SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
บทที่ 1
การแยกตัวประกอบของพหุนามและสมการพหุนาม
1. พหุนามดีกรีสอง
พหุนามดีกรีสอง เขียนได้ในรูป 2
ax bx c  เมื่อ , ,a b c เป็นค่าคงตัวที่ 0a 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง เป็นการเขียนพหุนามให้อยู่ในรูปผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่ง
ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับรูปแบบของพหุนามดีกรีสองที่ต้องการจะแยกตัวประกอบ
1.1 เมื่อ 0c  พหุนาม 2
0ax bx c   จะเขียนได้ในรูป 2
ax bx ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้
แยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติแจกแจง  2
ax bx ax x b  
ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
3 ........................x x  2) 2
5 ........................x x 
3) 2
2 6 ........................x x  4) 2
3 9 ........................x x 
5) 2
6 4 ........................x x  6) 2
8 12 ........................x x 
7) 2 2
3 6 ........................x y xy  8) 2 2
6 8 ........................xy x y 
1.2 เมื่อ 0c  และ 0b  พหุนาม 2
0ax bx c   จะเขียนได้ในรูป 2
ax c ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้
แยกตัวประกอบโดยใช้สูตรผลต่างกาลังสอง   2 2
x y x y x y   
ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
4 ...............................x   2) 2
25 ...............................x  
3) 2
4 9 ...............................x   4) 2
81 16 ...............................x  
5)  
2
2 9 ...............................x   6) 2
5 1 ...............................x  
2
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
7) 2
3 16 ...............................x   8) 2
6 5 ...............................x  
9)  
2
2 1 8 ...............................x    10)  
2
4 2 3 12 ...............................x   
1.3 เมื่อพหุนาม 2
ax bx c  อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้
แยกตัวประกอบโดยใช้กาลังสองสมบูรณ์
1.     
22 2
2x xy y x y x y x y      
2.     
22 2
2x xy y x y x y x y      
ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
4 4 ...............................x x   2) 2
8 16 ...............................x x  
3) 2
6 9 ...............................x x   4) 2
4 12 9 ...............................x x  
5) 2
10 25 ...............................x x   6) 2
9 6 1 ...............................x x  
7) 2
4 12 9 ...............................x x   8) 2
9 30 25 ...............................x x  
9) 2
6 4x x   ……………………………………………………………………………………………..
10) 2
4 1x x   ……………………………………………………………………………………………..
11) 2
3 1x x   ……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
12) 2
11 25x x   ……………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………..
3
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
1.4 เมื่อพหุนาม 2
ax bx c  มี 1a  และ ,b c เป็นจานวนเต็ม จะเขียนได้ในรูป 2
x bx c 
แยกตัวประกอบโดยการหาจานวนเต็มสองจานวนที่คูณกันได้ c และบวกกันได้ b ซึ่ง
ถ้า mn c และ m n b  แล้ว   2
x bx c x m x n    
ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
5 6 ............................x x   2) 2
7 6 ............................x x  
3) 2
7 12 ............................x x   4) 2
12 35 ............................x x  
5) 2
3 2 ............................x x   6) 2
8 15 ............................x x  
7) 2
15 56 ............................x x   8) 2
8 12 ............................x x  
9) 2
5 6 ............................x x   10) 2
5 6 ............................x x  
11) 2
2 8 ............................x x   12) 2
2 3 ............................x x  
13) 2
5 24 ............................x x   14) 2
4 32 ............................x x  
