SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
บทที่ 1
เซต
( 10 ชั่วโมง )
เนื้อหาสาระเรื่อง เซต ถือวาเปนเนื้อหาที่มีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปน
รากฐานและเครื่องมือที่สําคัญในการเรียนรูคณิตศาสตรทุกสาขา เรื่องเซตที่กลาวถึงในหนังสือเรียน
จะเปนพื้นฐานที่เพียงพอตอการนําไปใช โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังตอไปนี้
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต สามารถหายูเนียน อินเตอรเซกชัน คอมพลีเมนต และผลตาง
ของเซต
2. เขียนแผนภาพแทนเซตและนําไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซตได
ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
2
ขอเสนอแนะ
1. เนื่องจากสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนสาระที่จําเปนสําหรับ
ผูเรียนทุกคน สําหรับสาระที่เปนเนื้อหาวิชาที่จัดไวในหนังสือเรียนคณิตศาสตรรายวิชาพื้นฐาน
ไดจัดทําไวสําหรับใหผูเรียนที่มีพื้นฐานปานกลางและสูง สามารถอานและทําความเขาใจ
ดวยตนเองได สําหรับผูเรียนที่มีพื้นฐานทางคณิตศาสตรไมคอยดี ผูสอนอาจจะตองใชวิธีการ
สอนที่ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูใหไดตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว และจะตอง
ระมัดระวังในการยกตัวอยางที่ไมซับซอนเกินความสามารถของผูเรียน เชน กําหนดใหผูเรียน
เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก โดยกําหนดให
1) A = {x⏐x3
= 343}
2) B = {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5}
จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาการหาคําตอบในขอ 1) ผูเรียนจะตองมีความเขาใจในเรื่อง
เลขยกกําลังและตองมีความสามารถในการคิดคํานวณมากกวาการหาคําตอบในขอ 2) ซึ่งโดย
แทจริงแลวจุดประสงคของการเรียนรูในเรื่องนี้คือ ตองการวัดความรูของผูเรียนวาสามารถเขียน
เซตแบบแจกแจงสมาชิกจากเซตที่กําหนดใหแบบบอกเงื่อนไขไดหรือไม แตไมตองการวัดความรู
ที่เกี่ยวกับทักษะการคํานวณแตอยางใด ดังนั้นผูสอนจึงควรตองระมัดระวังในการยกตัวอยางใหแก
ผูเรียนที่มีพื้นฐานทางคณิตศาสตรไมคอยดีแตสําหรับผูเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตรสูง
ผูสอนอาจยกตัวอยางที่ซับซอนกวา เพื่อพัฒนาความสามารถของผูเรียนได
2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข ควรใหผูเรียนมีอิสระในการตอบ ซึ่งคําตอบของผูเรียนไมจําเปน
ตองตรงกับคําตอบที่ผูสอนคิดไว เนื่องจากการบอกเงื่อนไขนั้นสามารถบอกไดหลายแบบ เชน
F = {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนคี่} หรือ F = {x⏐x เปนจํานวนคี่บวก}
3. การใชสัญลักษณแทนเซตวาง มีขอควรระวัง ดังนี้
{ } และ ∅ เปนสัญลักษณแทนเซตวาง
แต {0} ไมเปนเซตวาง เพราะมีสมาชิก 1 ตัว คือ 0
{{ }} ไมเปนเซตวาง เพราะมีสมาชิก 1 ตัว คือ { }
เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องนี้ดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางเปรียบเทียบเซตวางกับสิ่งที่เปน
รูปธรรม เชน เปรียบเทียบเซตวางกับกลองเปลาซึ่งเหมือนกันในแงที่วา เซตวางคือเซตที่ไมมี
สมาชิก และกลองเปลาคือกลองที่ไมมีอะไรบรรจุอยูภายในเลย แตถานํากลองเปลาใบหนึ่งใสลง
ไปในกลองเปลาอีกใบหนึ่งแลวจะพบวา กลองเปลาใบหลังจะไมเปนกลองเปลาอีกตอไป ทั้งนี้
เพราะมีกลองเปลาใบแรกบรรจุอยูภายใน
3
4. การสอนเรื่องสมาชิกของเซตและจํานวนสมาชิกของเซต อาจมีตัวอยางเซตที่มีสมาชิกบางตัวเปน
เซตบาง เชน {1, 2, {3, 4}} เปนเซตที่มีสมาชิก 3 ตัว คือ 1, 2 และ {3, 4}
5. การสอนเรื่องเซตจํากัดและเซตอนันตนั้น ควรยกตัวอยางเฉพาะเซตที่นาสนใจและมีประโยชน
ที่จะทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องนี้ไดดีขึ้น เชน เซตของนักเรียนในหองเปนเซตจํากัด เซตของ
เสนผมของคนคนหนึ่งเปนเซตจํากัด เซตของจํานวนเต็มที่มีคาระหวาง 0 และ 10 เปนเซต
จํากัด เซตของจํานวนเต็มบวกเปนเซตอนันต เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต 0 ถึง 10 เปน
เซตอนันต
ผูเรียนมักจะเขาใจวา เซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนมาก ๆ เปนเซตอนันต เชน เซตของเสนผม
