10 ของทั้งหมดมียอดขายเกิน 500,000 บาท แลวคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของยอดขายควรมีคาเทาใด 8. ถาคะแนนสอบเชาวปญญาของผูที่มีอายุ 20 ถึง 34 ป และผูที่มีอายุ 60 ถึง 64 ป มีการแจก แจงปกติโดยประมาณ โดยกลุมที่มีอายุ20ถึง34ป มีคาเฉลี่ยเลขคณิต110คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตร ฐาน 25คะแนน และกลุมที่มีอายุ 60 ถึง 64 ป มีคาเฉลี่ยเลขคณิต 90 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 25 คะแนน นางสาวชวนชื่นมีอายุ 30 ป สอบไดคะแนน 135 คะแนน ในขณะที่นางชวนชมซึ่งเปนแม มีอายุ 62 ป สอบได 120 คะแนน ใครสอบไดคะแนนดีกวากันเมื่อเปรียบเทียบกับผูสอบในกลุมอายุ นั้นๆ (รอยละของผูที่ไดคะแนนต่ํากวาชวนชื่นและชวนชมในกลุมอายุนั้นๆ เปนเทาใด)
  • 7. 73 9. พื้นที่ใตโคงปกติมาตรฐานตั้งแตควอรไทลที่หนึ่งไปทางดานซายมือมีพื้นที่เทาใด ควอรไทลที่หนึ่ง และควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานมีคาเทาใด เฉลยแบบทดสอบประจําบท 1. 1.1 ประมาณ 2.28 % 1.2 ระหวาง 60 ถึง 160 2. เด็กหญิงมีคะแนนมาตรฐาน 1.8 สวนเด็กชายมีคะแนนมาตรฐาน 1.5 ดังนั้นเด็กหญิงสอบได คะแนนดีกวาเด็กชาย 3. 3.1 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9978 3.2 พื้นที่ใตโคงคือ 0.0022 3.3 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9515 3.4 พื้นที่ใตโคงคือ 0.9493 4. ผูที่มีขนาดศีรษะนอกชวง 22.8± 1.81 นิ้ว หรือผูที่มีศีรษะเล็กกวา 21 นิ้ว หรือใหญกวา 24.6 นิ้ว โดยประมาณจะตองสั่งหมวกกันน็อคเปนพิเศษ 5. 5.1 15.25% (จากคา z เทากับ 1 ถึง 2.5) 5.2 0.62% 5.3 97.10% (จากคา z เทากับ -2 ถึง 2.5) 6. 6.1 รอยละ 21.19 6.2 การเพิ่มน้ําหนักเฉลี่ย ทําใหไดคา z เทากับ –1.00 และใหคาสัดสวนคือ 0.1587 การลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานทําใหไดคา z เทากับ –1.33 และใหคาสัดสวนคือ 0.0918 ดังนั้นการลดสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานลงจะเปนทางเลือกที่ดีกวาเพราะทําใหมีสัดสวนของ แฮมบรรจุกระปองที่มีน้ําหนักต่ํากวามาตรฐานนอยกวา 7. จาก 470,000 0.25 −µ = σ และ 500,000 1.28 −µ = σ ทําใหไดคาเฉลี่ยเทากับ 462,719 บาท และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 29,126 บาทโดยประมาณ 8. คะแนนมาตรฐานของชวนชื่นคือ 1 ขณะที่คะแนนมาตรฐานของชวนชมคือ 1.2 ดังนั้นแมของ ชวนชื่นมีคะแนนสัมพัทธที่สูงกวา(แตชวนชื่นมีคะแนนดิบสูงกวา) หรือพิจารณาจากเปอรเช็นไทล ของชวนชื่นคือ 84 ขณะที่เปอรเซ็นไทลของชวนชมคือ 88.5 โดยประมาณ 9. พื้นที่นับตั้งแตควอรไทลที่หนึ่งไปทางซายมือของการแจกแจงแบบใดๆตองเปน0.2500 ควอรไทล ที่หนึ่งและควอรไทลที่สามของการแจกแจงแบบปกติมาตรฐานคือ –0.675 และ 0.675 โดย ประมาณ
  • 8. 74 เฉลยแบบฝกหัด 2.1 1. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 = 15 7075− = 3 1 คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.4 = 20 8080− = 0 คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของวิชัยในชั้น ม.3 สูงกวาคามาตรฐานของ คะแนนในชั้น ม.4 แสดงวาวิชัยเรียนคณิตศาสตรในชั้น ม.3 ไดดีกวา 2. ถาให µ คือคาเฉลี่ยเลขคณิตจะไดวา 1 = 1.1 12 µ− µ = 12 – 1.1 µ = 10.9 ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของเวลาที่ใชในการวิ่งของนักกีฬาทั้งหมดเปน 10.9 วินาที 3. คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาไทย = 15 8580− = 3 1− คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษ = 20 7560− = 4 3− คามาตรฐานของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร = 5 6570− = 1 ดังนั้น จิตราเรียนวิชาวิทยาศาสตรไดดีที่สุด 4. คามาตรฐานของอายุคนงาน 2 = 2 25x− x = 4 + 25 x = 29 ดังนั้น คนงานที่มีอายุตั้งแต 29 ปขึ้นไป จึงจะมีโอกาสไดรับเลือกเขาเปนคนงานของโรงงานนี้ 5. คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนาย ก = 5 7070− = 0 คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนาย ก = 10 7075− = 2 1 คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนาย ก = 15 8075− = 3 1−