15) 2
2 24 ............................x x   16) 2
3 40 ............................x x  
17) 2
3 54 ............................x x   18) 2
6 ............................x x  
19) 2
4 21 ............................x x   20) 2
7 60 ............................x x  
4
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
1.5 เมื่อพหุนาม 2
ax bx c  และ , ,a b c เป็นจานวนเต็ม
แยกตัวประกอบโดยนา 2
ax และ c มาแยกตัวประกอบใส่วงเล็บแล้วตรวจสอบค่าของ b และ c
  2
ax bx c mx k nx r    
เมื่อ ,a mn c kr  และ b mr kn 
ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
2 3 1x x 
2) 2
3 4 1x x 
3) 2
2 5 2x x 
4) 2
2 5 2x x 
5) 2
2 5 3x x 
5
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
6) 2
3 2 5x x 
7) 2
2 5 3x x 
8) 2
2 1x x 
9) 2
3 4 15x x 
10) 2
4 4 15x x 
11) 2
6 13 15x x 
12) 2
4 8 3x x 
6
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
13) 2
6 13 6x x 
14) 2
8 10 3x x 
15) 2
12 6x x 
16) 2
12 3 15x x 
17) 2
18 3 10x x 
โดยวิธีทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์
18) 2
2 10 5x x  = 19) 2
2 5 3x x  =
7
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
20) 2
3 2x x  = 21) 2
3 12 2x x 
22) 2
1 2x x  =
2. พหุนามดีกรีสูงกว่าสอง
เมื่อ A และ B เป็นพหุนามเรียกพหุนามที่อยู่ในรูป
3 3
A B ว่า ผลบวกกาลังสาม
และเรียก 3 3
A B ว่า ผลต่างกาลังสาม
ซึ่งแยกตัวประกอบได้ดังนี้
1.   3 3 2 2
A B A B A AB B    
2.   3 3 2 2
A B A B A AB B    
8
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 3
27x  =
2) 3
64x  =
3) 3
8 27x 
4) 3
27 8x  =
5) 3 3
64 125y x =
6)    
3 3
5 2 2 5x x   =
7)    
3 3
4 1 4x x   =
9
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
8) 4
16x  =
9) 4
9y  =
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ถ้าหารพหุนาม ( )P x ด้วยพหุนาม x c ที่ c เป็นค่าคงตัว แล้วจะได้เศษเหลือเท่ากับ ( )P c
ตัวอย่างที่ 1 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3 2
5 7x x x   ด้วย 1x 
ตัวอย่างที่ 2 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3 2
2 16 32x x x   ด้วย 2x 
ตัวอย่างที่ 3 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3 2
8 19 12x x x   ด้วย 1x 
10
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ถ้าเศษเหลือจากการพหุนาม ( )P x ด้วย x c เท่ากับ 0 แล้ว จะได้ว่า
1. x c หาร ( )P x ลงตัว
2. x c เป็นตัวประกอบหนึ่งของ ( )P x
3.  ( ) ( )P x x c Q x  เมื่อ ( )Q x เป็นผลหารซึ่งมีดีกรีน้อยกว่า ( )P x อยู่ 1
ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ 3 2
8 19 12x x x  
ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ 3 2
4 11 30x x x  
ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ 3
19 30x x 
11
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ 4 3 2
2 17 18 72x x x x   
4. สมการพหุนาม
4.1. สมการพหุนามกาลังสอง
สมการพหุนามกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปรมีรูปทั่วไปเป็น 2
0ax bx c  
เมื่อ , ,a b c เป็นค่าคงตัว และ 0a สามารถทาได้ดังนี้
กรณีที่ 1 แยกตัวประกอบได้ง่าย
ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
5 0x x  2) 2
3 4 0x x  
3) 2
6x x  4) 2
4 6x x x  
5) 2
3 2x x  6)  
2
2 5x  
12
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
7)    
2 2
2 1 1 8x x   
8)    3 2 2 6 0x x x x    
9)    
2 2
4 1 2x x  
10)  
2
1 3 0x   
13
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
กรณีที่ 2 แยกตัวประกอบได้ยาก
1) อาจใช้วิธีทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ แล้วใช้ผลต่างกาลังสองมาช่วยในการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 2
4 3 0x x  
2) 2
2 2 0x x  
3) 2
2 2x x 
4) 2
2 6 5x x x   
14
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
2) ใช้สูตร
จากสมการกาลังสอง 2
0ax bx c   จะได้ว่า
2
4
2
b b ac
x
a
  