เซตของเม็ดทราย เปนตน แตที่แทจริงแลวเซตในทํานองเดียวกับตัวอยางดังกลาวเปนเซตจํากัด
ซึ่งผูสอนอาจอธิบายวา เซตเหลานั้นสามารถนับจํานวนสมาชิกไดและมีสมาชิกไมเกินจํานวนนับ
จํานวนหนึ่ง ดังนั้น เราสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซตนั้นได อยางไรก็ดีในการสอนผูสอน
ควรหลีกเลี่ยงการยกตัวอยางเซตประเภทนี้ แตถาเลี่ยงไมไดก็ควรชี้แจงใหผูเรียนเขาใจใหถูกตอง
วาเปนเซตจํากัดที่มีจํานวนสมาชิกมากมายไมสะดวกแกการนับ
6. ในการกลาวถึงสมาชิกในเซตครั้งใด ถากําหนดเอกภพสัมพัทธใหแลว จะกลาวถึงสิ่งใด
นอกเหนือไปจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธไมได (ผูสอนควรจะชี้แจงดวยวา เมื่อกลาวถึงเซต
ของจํานวน ถาไมไดกลาวถึงเอกภพสัมพัทธไวใหถือวา เอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง)
7. การเขียนแผนภาพแทนเซตนั้นในหนังสือเรียนมักจะใชรูปวงรี หรือรูปวงกลม ซึ่งไดกลาวไวใน
หนังสือเรียนแลวเชนกันวา จะเปนรูปใดก็ไดที่มีลักษณะเปนรูปปด ดังนั้น ผูเรียนอาจเขียนแทน
เซตโดยใชรูป ∆ หรือ หรือรูปปดใดก็ได
8. ในการแกโจทยปญหาที่เกี่ยวกับยูเนียน อินเตอรเซกชัน และคอมพลีเมนตของเซตจํากัด ควรให
ผูเรียนเขียนแผนภาพของเวนน - ออยเลอร กํากับดวยทุกครั้ง เพราะการเขียนแผนภาพจะชวยให
ผูเรียนไดเห็นแนวทางในการแกปญหาอีกทั้งยังเปนพื้นฐานตอการศึกษาสาระอื่นๆของคณิตศาสตร
4
กิจกรรมเสนอแนะ
ผูสอนอาจใชกิจกรรมตอไปนี้ประกอบการเรียนการสอนเรื่อง แผนภาพของเวนน-ออยเลอร
หรือใหผูเรียนแกปญหาในกิจกรรมหลังจากเรียนเกี่ยวกับการดําเนินการของเซตแลว ผูสอนอาจนําเสนอ
เปนใบกิจกรรม โดยใหผูเรียนทําเปนกลุมหรือเดี่ยว ซึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมของผูเรียน
ในกิจกรรมนี้มุงหวังใหผูเรียนสามารถอธิบายวิธีการหาคําตอบหรือวิธีการแกปญหา ซึ่งจะ
เปนการเสริมสรางทักษะกระบวนการแกปญหาและการสื่อสารของผูเรียน
กิจกรรม
1. จงเขียนจํานวน 1 ถึง 12 ลงในแผนภาพแทนเซต A, B และ C โดยมีเงื่อนไขดังนี้
1) จํานวนคี่เปนสมาชิกของเซต A
2) จํานวนคูเปนสมาชิกของเซต B
3) จํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว เปนสมาชิกของเซต C
แนวทางการหาคําตอบ
1) เขียนเซต A, B, C แบบแจกแจงสมาชิก ไดดังนี้
A = { 1, 3, 5, 7, 9, 11 }
B = { 2, 4, 6, 8, 10, 12 }
C = { 3, 6, 9, 12 }
2) นําเซตแตละเซตเขียนลงในแผนภาพที่กําหนดให โดยพิจารณาวาแตละเซตมีสมาชิกรวม
กันหรือไม ซึ่งจะไดคําตอบดังนี้
A B
C U
A B
C
1 5
7
11
2
4 10
86
12
3
9
U
5
2. จงเขียนจํานวน 4 ถึง 10 ในแผนภาพแทนเซต A, B และ C โดยใหผลรวมของจํานวนที่เปน
สมาชิกในแตละเซตเทากับ 30 และอธิบายวิธีการหาคําตอบ
แนวทางการหาคําตอบ
จากเงื่อนไขที่โจทยกําหนดวา แตละเซตตองมีผลรวมของจํานวนที่เปนสมาชิกของเซต เทากับ 30
ดังนั้นสามารถหาเซต A, B, C ไดดังนี้
จากแผนภาพพบวา เซต A ประกอบดวยสมาชิก 2 ตัว คือ 1, 2 ซึ่งมีผลรวมเทากับ 3
แตเงื่อนไขตองการใหมีผลรวมของจํานวนที่เปนสมาชิกเทากับ 30 ดังนั้นตองหาสมาชิกที่เหลือของ
เซต A ซึ่งมีผลรวมเทากับ 27 ดังรูป (1) หรือ (2)
(1) (2)
สวนการหาสมาชิกของ เซต B และ เซต C ก็ทําไดในทํานองเดียวกัน โดยจะไดคําตอบ ดังรูป (3)
หรือ (4)
(3) (4)
A B
C
1
2
3
U
A B
C
10
1
58
6
9
2
4
7
3
U
A B
C
10
1
7
8 6
9
2
4 3
U
5
A B
C
10
1
8
9
2
U
A B
C
10
1
8
9
2
U
6
แบบทดสอบประจําบท
แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่องเซต ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบทดสอบ
ใหเหมาะสมกับผูเรียนได
ตัวอยางแบบทดสอบ
1. จงยกตัวอยางเซตของสิ่งของหรือกลุมคนที่ทานพบในชีวิตประจําวันมา 2 เซต โดยเขียนแบบ
แจกแจงสมาชิก และเขียนแบบบอกเงื่อนไข
2. ถาทานและเพื่อนมีเงินในกระเปาเปนจํานวนที่ตางกัน เปนไปไดหรือไมวา เซตของชนิดของ
ธนบัตรในกระเปาของทานและเพื่อนจะเปนเซตที่เทากัน จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ
3. ให A = {1, 2, 3, …, 10}
1) จงยกตัวอยางสับเซตของ A มา 3 เซต
2) {1} เปนสมาชิกของเซต A หรือเปนสับเซตของเซต A
4. ให U = {m, n, o, p, q, r, s, t, u, v, w}
A = {m, n, p, q, r, t}