  • 9. 75 ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยของวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนาย ก = 3 3 1 2 10 −+ = 18 1 คามาตรฐานของวิชาที่ 1 ของนางสาว ข = 5 7075− = 1 คามาตรฐานของวิชาที่ 2 ของนางสาว ข = 10 7050− = –2 คามาตรฐานของวิชาที่ 3 ของนางสาว ข = 15 8095− = 1 ดังนั้น คามาตรฐานเฉลี่ยอขงวิชาที่ 1, 2 และ 3 ของนางสาว ข = 3 121 +− = 0 แตเกณฑของหนวยงานผูสอบคัดเลือกไดจะตองไดคามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนทั้ง 3 วิชา ไมต่ํากวา 0 ดังนั้น นาย ก และนางสาว ข จะสอบคัดเลือกไดทั้งสองคน 6. ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตคือ µ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ σ จะไดวา 3 = 650 − µ σ 3µ + σ = 650 (1) และ 1.9 = 540 − µ σ 1.9µ + σ = 540 (2) จาก (1) และ (2) จะได 1.1σ = 110 σ = 100 และ µ = 650 – 300 µ = 350 ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบคือ 350 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของคะแนนสอบคือ 100 คะแนน 7. (1) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐอลาสกา = 54 28990− = –3.69 ดังนั้น โรคหัวใจในรัฐอลาสกาจะมีความรุนแรงนอยกวารัฐอื่น ๆ
  • 10. 76 (2) คามาตรฐานของผูปวยโรคหัวใจในรัฐคาลิฟอรเนีย = 54 289240− = –0.91 คามาตรฐานของผูปวยโรคมะเร็งในรัฐคาลิฟอรเนีย = 31 200166− = –1.10 ดังนั้น ในรัฐคาลิฟอรเนียโรคหัวใจมีความรุนแรงมากกวาโรคมะเร็ง เมื่อเทียบกับที่พบ ในรัฐอื่น ๆในระดับประเทศ 8. เนื่องจาก zi = ix −µ σ (1) 2 = 5 20x− x = 10 + 20 x = 30 (2) –1 = 3 25x− x = –3 + 25 x = 22 (3) –1.5 = 10 100x− x = –15 + 100 x = 85 (4) 2.5 = ( )x 10 0.2 − − 0.5 = x + 10 x = 0.5 – 10 x = –9.5
  • 11. 77 เฉลยแบบฝกหัด 2.2 1. (1) ให x เปนคาของขอมูล โดยกําหนดให µ = 400 และ σ = 100 จาก z = x −µ σ จะได z = 100 400538− = 1.38 จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.38 เทากับ 0.4162 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเมื่อ z > 1.38 เทากับ 0.5 – 0.4162 = 0.0838 นั่นคือ มีขอมูล 8.38% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 538 (2) จะได z = 100 400179− = –2.21 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –2.21 ถึง z = 0 เทากับ 0.4864 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > –2.21 เทากับ 0.5 + 0.4865 = 0.9864 นั่นคือ มีขอมูล 98.64% ของขอมูลทั้งหมด มีคามากกวา 179 0 1.38 Z Z 0-2.21
  • 12. 78 (3) จะได z = 100 400356− = –0.44 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.44 ถึง z = 0 เทากับ 0.1700 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.44 เทากับ 0.5 – 0.1700 = 0.3300 นั่นคือ มีขอมูล 33% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 356 (4) จะได z = 100 400621− = 2.21 จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.21 เทากับ 0.4864 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปก เมื่อ z < 2.21 เทากับ 0.5 + 0.4864 = 0.9864 นั่นคือ มีขอมูล 98.65% ของขอมูลทั้งหมด มีคานอยกวา 621 0-0.44 Z Z 0 2.21
  • 13. 79 (5) จะได z1 = 100 400318− = –0.82 z2 = 100 400671− = 2.71 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.71 เทากับ 0.4966 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.82 ถึง z = 0 เทากับ 0.2939 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –0.82 < z < 2.71 เทากับ 0.4966 + 0.2939 = 0.7905 นั่นคือ มีขอมูล 79.05% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 318 และ 671 (6) จะได z1 = 100 400484− = 0.84 z2 = 100 400565− = 1.65 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.84 เทากับ 0.2995 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.65 เทากับ 0.4505 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ 0.84 < z < 1.65 เทากับ 0.4505 – 0.2995 = 0.1510 นั่นคือ มีขอมูล 15.09% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 484 และ 565 Z 0-0.82 2.71 Z 0 1.650.84