1) ถ้า 2
4 0b ac  แล้วสมการมีคาตอบเดียว คือ
2
b
x
a
 
2) ถ้า 2
4 0b ac  แล้วสมการมีคาตอบเป็นจานวนจริง
3) ถ้า 2
4 0b ac  แล้วสมการไม่มีคาตอบหรือมีคาตอบเป็นจานวนจินตภาพ
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) 0522
 xx 2) 132 2
 xx
3) xxx  4732
4) 2 2
2 4 3x x x x   
5) 2
1 4x x x    6) 2 2
5 6 5 2x x x x    
15
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ตัวอย่างที่ 4 ถ้า
2
1
x เป็นรากของสมการ 0372
 xax แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
ตัวอย่างที่ 5 ถ้า 2
3
x  เป็นคาตอบของสมการ 2
3 10 0x ax   แล้ว คาตอบอีกคาตอบหนึ่งของสมการนี้
มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 5
ข. 3
ค. 3
ง. 5
ตัวอย่างที่ 6 ถ้า 3
2
และ 1
2
 เป็นรากของสมการ 2
6 0ax bx   แล้ว a b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 4
ข. 8
ค. 16
ง. 32
ตัวอย่างที่ 7 ค่าของ c ที่ทาให้ 2
2 4 1 0x x c    มีคาตอบเดียวตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ก. 4
ข. 3 และ 2
ค. 3
ง. 0 และ 1
16
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
5. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกาลังสอง
ขั้นตอนการแก้ปัญหา
1. สมมติตัวแปรแทนที่แทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหา
2. นาข้อมูลที่ได้จากโจทย์มาเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์
3. แก้สมการกาลังสอง
ตัวอย่างที่ 1 รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 6 เซนติเมตร และมีพื้นที่เท่ากับ 216 ตารางเซนติเมตร
จงหาความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้
ตัวอย่างที่ 2 ส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งยาว 6 เซนติเมตร ถ้าแบ่งส่วนของเส้นตรงนี้ออกเป็นสองส่วน ให้ส่วนหนึ่งเท่ากับ
กาลังสองของอีกส่วนหนึ่ง จงหาความยาวของส่วนที่สั้น
ตัวอย่างที่ 3 รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีด้านประกอบมุมฉาก AB และ BC ยาว 9x  นิ้ว และ 3x  นิ้ว
ตามลาดับ และด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 30 นิ้ว รูปสามเหลี่ยมมุมฉากนี้มีพื้นที่กี่ตารางนิ้ว
17
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ตัวอย่างที่ 4 สนามหญ้าแห่งหนึ่งกว้าง 10เมตร ยาว 12เมตร รอบนอกของสนามมีถนนกว้างเท่าๆกันทั้งสี่ด้าน ถ้าพื้นที่
ของถนนเป็น 104ตารางเมตร จงหาว่าถนนนี้กว้างกี่เมตร
ตัวอย่างที่ 5 นักเรียนกลุ่มหนึ่งรวมเงินเพื่อซื้ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ราคา 1,400 บาท แต่ปรากฏว่ามีนักเรียนในกลุ่มนี้
ถอนตัวออกจากกลุ่มไป 5 คน พวกที่เหลือจึงต้องเพิ่มเงินอีกคนละ 5 บาท จงหาว่าเดิมนักเรียนกลุ่มนี้มีกี่คน
ตัวอย่างที่ 6 บ่อน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที่ 600ตารางเมตร และมีความยาวรอบของบ่อเท่ากับ 100เมตร
จงหาความกว้างและความยาวของบ่อแห่งนี้
18
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ตัวอย่างที่ 7 ถังใบหนึ่งมีท่อเปิดน้าเข้า 2 ท่อ ท่อใหญ่จ่ายน้าเข้าเต็มถังเร็วกว่าท่อเล็ก 18 นาที ถ้าเปิด 2 ท่อพร้อมกัน
น้าจะเต็มถังในเวลา 12 นาที ถ้าเปิดท่อใหญ่ท่อเดียวจะใช้เวลานานกี่นาทีน้าจึงจะเต็มถัง
ก.12 นาที
ข.16 นาที
ค.18 นาที
ง.20 นาที
ตัวอย่างที่ 8 รถไฟขบวนหนึ่งแล่นในระยะทาง 180 กิโลเมตร หลังจากแล่นได้ครึ่งทางในอัตราเร็วคงที่ เกิดเหตุการณ์
ทาให้ต้องลดความเร็วลงชั่วโมงละ 5 กิโลเมตร ทาให้ถึงปลายทางช้าไป 15 นาที เดิมรถไฟแล่นได้ชั่วโมงละ
กี่กิโลเมตร
ก.40
ข.45
ค.50
ง.60
ตัวอย่างที่ 9 นักเรียนกลุ่มหนึ่งมี 8 คน ตกลงกันจะออกเงินซื้อต้นไม้ต้นหนึ่งราคา 300บาท มาปลูกในโรงเรียน
ตามโครงการสวนสวยโรงเรียนงาม โดยนักเรียนชายและหญิงออกเงินฝ่ายละครึ่งแต่นักเรียนชายออกเงิน
มากกว่านักเรียนคนละ 20 บาท ดังนั้นนักเรียนกลุ่มนี้มีผู้หญิงมากกว่าผู้ชายกี่คน
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน
19
ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557
ตัวอย่างที่ 10 รถไฟขบวนหนึ่งแล่นออกจากสถานีกรุงเทพมหานครไปยังสถานีปลายทาง คนขับรถพบว่า ถ้าเพิ่มความ
เร็วจากความเร็วปกติชั่วโมงละ 6 กิโลเมตร จะถึงสถานีปลายทางเร็วขึ้น 3 นาที แต่ถ้าลดความเร็วจากความเร็วปกติ
ชั่วโมงละ 5 กิโลเมตร จะถึงสถานีปลายทางช้าลง 3 นาที ระยะทางจากสถานีกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีปลายทาง
ของรถไฟขบวนนี้เท่ากับกี่กิโลเมตร(สมาคมฯ 2557)
ตัวอย่างที่ 11 ชาย 2 คนขี่จักรยานด้วยความเร็ว 10 ไมล์ต่อชั่วโมง วงล้อรถจักรยานคันหนึ่งยาวกว่าอีกคันหนึ่ง
8 นิ้ว วงล้อใหญ่หมุนช้ากว่าวงล้อเล็ก 1 รอบใน 5 วินาที จงหาความยาวของวงล้อจักรยาน 2 คันนี้
(กาหนดให้ 1 ไมล์ เท่ากับ 1760 หลา และ 1 หลา เท่ากับ 3 ฟุต )