B = {m, o, p, q, s, u}
C = {m, o, p, r, s, t, u, v}
จงหา A ∩ B , B ∩ C , A ∩ C และ A ∩ B ∩ C
5. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}, B = {2, 4, 6, 8} และ C = {3, 4, 5, 6}
จงหาเซตตอไปนี้พรอมเขียนแผนภาพแทนเซต
1) A ∪ B 5) B – C
2) A ∪ C 6) C – A
3) A ∩ B 7) (A ∪ B) ∪ C
4) B ∪ C 8) A ∪ (B ∪ C)
7
6. จากแผนภาพที่กําหนดให จงแรเงาเพื่อแสดงบริเวณที่แทนเซตตอไปนี้
1) A ∪ B 2) A ∩ B 3) A – B
7. กําหนดให U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} , A = {0, 2, 3} และ B = {0, 2}
จงหา A – B, A′ , B′
8. ให A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
A – B = {1, 2}
A ∩ C = {1, 3, 5}
B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6}
จงหา A, B และ C
9. ให A และ B แทนเซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนเต็ม จงยกตัวอยางของเซต A และ B ในแตละขอ
ที่มีสมบัติดังตอไปนี้
1) A = A – B
2) A ∩ B = ∅
3) A ∪ B = A
10. กําหนดให U = {-5, -4, -3, …, 7, 8}
A = {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 4 } และ B = {x⏐x เปนจํานวนคู}
1) จงเขียนแผนภาพของเวนน – ออยเลอร แสดง U , A และ B
2) จงหา n(A ∩ B) และ n(A ∪ B)
11. จากการสอบถามนักเรียน 80 คน เกี่ยวกับการใชเวลาวาง พบวา มี 15 คน ที่ชอบทั้งเลนกีฬา
เลนดนตรี และดูภาพยนตร มี 40 คน ที่ชอบเลนดนตรีและชอบดูภาพยนตร มี 30 คน ที่ชอบเลน
กีฬาและดูภาพยนตร ถามีนักเรียน 60 คน ที่ชอบดูภาพยนตร มี 50 คน ที่ชอบเลนดนตรีและมี
นักเรียน 40 คน ที่ชอบเลนกีฬา ถามวามีนักเรียนกี่คนที่
1) ชอบเลนกีฬาอยางเดียว 2) ชอบเลนดนตรีอยางเดียว 3) ชอบดูภาพยนตรอยางเดียว
A B
U
8
12. ถาในแตละสัปดาหทานจะตองเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 วัน และเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 วัน และ
จะตองเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษในวันเดียวกันสัปดาหละ 1 วัน ถามวา
1) ทานเรียนวิชาคณิตศาสตรอยางเดียว สัปดาหละกี่วัน
2) ทานเรียนวิชาภาษาอังกฤษอยางเดียว สัปดาหละกี่วัน
3) ถาจํานวนใน 1 สัปดาห หมายถึง 5 วันที่ทานไปโรงเรียน ทานมีวันที่ไมตองเรียนวิชาใด
วิชาหนึ่งในสองวิชานี้หรือไม
ใหเขียนแผนภาพแทนเซตเพื่อหาคําตอบขางตน
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
1. ตัวอยางเซตของสิ่งของ หรือกลุมคนที่ทานพบในชีวิตประจําวัน ไดแก
A = {x⏐x เปนอุปกรณที่ใชในการเย็บผา}
หรือ A = {จักรเย็บผา, เข็มเย็บผา, กรรไกร, ดาย}
B = {x⏐x เปนวิชาที่ตองสอบเขาเรียนคณะวิทยาศาสตรในสถาบันอุดมศึกษา}
หรือ B = {คณิตศาสตร, เคมี, ชีวะ, ฟสิกส, ภาษาอังกฤษ, สังคมศาสตร, ภาษาไทย}
2. ตัวอยางคําตอบ
อรอุมาและสันตินัดไปทานขาวกลางวันที่รานอาหารแหงหนึ่ง โดยอรอุมามีเงินในกระเปา
มูลคา 1,250 บาท สวนสันติมีเงินในกระเปามูลคา 2,100 บาท
ให a แทนธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท
b แทนธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท
c แทนธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท
ให A แทนเซตของชนิดของธนบัตรในกระเปาของอรอุมา
ซึ่งประกอบดวย ธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท 2 ใบ แทนดวย a, a
ธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท 2 ใบ แทนดวย b, b
ธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท 1 ใบ แทนดวย c
ให B แทนเซตของชนิดของธนบัตรในกระเปาของสันติ
ซึ่งประกอบดวย ธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท 3 ใบ แทนดวย a, a, a
ธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท 5 ใบ แทนดวย b, b, b, b, b
ธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท 2 ใบ แทนดวย c, c
จะไดวา A = {a, b, c}
B = {a, b, c}
ดังนั้น A = B
9
3. ให A = {1, 2, 3, …, 10}
1) ตัวอยางสับเซตของเซต A สามเซต ไดแก
(1) B = {1, 2, 3}
(2) C = {8, 9}
(3) D = {5}
2) {1} เปนสับเซตของเซต A
4. ให U = {m, n, o, p, q, r, s, t, u, v, w}
A = {m, n, p, q, r, t}