  • 14. 80 (7) จะได z1 = 100 400249− = –1.51 z2 = 100 400297− = –1.03 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.51 ถึง z = 0 เทากับ 0.4345 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1.03 ถึง z = 0 เทากับ 0.3485 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.51 < z < –1.03 เทากับ 0.4345 – 0.3485 = 0.0860 นั่นคือ มีขอมูล 8.6% ของขอมูลทั้งหมด มีคาระหวาง 249 และ 297 2. (1) ให x เปนน้ําหนักของกาแฟ (กรัม) โดยกําหนด µ = 115.5 และ σ = 0.3 จาก z = x −µ σ จะได z1 = 3.0 5.115115− ≈ –1.667 z2 = 3.0 5.1155.115 − = 0 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.66 เทากับ 0.4515 และ z = 0 ถึง z = 1.67 เทากับ 0.4525 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4515 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 007.0001.0 = 0.4522 Z 0-1.51 -1.03 Z 0-1.667
  • 15. 81 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.667 < z < 0 เทากับ 0.4522 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 45.22% ของขวดกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนัก ระหวาง 115 กรัม และ 115.5 กรัม (2) จะได z1 = 3.0 5.1159.114 − = –2 z2 = 3.0 5.1155.115 − = 0 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2 < z < 0 เทากับ 0.4772 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 47.72% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง 114.9 กรัม และ 115.5 กรัม (3) จะได z1 = 3.0 5.1152.115 − = –1 z2 = 3.0 5.1159.115 − ≈ 1.333 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.33 เทากับ 0.4082 และ z = 0 ถึง z = 1.34 เทากับ 0.4099 จะได พื้นที่เสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.333 เทากับ 0.4082 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 003.00017.0 = 0.4087 Z 0-2 Z 0-1 1.333
  • 16. 82 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –1 ถึง z = 0 เทากับ 0.3413 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1 < z < 1.333 เทากับ 0.4087 + 0.3413 = 0.75 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 75% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง 115.2 กรัม และ 115.9 กรัม (4) จะได z1 = 3.0 5.1157.114 − ≈ –2.667 z2 = 3.0 5.115115− ≈ –1.667 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.66 เทากับ 0.4961 และ z = 0 ถึง z = 2.67 เทากับ 0.4962 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 2.667 เทากับ 0.4961+0.00007=0.49617 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –2.667 < z < –1.667 เทากับ 0.49617–0.4522 = 0.0440 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.4% ของกาแฟทั้งหมด ที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักระหวาง 114.7 กรัม และ 115 กรัม (5) จะได z = 3.0 5.1155.115 − = 0 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z > 0 เทากับ 0.5 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 50% ของกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา 115.5 กรัม Z 0-2.667 -1.667 Z 0
  • 17. 83 (6) จะได z = 3.0 5.115115− ≈ –1.667 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.667 เทากับ 0.4522 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1.667 เทากับ 0.5 – 0.4522 = 0.0478 นั่นคือ มีขวดกาแฟ 4.78% ขวดกาแฟทั้งหมดที่กาแฟในแตละขวดมีน้ําหนักมากกวา 115 กรัม 3. (1) ให x เปนคะแนนสอบของนายไผท โดยกําหนด µ = 64 และ σ = 8 จาก z = x − µ σ จะได z = 8 6462− = –0.25 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = –0.25 ถึง z = 0 เทากับ 0.0987 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –0.25 เทากับ 0.5 – 0.0987 = 0.4013 นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนไผท คือ 40.13 ในกลุมนักเรียนชาย Z 0-1.667 Z 0-0.25