More Related Content

What's hot

ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัดPiriya Sisod
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์Beer Aksornsart
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3 Prang Donal
 

What's hot (20)

ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ  เรื่อง การวัดแบบทดสอบ  เรื่อง การวัด
แบบทดสอบ เรื่อง การวัด
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 

Viewers also liked

การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบการแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 2 พหุนาม
บทที่ 2  พหุนามบทที่ 2  พหุนาม
บทที่ 2 พหุนามsawed kodnara
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองศศิชา ทรัพย์ล้น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามพัน พัน
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารsawed kodnara
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
เรื่องวงกลม
เรื่องวงกลมเรื่องวงกลม
เรื่องวงกลมพัน พัน
 

Viewers also liked (20)

การแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบการแยกตัวประกอบ
การแยกตัวประกอบ
 
บทที่ 2 พหุนาม
บทที่ 2  พหุนามบทที่ 2  พหุนาม
บทที่ 2 พหุนาม
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสองการแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบพหุนามดีกรีสอง
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนามเรื่องเศษส่วนพหุนาม
เรื่องเศษส่วนพหุนาม
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
แบบฝึกทักรวมชุด 2
แบบฝึกทักรวมชุด 2แบบฝึกทักรวมชุด 2
แบบฝึกทักรวมชุด 2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนามแบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องพหุนาม
 
งานนำเสนอหน่วย Si
งานนำเสนอหน่วย Siงานนำเสนอหน่วย Si
งานนำเสนอหน่วย Si
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
เรื่องวงกลม
เรื่องวงกลมเรื่องวงกลม
เรื่องวงกลม
 

Similar to บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง

Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจชัชชญา ช่างเจริญ
 
คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มขaom08
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้pummath
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 

Similar to บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง (20)

Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
Test of relation
Test of relationTest of relation
Test of relation
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
คณิต มข
คณิต มขคณิต มข
คณิต มข
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
4339
43394339
4339
 

More from sawed kodnara

เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560sawed kodnara
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 sawed kodnara
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์sawed kodnara
 
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560sawed kodnara
 
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560sawed kodnara
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยsawed kodnara
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันsawed kodnara
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1sawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานsawed kodnara
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันsawed kodnara
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละsawed kodnara
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
ดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิก
ดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิกดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิก
ดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิกsawed kodnara
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมsawed kodnara
 

More from sawed kodnara (20)

เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
เฉลยข้อสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ระดับประถม ปี 2560
 
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560 เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก  ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
เฉลยคำตอบข้อสอบคณิตนานาชาติ สพฐ รอบแรก ม.ต้น ปี พ.ศ.2560
 
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
รับสอนพิเศษเพื่อเพิ่มศักยภาพทางคณิตศาสตร์
 
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
ประกาศผลสอบห้อง Ep ม.1 ปี 2560
 
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
ผลสอบคณิตนานาชาติ รอบแรก ปี 2560
 
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
ดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิก
ดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิกดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิก
ดาวรุ่งมุ่งโอลิมปิก
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 

บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง

  • 1. 1 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 บทที่ 1 การแยกตัวประกอบของพหุนามและสมการพหุนาม 1. พหุนามดีกรีสอง พหุนามดีกรีสอง เขียนได้ในรูป 2 ax bx c  เมื่อ , ,a b c เป็นค่าคงตัวที่ 0a  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง เป็นการเขียนพหุนามให้อยู่ในรูปผลคูณของพหุนามดีกรีหนึ่ง ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับรูปแบบของพหุนามดีกรีสองที่ต้องการจะแยกตัวประกอบ 1.1 เมื่อ 0c  พหุนาม 2 0ax bx c   จะเขียนได้ในรูป 2 ax bx ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้ แยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติแจกแจง  2 ax bx ax x b   ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 3 ........................x x  2) 2 5 ........................x x  3) 2 2 6 ........................x x  4) 2 3 9 ........................x x  5) 2 6 4 ........................x x  6) 2 8 12 ........................x x  7) 2 2 3 6 ........................x y xy  8) 2 2 6 8 ........................xy x y  1.2 เมื่อ 0c  และ 0b  พหุนาม 2 0ax bx c   จะเขียนได้ในรูป 2 ax c ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้ แยกตัวประกอบโดยใช้สูตรผลต่างกาลังสอง   2 2 x y x y x y    ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 4 ...............................x   2) 2 25 ...............................x   3) 2 4 9 ...............................x   4) 2 81 16 ...............................x   5)   2 2 9 ...............................x   6) 2 5 1 ...............................x  