B = {m, o, p, q, s, u}
C = {m, o, p, r, s, t, u, v}
เขียนสมาชิกของแตละเซตในแผนภาพไดดังนี้
A ∩ B = {m, p, q}
B ∩ C = {m, p, o, s, u}
A ∩ C = {m, p, r, t}
A ∩ B ∩ C = {m, p}
5. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}, B = {2, 4, 6, 8} และ C = {3, 4, 5, 6}
1) A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 6, 8}
A B
C
n q
m
pr t o
s u
v
w
U
1
2 3
4
568
A
B C
U
10
2) A ∪ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
3) A ∩ B = {2, 4}
4) B ∪ C = {2, 3, 4, 5, 6, 8}
5) B – C = {2, 8}
1
2 3
4
568
UA
B C
1
2 3
4
568
UA
B C
1
2 3
4
568
U
A
B C
1
2 3
4
568
UA
B C
11
6) C – A = {5, 6}
7) (A ∪ B) ∪ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
8) A ∪ (B ∪ C) = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8}
6. 1) A ∪ B 2) A ∩ B 3) A – B
1
2 3
4
568
A
B C
U
1
2 3
4
568
A
B C
U
1
2 3
4
568
A
B C
U
A B
U U
A BA B
U
12
7. กําหนดให U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} , A = {0, 2, 3} และ B = {0, 2}
A – B = {3} A′ = {1, 4, 5}
B′ = {1, 3, 4, 5}
8. ให A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
A – B = {1, 2}
A ∩ C = {1, 3, 5}
B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6}
เขียนแผนภาพแทนเซตขางตนไดดังนี้
จากแผนภาพ A = {1, 2, 3, 5, 6}
B = {3, 4, 5, 6}
C = {1, 3, 5}
(อาจมีคําตอบอื่นนอกเหนือจากที่เฉลย)
9. ให A และ B แทนเซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนเต็ม
1) A = A – B
A = {1, 2, 3, 4}
B = {5, 6}
A – B = {1, 2, 3, 4} ซึ่งเทากับเซต A
2) A ∩ B = ∅
A = {1, 2, 3, 4}
B = {7, 8}
A ∩ B = ∅
U
BA
3 0
2
1 4 5U
A B
3
1 4 5
0
2
2 6 4
3
51
A B
C
U
A B
3 0
2
1 4 5 U
13
3) A ∪ B = A
A = {1, 2, 3, 4}
B = {1, 2, 3}
A ∪ B = {1, 2, 3, 4} ซึ่งเทากับเซต A
10. กําหนดให U = {-5, -4, -3, …, 7, 8}
A = {x⏐ x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 4 } หรือ A = {5, 6, 7, 8}
B = {x⏐ x เปนจํานวนคู} หรือ B = {-4, -2, 0, 2, 4, 6, 8}
1) เขียนแผนภาพของเวนน – ออยเลอร แสดง U , A และ B ไดดังนี้
2) จากแผนภาพ
จะได n(A ∩ B) = 2
และ n(A ∪ B) = 9
11. จากการสอบถามนักเรียน 80 คน เกี่ยวกับการใชเวลาวาง พบวา มี 15 คน ที่ชอบทั้งเลนกีฬา
เลนดนตรีและดูภาพยนตร มี 40 คน ที่ชอบเลนดนตรีและชอบดูภาพยนตร มี 30 คน ที่ชอบเลน
กีฬาและดูภาพยนตร ถามีนักเรียน 60 คน ที่ชอบดูภาพยนตร มีนักเรียน 50 คน ที่ชอบเลนดนตรี
และมีนักเรียน 40 คน ที่ชอบเลนกีฬา
ให A แทนนักเรียนที่ชอบเลนกีฬา
B แทนนักเรียนที่ชอบเลนดนตรี
C แทนนักเรียนที่ชอบดูภาพยนตร
จากแผนภาพ พบวา
จํานวนนักเรียนที่ชอบเลนกีฬาอยางเดียว เทากับ 40 – 15 – 15 หรือ 10 คน
จํานวนนักเรียนที่ชอบเลนดนตรีอยางเดียว เทากับ 50 – 15 – 25 หรือ 10 คน
จํานวนนักเรียนที่ชอบดูภาพยนตรอยางเดียว เทากับ 60 – 25 – 15 – 15 หรือ 5 คน
UA
B C
10
15
15
2510 5
U
A B
6
8
5
7
-4 -2
0 2 4
-1 -3 -5
1 3
14
12. ในแตละสัปดาหจะตองเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 วัน และเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 วัน และจะตอง
เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษในวันเดียวกันสัปดาหละ 1 วัน
ให A = {D1, D2, D3} แทนเซตของวันที่ตองเรียนวิชาคณิตศาสตร
B = {D3, D4, D5} แทนเซตของวันที่ตองเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
n(A) = 3 n(B) = 3 n(A ∩ B) = 1
ก. ใชแผนภาพ
จากแผนภาพ n(A ∪ B) = 5
ข. โดยใชสูตร
จากสูตร n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
n(A ∪ B) = 3 + 3 – 1 หรือ 5
1) จํานวนวันที่เรียนวิชาคณิตศาสตรอยางเดียวเทากับ n(A) – n(A ∩ B) = 3 – 1 หรือ 2 วัน
2) จํานวนวันที่เรียนภาษาวิชาอังกฤษอยางเดียวเทากับ n(B) – n(A ∩ B) = 3 – 1 หรือ 2 วัน
3) เนื่องจาก n(A ∪ B) = 5 หมายถึง จํานวนวันที่ตองเรียนวิชาคณิตศาสตร หรือวิชาภาษา
อังกฤษในหนึ่งสัปดาหเทากับ 5