  • 18. 84 (2) ให x เปนคะแนนสอบของอาภัสรา โดยกําหนด µ = 60 และ σ = 10 จาก z = 10 6073− = 1.3 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.3 เทากับ 0.4032 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.3 เทากับ 0.5 + 0.4032 = 0.9032 นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 90.32 ในกลุมนักเรียนหญิง คะแนนของอาภัสราในกลุมนักเรียนชาย โดยกําหนด จะได z = 8 6473− = 1.125 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.12 เทากับ 0.3686 และ z = 0 ถึง z = 1.13 เทากับ 0.3708 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงระหวาง z = 0 ถึง z = 1.125 เทากับ 0.3686 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 005.00022.0 = 0.3697 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < 1.125 เทากับ 0.5 + 0.3697 = 0.8697 นั่นคือ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลของคะแนนอาภัสรา คือ 86.97 ในกลุมนักเรียนชาย Z 0 1.3 Z 0 1.125
  • 19. 85 4. (1) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P25 เทากับ 0.25 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2518 คา z เทากับ 0.68 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.2486 คา z เทากับ 0.67 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.25 คา z เทากับ 0.67 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 0032.0 0014.001.0 ≈ 0.6744 จาก z = x − µ σ –0.6744 = 12 72x− x = 72 – 8.0928 x = 63.91 นั่นคือ คะแนน ที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 25 คือ 63.91 (2) ให x เปนคะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90 จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง P90 เทากับ 0.90 – 0.5 = 0.4 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4015 คา z เทากับ 1.29 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3997 คา z เทากับ 1.28 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4 คา z เทากับ 1.28 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 0018.0 0003.001.0 ≈ 1.2817 Z 0P25 0.25 Z 0 P90
  • 20. 86 จาก 1.2817 = 12 72x− x = 72 + 15.3804 x = 87.38 นั่นคือ คะแนนที่เปนเปอรเซ็นไทลที่ 90 คือ 87.38 5. ให x เปนความหนาของแผนพลาสติก จาก z = x −µ σ จะได z1 = 0025.0 0625.00595.0 − = –1.2 z2 = 0025.0 0625.00659.0 − = 1.36 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.36 เทากับ 0.4131 และจะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.2 เทากับ 0.3849 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ –1.2 < z < 1.36 เทากับ 0.4131 + 0.3849 = 0.7980 นั่นคือ มีแผนพลาสติก 79.8% ของพลาสติกทั้งหมดที่ผลิตไดมีความหนาอยูระหวาง 0.595 เซนติเมตร และ 0.0659 เซนติเมตร 6. เพราะวา 50.04% ของนาฬิกาทั้งหมดที่ผลิตไดมีความคลาดเคลื่อนระหวาง x กับ 0.136 วินาที จาก z = x −µ σ z = 4.0 00.0136.0 − = 0.34 Z 0-1.2 1.36
  • 21. 87 จากตารางพื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.34 เทากับ 0.1331 จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก z = 0 ถึง x เทากับ 0.5004 – 0.1331 = 0.3673 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3686 คา z เทากับ 1.12 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3665 คา z เทากับ 1.11 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3673 คา z เทากับ 1.11 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 0021.0 0008.001.0 ≈ 1.1138 จะได –1.1138 = 4.0 00.0x− x = –0.446 นั่นคือ x เทากับ –0.446 วินาที 7. จากรูป จะไดพื้นที่ใตเสนโคงปกติจาก x = 11.88 ถึง µ = 12.00 เทากับ 0.5–0.1151 = 0.3849 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.3849 คา z เทากับ 1.20 จาก z = x −µ σ –1.20 = 11.88 12.00− σ σ = 2.1 12.0 − − = 0.1 ดังนั้น ความแปรปรวนของน้ําหนักสุทธิของกระปองบรรจุถั่วที่ผลิตโดยบริษัทนี้เทากับ 0.01 Z 0 0.136X 50.04% Z µ = 12.00X = 11.88