  • 2. 2 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 7) 2 3 16 ...............................x   8) 2 6 5 ...............................x   9)   2 2 1 8 ...............................x    10)   2 4 2 3 12 ...............................x    1.3 เมื่อพหุนาม 2 ax bx c  อยู่ในรูปกาลังสองสมบูรณ์ ซึ่งสามารถทาได้ดังนี้ แยกตัวประกอบโดยใช้กาลังสองสมบูรณ์ 1.      22 2 2x xy y x y x y x y       2.      22 2 2x xy y x y x y x y       ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 4 4 ...............................x x   2) 2 8 16 ...............................x x   3) 2 6 9 ...............................x x   4) 2 4 12 9 ...............................x x   5) 2 10 25 ...............................x x   6) 2 9 6 1 ...............................x x   7) 2 4 12 9 ...............................x x   8) 2 9 30 25 ...............................x x   9) 2 6 4x x   …………………………………………………………………………………………….. 10) 2 4 1x x   …………………………………………………………………………………………….. 11) 2 3 1x x   …………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………….. 12) 2 11 25x x   …………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………..
  • 3. 3 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 1.4 เมื่อพหุนาม 2 ax bx c  มี 1a  และ ,b c เป็นจานวนเต็ม จะเขียนได้ในรูป 2 x bx c  แยกตัวประกอบโดยการหาจานวนเต็มสองจานวนที่คูณกันได้ c และบวกกันได้ b ซึ่ง ถ้า mn c และ m n b  แล้ว   2 x bx c x m x n     ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 5 6 ............................x x   2) 2 7 6 ............................x x   3) 2 7 12 ............................x x   4) 2 12 35 ............................x x   5) 2 3 2 ............................x x   6) 2 8 15 ............................x x   7) 2 15 56 ............................x x   8) 2 8 12 ............................x x   9) 2 5 6 ............................x x   10) 2 5 6 ............................x x   11) 2 2 8 ............................x x   12) 2 2 3 ............................x x   13) 2 5 24 ............................x x   14) 2 4 32 ............................x x   15) 2 2 24 ............................x x   16) 2 3 40 ............................x x   17) 2 3 54 ............................x x   18) 2 6 ............................x x   19) 2 4 21 ............................x x   20) 2 7 60 ............................x x  
  • 4. 4 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 1.5 เมื่อพหุนาม 2 ax bx c  และ , ,a b c เป็นจานวนเต็ม แยกตัวประกอบโดยนา 2 ax และ c มาแยกตัวประกอบใส่วงเล็บแล้วตรวจสอบค่าของ b และ c   2 ax bx c mx k nx r     เมื่อ ,a mn c kr  และ b mr kn  ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 2 3 1x x  2) 2 3 4 1x x  3) 2 2 5 2x x  4) 2 2 5 2x x  5) 2 2 5 3x x 
  • 5. 5 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 6) 2 3 2 5x x  7) 2 2 5 3x x  8) 2 2 1x x  9) 2 3 4 15x x  10) 2 4 4 15x x  11) 2 6 13 15x x  12) 2 4 8 3x x 