ดังนั้น จึงไมมีวันใดในสัปดาหที่ไมเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษเลย
เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 1.1
1. 1) {จันทบุรี}
2) {a, e, i, o, u}
3) {10, 11, 12, 13, 14, …, 99}
4) {2, 4, 6, 8}
5) {101, 102, 103, …}
6) {-99, -98, -97, …, -1}
7) {4, 5, 6, 7, 8, 9}
8) { } หรือ ∅
A B
D3
D5
D1
D2
D4
U
15
2. 1) B มีสมาชิก 1 จํานวน
2) C มีสมาชิก 7 จํานวน
3) D มีสมาชิก 9 จํานวน
4) G ไมมีสมาชิก หรือจํานวนสมาชิกเทากับศูนย
3. 1) N = {x⏐x เปนจํานวนเต็มคี่บวกตั้งแต 1 ถึง 5}
2) P = {x⏐x เปนจํานวนเต็ม}
3) R = {x⏐x = a2
และ a เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย}
4) T = {x⏐x = 10n และ n เปนจํานวนเต็มบวก}
4. 1) เปนเซตอนันต
2) เปนเซตจํากัด
3) เปนเซตอนันต
4) เปนเซตจํากัด
5) เปนเซตอนันต
6) เปนเซตอนันต
5. 1) เนื่องจาก ไมมีจํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง 3 และ 4
ดังนั้น {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง 3 และ 4} เปนเซตวาง
2) เนื่องจาก ไมมีจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และนอยกวา 2
ดังนั้น {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และนอยกวา 2} เปนเซตวาง
3) เนื่องจาก มีสมาชิก 2 ตัว คือ 5 และ 7
ดังนั้น {x | x เปนจํานวนเฉพาะที่มากกวา 3 และนอยกวา 10} ไมเปนเซตวาง
6. 1) A = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “กรรมกร”} หรือ A = {ก, ร, ม}
B = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “มรรคา”} หรือ B = {ม, ร, ค}
C = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “มกราคม”} หรือ C = {ม, ก, ร, ค}
D = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “รากไม”} หรือ D = {ร, ก, ม}
ดังนั้น A = D
2) E = {7, 14, 21, ..., 343}
F = {x⏐x = 7n และ n เปนจํานวนนับที่มีคานอยกวา 50}
หรือ F = {7, 14, 21, ..., 343}
ดังนั้น E = F
16
3) A = {x⏐x =
n
1
1− และ n เปนจํานวนนับ} หรือ A = { ,...
5
4
,
4
3
,
3
2
,
2
1
,0 }
B = { ,...
5
4
,
4
3
,
3
2
,
2
1
,0 }
ดังนั้น A = B
4) A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {5, 4, 3, 2, 1}
จะเห็นวา สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B
และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A
ดังนั้น A = B
5) C = {0, 1, 3, 7}
D = {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มีคานอยกวา 10} หรือ D = { …, 5, 6, 7, 8, 9}
เนื่องจาก 9 ∉ C แต 9 ∈ D
ดังนั้น C ≠ D
6) E = {12, 14, 16, 18} และ F = {14, 16, 12, 18}
จะเห็นวา สมาชิกทุกตัวของเซต E เปนสมาชิกของเซต F
และ สมาชิกทุกตัวของเซต F เปนสมาชิกของเซต E
ดังนั้น E = F
7) K = {x⏐x เปนจํานวนเต็มคูที่นอยกวา 10} หรือ K = { …, – 2, 0, 2, 4, 6, 8}
L = {2, 4, 6, 8}
เนื่องจาก – 2 ∈ K แต – 2 ∉ L
ดังนั้น K ≠ L
8) M = {x⏐x เปนจํานวนเต็ม และ x2
= 36} หรือ M = {– 6, 6}
N = {6}
เนื่องจาก – 6 ∈ M แต – 6 ∉ N
ดังนั้น M ≠ N
แบบฝกหัด 1.3
1. (1) ผิด (4) ผิด
(2) ถูก (5) ผิด
(3) ถูก (6) ผิด
17
2. (1) สับเซตทั้งหมดของ {1} คือ ∅, {1}
(2) สับเซตทั้งหมดของ {1, 2} คือ ∅, {1}, {2}, {1, 2}
(3) สับเซตทั้งหมดของ {-1 , 0 , 1} คือ ∅, {-1} , {0} , {1} , {-1,0} , {0,1} , {-1,1} , {-1,0,1}
3. (1) เพาเวอรเซตของ {5} คือ {∅, {5}}
(2) เพาเวอรเซตของ {0, 1} คือ {∅, {0}, {1}, {0, 1}}
(3) เพาเวอรเซตของ {2 ,3 ,4} คือ {∅, {2}, {3}, {4}, {2 ,3}, {2 ,4}, {3 ,4}, {2,3,4}}
4. สับเซตทั้งหมดของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {1}, {2}, {3}, {4}
สับเซตทั้งหมดของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว ไดแก {1, 2}, {1, 3}, {1, 4}, {2, 3}, {2, 4}, {3, 4}
5.
1) A = {1, 2, 3, 4, …, 10}
B = {1, 3, 5, 7, 9}
2) A = {1, 2, 3, 4, …, 10}
B = {1, 3, 5, 7, 9}
C = {1, 3, 5}
3) A = {1, 2, 3, 4, …, 10}
B = {1, 3, 5}
C = {2, 4, 6}
U
2 4 6
8 10
1 3 5
7 9
A
B
U2 4 6
8 10
1 3 5
A
BC
7 9
U