  • 22. 88 8. (1) กําหนด σ = 3, x = 6 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.09 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4099 คา z เทากับ 1.34 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.4115 คา z เทากับ 1.35 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.09 คา z เทากับ 1.34 + 0.01 0.0001 0.0016 ×⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1.3406 จะได –1.3406 = 6 3 −µ µ = 6 + 4.0218 µ = 10.0218 ดังนั้น คาเฉลี่ยเลขคณิตประมาณ 10.0218 เปนคา a ที่ตองการ (2) กําหนด µ = 10, x = 12 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.60 จากรูป พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง µ ถึง x = 12 เทากับ 0.6 – 0.5 = 0.1 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1026 คา z เทากับ 0.26 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.0987 คา z เทากับ 0.25 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1 คา z เทากับ 0.25 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 0039.0 0013.001.0 ≈ 0.2533 จะได 0.2533 = 12 10− σ σ = 2 0.2533 σ ≈ 7.90 ดังนั้น สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานประมาณ 7.90 เปนคา b ที่ตองการ Z 0X = 6 X = 12µ 0.09 0.41
  • 23. 89 (3) กําหนด µ = 10, σ = 2 และพื้นที่ใตเสนโคงปกติเทากับ 0.18 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1808 คา z เทากับ 0.47 พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.1772 คา z เทากับ 0.46 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติเปน 0.18 คา z เทากับ 0.46 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 0036.0 0028.001.0 = 0.4678 จะได –0.4678 = 2 10x− x = 10 – 0.9356 x = 9.0644 ดังนั้น คะแนนที่สนใจศึกษาประมาณ 9.06 เปนคา c ที่ตองการ (4) กําหนด µ = 3, σ = 1 และ x = 2 จะได z = 1 32− = –1 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติ เมื่อ z < –1 เทากับ 0.5 – 0.3413 = 0.1587 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนนที่ต่ํากวา 2 เทากับ 0.1587 เปนคา d ที่ตองการ X µ z = –1 µ
  • 24. 90 9. (1) ให x เปนคะแนนสอบ SAT โดยกําหนด µ = 505 และ σ = 111 จาก z = x −µ σ จะได z1 = 111 505400− = –0.946 z2 = 111 505600− = 0.856 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.94 เทากับ 0.3264 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.95 เทากับ 0.3289 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.946 เทากับ 0.3264 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 006.00025.0 = 0.3279 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.85 เทากับ 0.3023 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.86 เทากับ 0.3051 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.856 เทากับ 0.3023 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 006.00028.0 = 0.30398 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่อยูระหวาง 400 และ 600 เทากับ 0.3279 + 0.30398 = 0.63188 (2) จะได z = 111 505700− ≈ 1.757 Z -0.946 0 0.856 Z 1.7570
  • 25. 91 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.75 เทากับ 0.4599 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.76 เทากับ 0.4608 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 1.757 เทากับ 0.4599 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 007.00009.0 = 0.46053 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่มากกวา 700 เทากับ 0.5 – 0.46053 = 0.03947 (3) จะได z = 111 505450− ≈ –0.495 จากตาราง พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.49 เทากับ 0.1879 พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.50 เทากับ 0.1915 จะได พื้นที่ใตเสนโคงปกติระหวาง z = 0 ถึง z = 0.495 เทากับ 0.1879 + ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ × 01.0 005.00036.0 = 0.1897 ดังนั้น พื้นที่ใตเสนโคงปกติของคะแนน SAT ที่นอยกวา 450 เทากับ 0.5 – 0.1897 = 0.3103 Z -0.495 0