  • 6. 6 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 13) 2 6 13 6x x  14) 2 8 10 3x x  15) 2 12 6x x  16) 2 12 3 15x x  17) 2 18 3 10x x  โดยวิธีทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ 18) 2 2 10 5x x  = 19) 2 2 5 3x x  =
  • 7. 7 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 20) 2 3 2x x  = 21) 2 3 12 2x x  22) 2 1 2x x  = 2. พหุนามดีกรีสูงกว่าสอง เมื่อ A และ B เป็นพหุนามเรียกพหุนามที่อยู่ในรูป 3 3 A B ว่า ผลบวกกาลังสาม และเรียก 3 3 A B ว่า ผลต่างกาลังสาม ซึ่งแยกตัวประกอบได้ดังนี้ 1.   3 3 2 2 A B A B A AB B     2.   3 3 2 2 A B A B A AB B    
  • 8. 8 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 3 27x  = 2) 3 64x  = 3) 3 8 27x  4) 3 27 8x  = 5) 3 3 64 125y x = 6)     3 3 5 2 2 5x x   = 7)     3 3 4 1 4x x   =
  • 9. 9 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 8) 4 16x  = 9) 4 9y  = 3. การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ ทฤษฎีบทเศษเหลือ ถ้าหารพหุนาม ( )P x ด้วยพหุนาม x c ที่ c เป็นค่าคงตัว แล้วจะได้เศษเหลือเท่ากับ ( )P c ตัวอย่างที่ 1 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3 2 5 7x x x   ด้วย 1x  ตัวอย่างที่ 2 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3 2 2 16 32x x x   ด้วย 2x  ตัวอย่างที่ 3 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร 3 2 8 19 12x x x   ด้วย 1x 
  • 10. 10 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ถ้าเศษเหลือจากการพหุนาม ( )P x ด้วย x c เท่ากับ 0 แล้ว จะได้ว่า 1. x c หาร ( )P x ลงตัว 2. x c เป็นตัวประกอบหนึ่งของ ( )P x 3.  ( ) ( )P x x c Q x  เมื่อ ( )Q x เป็นผลหารซึ่งมีดีกรีน้อยกว่า ( )P x อยู่ 1 ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ 3 2 8 19 12x x x   ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ 3 2 4 11 30x x x   ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ 3 19 30x x 
  • 11. 11 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ 4 3 2 2 17 18 72x x x x    4. สมการพหุนาม 4.1. สมการพหุนามกาลังสอง สมการพหุนามกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปรมีรูปทั่วไปเป็น 2 0ax bx c   เมื่อ , ,a b c เป็นค่าคงตัว และ 0a สามารถทาได้ดังนี้ กรณีที่ 1 แยกตัวประกอบได้ง่าย ตัวอย่างที่ 1 จงแก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 5 0x x  2) 2 3 4 0x x   3) 2 6x x  4) 2 4 6x x x   5) 2 3 2x x  6)   2 2 5x  
  • 12. 12 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 7)     2 2 2 1 1 8x x    8)    3 2 2 6 0x x x x     9)     2 2 4 1 2x x   10)   2 1 3 0x   
  • 13. 13 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 กรณีที่ 2 แยกตัวประกอบได้ยาก 1) อาจใช้วิธีทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ แล้วใช้ผลต่างกาลังสองมาช่วยในการแยกตัวประกอบ ตัวอย่างที่ 2 จงแก้สมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 2 4 3 0x x   2) 2 2 2 0x x   3) 2 2 2x x  4) 2 2 6 5x x x   
  • 14. 14 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 2) ใช้สูตร จากสมการกาลังสอง 2 0ax bx c   จะได้ว่า 2 4 2 b b ac x a     1) ถ้า 2 4 0b ac  แล้วสมการมีคาตอบเดียว คือ 2 b x a   2) ถ้า 2 4 0b ac  แล้วสมการมีคาตอบเป็นจานวนจริง 3) ถ้า 2 4 0b ac  แล้วสมการไม่มีคาตอบหรือมีคาตอบเป็นจานวนจินตภาพ ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้ 1) 0522  xx 2) 132 2  xx 3) xxx  4732 4) 2 2 2 4 3x x x x    5) 2 1 4x x x    6) 2 2 5 6 5 2x x x x    
  • 15. 15 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ตัวอย่างที่ 4 ถ้า 2 1 x เป็นรากของสมการ 0372  xax แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 ตัวอย่างที่ 5 ถ้า 2 3 x  เป็นคาตอบของสมการ 2 3 10 0x ax   แล้ว คาตอบอีกคาตอบหนึ่งของสมการนี้ มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ก. 5 ข. 3 ค. 3 ง. 5 ตัวอย่างที่ 6 ถ้า 3 2 และ 1 2  เป็นรากของสมการ 2 6 0ax bx   แล้ว a b มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ก. 4 ข. 8 ค. 16 ง. 32 ตัวอย่างที่ 7 ค่าของ c ที่ทาให้ 2 2 4 1 0x x c    มีคาตอบเดียวตรงกับข้อใดต่อไปนี้ ก. 4 ข. 3 และ 2 ค. 3 ง. 0 และ 1