7 8 9 10
1 3 5
A
B
2 4 6
C
18
แบบฝกหัด 1.4
1. 1) A = {2, 3, 7} 3) A′ = {2, 3, 6}
2) A = {3, 4, 5} และ B = {1, 3, 5, 7}
2. 1) A ∩ B = ∅ 5) C′ = {0, 1, 2, 7, 8}
2) B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6, 7} 6) C′ ∩ A = {0, 2, 8}
3) B ∩ C = {3, 5} 7) C′ ∩ B = {1, 7}
4) A ∩ C = {4, 6} 8) (A ∩ B) ∪ B = {1, 3, 5, 7}
3.
1) B′
U
A
1 4 5 6
2 3 7
U
A B
2 6
4 3
5
1
7
U
A
2 3 6
1 4
5 7
U
A B
U
A B
19
2) A ∩ B′
3) A′
4) A′ ∪ B
5) A′ ∪ B′
U
BA
U
A B
U
BA
U
A B
20
4.
1) A′ 2) (A ∪ B)′
3) A′ ∪ B 4) A′ ∩ B
5.
จาก n(U ) = 100, n(A) = 40, n(B) = 25 และ n(A ∩ B) = 6 จะได
n(A – B) = n(A) – n(A ∩ B)
= 40 – 6 = 34
U
A B
UA
B
U
BA
U
BA
6
7
8
U
BA
4
5
6
7
8
U
BA 6
7
8
U
A B
1 2
3
4
5
6
8 7
21
n(B – A) = n(B) – n(A ∩ B)
= 25 – 6 = 19
n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
= 40 + 25 – 6 = 59
n(A′) = n(U ) – n(A)
= 100 – 40 = 60
n(B′) = n(U ) – n(B)
= 100 – 25 = 75
n(A ∪ B)′ = n(U ) – n(A ∪ B)
= 100 – 59
= 41
เซต A – B B – A A ∪ B A′ B′ (A ∪ B)′
จํานวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41
6.
กําหนดจํานวนสมาชิกของเซตตาง ๆ ในแผนภาพดังตาราง
เซต U A B C A ∩ B A ∩ C B ∩ C A ∩ B ∩ C
จํานวนสมาชิก 50 25 20 30 12 15 10 5
UA
B
UA
B
UA
B
UA B
C
UA
B
UA
B
22
1) A ∪ C
n(A ∪ C) = n(A) + n(C) – n(A ∩ C)
= 25 + 30 – 15
= 40
2) A ∪ B ∪ C
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B)
– n(A ∩ C) – n(B ∩ C)
+ n(A ∩ B ∩ C)
= 25 + 20 + 30 – 12 – 15 – 10 + 5
= 43
3) (A ∪ B ∪ C)′
n(A ∪ B ∪ C)′ = n(U ) – n (A ∪ B ∪ C)
= 50 – 43
= 7
4) n(B – (A ∪ C)) = n(B) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C)
+ n(A ∩ B ∩ C)
= 20 – 12 – 10 + 5
= 3
5) n((A ∩ B) – C) = n(A ∩ B) – n(A ∩ B ∩ C)
= 12 – 5
= 7
7. ให A แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มชา
B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มกาแฟ
A ∩ B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ
A ∪ B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มชาหรือกาแฟ
n(A) = 60 คน n (A ∩ B) = x คน
n(B) = 70 คน
n (A ∪ B) = 120 คน
U
A B
C U
A B
C
U
A B
C
U
A B
C
U
A B
C
U
A B
C
23
n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
120 = 60 + 70 – x
x = 130 – 120
x = 10
ดังนั้น จํานวนพอบานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟเทากับ 10 คน
8. ให U แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตาง ๆ
A แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ
B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดแขวนเพดาน
A ∩ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ และชนิดแขวนเพดาน
A ∪ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ หรือชนิดแขวนเพดาน
n(A) = 60%
n(B) = 45%
n(A ∩ B) = 15%
n(A ∪ B) = x%
1) จํานวนลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิด หาไดดังนี้
n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) A B
= 60% + 45% – 15%
= 90%
จํานวนลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิด คือ
n(A ∪ B)′ = n( U ) – n(A ∪ B) = 100% – 90% หรือ 10%
2) จํานวนลูกคาที่ใชพัดลมแบบใดแบบหนึ่งเพียงชนิดเดียว หาไดดังนี้
จํานวนลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะเพียงชนิดเดียว คือ
n(A ∪ B) – n(B) = 90% – 45%
= 45%
จํานวนลูกคาที่ใชพัดลมแขวนเพดานเพียงชนิดเดียว คือ
n(A ∪ B) – n(A) = 90% – 60%
= 30%
ดังนั้น ลูกคาที่ใชพัดลมเพียงชนิดเดียว มี 45% + 30% หรือ 75%
UC
A B
U
U
A B
A
B
U
24
9.
A
U
B
ให U แทนเซตของผูปวยทั้งหมดที่ทําการสํารวจ
A แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่
B แทนเซตของผูปวยที่เปนมะเร็งในปอด
A ∪ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่หรือเปนมะเร็งในปอด
A ∩ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งในปอด
(A ∪ B)′ แทนเซตของผูปวยที่ไมสูบบุหรี่ และไมเปนมะเร็งที่ปอด
n ( U ) = 1,000 คน
n(A) = 312 คน
n(B) = 180 คน
n(A ∪ B)′ = 660 คน
n(A ∩ B) = x คน
(A ∪ B)′
A B
U
n(A ∪ B) = n( U ) – n(A ∪ B)′ = 1,000 – 660 = 340
n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B)
340 = 312 + 180 – x
x = 492 – 340 = 152
ดังนั้น จํานวนผูที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งที่ปอดเทากับ 152 คน คิดเปนรอยละ 100
312
152
×
หรือ 48.72% ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด
25
A B
C
U10.
ให U แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่ทําการสํารวจ
A แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตร
B แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาสังคมศึกษา
C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาภาษาไทย
A ∩ B แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและสังคมศึกษา
B ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาสังคมศึกษาและภาษาไทย
A ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย
A ∩ B ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานททั้งสามวิชา
A ∪ B ∪ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา
n (A ) = 37 คน n(A ∩ B) = 15 คน
n(B) = 48 คน n(B ∩ C) = 13 คน
n(C) = 45 คน n(A ∩ C) = 15 คน
n(A ∩ B ∩ C) = 5 คน
n(A ∪ B ∪ C) = x คน
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
x = 37 + 48 + 45 – 15 – 13 – 7 + 5
x = 100
ดังนั้น มีจํานวนผูที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชาเทากับ 100 คน
11. ให U แทนเซตของผูถือหุนในตลาดหลักทรัพยที่ถูกสํารวจทั้งหมด
A แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก
B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข
C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ค
A ∩ B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ข
B ∩ C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข และ ค
A ∩ C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ค
A ∩ B ∩ C แทนเซตของผูถือหุนทั้งสามบริษัท
26
จากจํานวนผูถือหุนที่สํารวจ หาผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของทั้งสามบริษัทไดดังนี้
n (U ) = 3,000 คน
n(A) = 200 คน n(B) = 250 คน n(C) = 300 คน n(A ∩ B) = 50 คน
n(B ∩ C) = 40 คน n(A ∩ C) = 30 คน
n(A ∩ B ∩ C) = 0
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
n(A ∪ B ∪ C) = 200 + 250 + 300 – 50 – 40 – 30 + 0 = 630
จํานวนผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชทั้งสามบริษัทนี้มีจํานวนหาไดจาก
n(A ∪ B ∪ C)′ = n(U ) – n(A ∪ B ∪ C) = 3,000 – 630 = 2,370 คน
12. ให U แทนผูใชบริการขนสงทางรถไฟ รถยนต หรืออื่น ๆ ที่ถูกสํารวจ
A แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟ
B แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถยนต
C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางเรือ
A ∩ B แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟและรถยนต
B ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถยนตและเรือ
A ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟและเรือ
A ∩ B ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทั้งทางรถไฟ รถยนต และเรือ
(A ∪ B ∪ C)′ แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางแบบอื่น ๆ ที่ไมใช รถไฟ รถยนต เรือ
n (U ) = x คน n(A ∩ B) = 50 คน
n(A) = 100 คน n(B ∩ C) = 25 คน
n(B) = 150 คน n(A ∩ C) = 0 คน
n(C) = 200 คน n(A ∩ B ∩ C) = 0 คน
n(A ∪ B ∪ C)′ = 30 คน
UA B
C
27
n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
= 100 + 150 + 200 – 50 – 25 – 0 + 0
= 375 คน
∴ จํานวนผูใชบริการขนสงที่ถูกทําการสํารวจ คือ
n(U ) = n(A ∪ B ∪ C) + n(A ∪ B ∪ C)′
x = 375 + 30 = 405 คน
UA B
C