  • 16. 16 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 5. โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกาลังสอง ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. สมมติตัวแปรแทนที่แทนสิ่งที่โจทย์ต้องการหา 2. นาข้อมูลที่ได้จากโจทย์มาเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ 3. แก้สมการกาลังสอง ตัวอย่างที่ 1 รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 6 เซนติเมตร และมีพื้นที่เท่ากับ 216 ตารางเซนติเมตร จงหาความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้ ตัวอย่างที่ 2 ส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งยาว 6 เซนติเมตร ถ้าแบ่งส่วนของเส้นตรงนี้ออกเป็นสองส่วน ให้ส่วนหนึ่งเท่ากับ กาลังสองของอีกส่วนหนึ่ง จงหาความยาวของส่วนที่สั้น ตัวอย่างที่ 3 รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีด้านประกอบมุมฉาก AB และ BC ยาว 9x  นิ้ว และ 3x  นิ้ว ตามลาดับ และด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 30 นิ้ว รูปสามเหลี่ยมมุมฉากนี้มีพื้นที่กี่ตารางนิ้ว
  • 17. 17 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ตัวอย่างที่ 4 สนามหญ้าแห่งหนึ่งกว้าง 10เมตร ยาว 12เมตร รอบนอกของสนามมีถนนกว้างเท่าๆกันทั้งสี่ด้าน ถ้าพื้นที่ ของถนนเป็น 104ตารางเมตร จงหาว่าถนนนี้กว้างกี่เมตร ตัวอย่างที่ 5 นักเรียนกลุ่มหนึ่งรวมเงินเพื่อซื้ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ราคา 1,400 บาท แต่ปรากฏว่ามีนักเรียนในกลุ่มนี้ ถอนตัวออกจากกลุ่มไป 5 คน พวกที่เหลือจึงต้องเพิ่มเงินอีกคนละ 5 บาท จงหาว่าเดิมนักเรียนกลุ่มนี้มีกี่คน ตัวอย่างที่ 6 บ่อน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพื้นที่ 600ตารางเมตร และมีความยาวรอบของบ่อเท่ากับ 100เมตร จงหาความกว้างและความยาวของบ่อแห่งนี้
  • 18. 18 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ตัวอย่างที่ 7 ถังใบหนึ่งมีท่อเปิดน้าเข้า 2 ท่อ ท่อใหญ่จ่ายน้าเข้าเต็มถังเร็วกว่าท่อเล็ก 18 นาที ถ้าเปิด 2 ท่อพร้อมกัน น้าจะเต็มถังในเวลา 12 นาที ถ้าเปิดท่อใหญ่ท่อเดียวจะใช้เวลานานกี่นาทีน้าจึงจะเต็มถัง ก.12 นาที ข.16 นาที ค.18 นาที ง.20 นาที ตัวอย่างที่ 8 รถไฟขบวนหนึ่งแล่นในระยะทาง 180 กิโลเมตร หลังจากแล่นได้ครึ่งทางในอัตราเร็วคงที่ เกิดเหตุการณ์ ทาให้ต้องลดความเร็วลงชั่วโมงละ 5 กิโลเมตร ทาให้ถึงปลายทางช้าไป 15 นาที เดิมรถไฟแล่นได้ชั่วโมงละ กี่กิโลเมตร ก.40 ข.45 ค.50 ง.60 ตัวอย่างที่ 9 นักเรียนกลุ่มหนึ่งมี 8 คน ตกลงกันจะออกเงินซื้อต้นไม้ต้นหนึ่งราคา 300บาท มาปลูกในโรงเรียน ตามโครงการสวนสวยโรงเรียนงาม โดยนักเรียนชายและหญิงออกเงินฝ่ายละครึ่งแต่นักเรียนชายออกเงิน มากกว่านักเรียนคนละ 20 บาท ดังนั้นนักเรียนกลุ่มนี้มีผู้หญิงมากกว่าผู้ชายกี่คน ก. 1 คน ข. 2 คน ค. 3 คน ง. 4 คน
  • 19. 19 ครูเสวตรโรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ตัวอย่างที่ 10 รถไฟขบวนหนึ่งแล่นออกจากสถานีกรุงเทพมหานครไปยังสถานีปลายทาง คนขับรถพบว่า ถ้าเพิ่มความ เร็วจากความเร็วปกติชั่วโมงละ 6 กิโลเมตร จะถึงสถานีปลายทางเร็วขึ้น 3 นาที แต่ถ้าลดความเร็วจากความเร็วปกติ ชั่วโมงละ 5 กิโลเมตร จะถึงสถานีปลายทางช้าลง 3 นาที ระยะทางจากสถานีกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีปลายทาง ของรถไฟขบวนนี้เท่ากับกี่กิโลเมตร(สมาคมฯ 2557) ตัวอย่างที่ 11 ชาย 2 คนขี่จักรยานด้วยความเร็ว 10 ไมล์ต่อชั่วโมง วงล้อรถจักรยานคันหนึ่งยาวกว่าอีกคันหนึ่ง 8 นิ้ว วงล้อใหญ่หมุนช้ากว่าวงล้อเล็ก 1 รอบใน 5 วินาที จงหาความยาวของวงล้อจักรยาน 2 คันนี้ (กาหนดให้ 1 ไมล์ เท่ากับ 1760 หลา และ 1 หลา เท่ากับ 3 ฟุต )