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
Key mathonet49 21-32
Key mathonet49 21-32Key mathonet49 21-32
Key mathonet49 21-32pooh3829
 

What's hot (8)

68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
Key mathonet49 21-32
Key mathonet49 21-32Key mathonet49 21-32
Key mathonet49 21-32
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 

Similar to Basic m4-1-chapter1

J0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lv
J0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lvJ0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lv
J0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lveakaratkk
 
Book2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathBook2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathberry green
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Focusjung Suchat
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Kasemsan Saensin
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2benjalakpitayaschool
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาkhomAtom
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013Tanyapa Poomkum
 

Similar to Basic m4-1-chapter1 (20)

J0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lv
J0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lvJ0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lv
J0a ru1pz5b aphzgx4jmmocna4u7ozeigtcefw0qcissxaohhjcpcdylyallhq1lv
 
Book2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathBook2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-math
 
Mathจ้ะ
Mathจ้ะMathจ้ะ
Mathจ้ะ
 
Book2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathBook2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-math
 
Book2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathBook2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-math
 
Book2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-mathBook2013 oct 05-math
Book2013 oct 05-math
 
Math
MathMath
Math
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
Pre o net คณิตศาสตร์ ม3
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 2
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013คณิตศาสตร์ 2013
คณิตศาสตร์ 2013
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Basic m4-1-chapter1

  • 1. บทที่ 1 เซต ( 10 ชั่วโมง ) เนื้อหาสาระเรื่อง เซต ถือวาเปนเนื้อหาที่มีความสําคัญตอวิชาคณิตศาสตรเพราะเปน รากฐานและเครื่องมือที่สําคัญในการเรียนรูคณิตศาสตรทุกสาขา เรื่องเซตที่กลาวถึงในหนังสือเรียน จะเปนพื้นฐานที่เพียงพอตอการนําไปใช โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังตอไปนี้ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต สามารถหายูเนียน อินเตอรเซกชัน คอมพลีเมนต และผลตาง ของเซต 2. เขียนแผนภาพแทนเซตและนําไปใชในการแกปญหาที่เกี่ยวกับการหาสมาชิกของเซตได ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
  • 2. 2 ขอเสนอแนะ 1. เนื่องจากสาระการเรียนรูคณิตศาสตรในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปนสาระที่จําเปนสําหรับ ผูเรียนทุกคน สําหรับสาระที่เปนเนื้อหาวิชาที่จัดไวในหนังสือเรียนคณิตศาสตรรายวิชาพื้นฐาน ไดจัดทําไวสําหรับใหผูเรียนที่มีพื้นฐานปานกลางและสูง สามารถอานและทําความเขาใจ ดวยตนเองได สําหรับผูเรียนที่มีพื้นฐานทางคณิตศาสตรไมคอยดี ผูสอนอาจจะตองใชวิธีการ สอนที่ทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูใหไดตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไว และจะตอง ระมัดระวังในการยกตัวอยางที่ไมซับซอนเกินความสามารถของผูเรียน เชน กําหนดใหผูเรียน เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก โดยกําหนดให 1) A = {x⏐x3 = 343} 2) B = {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 5} จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาการหาคําตอบในขอ 1) ผูเรียนจะตองมีความเขาใจในเรื่อง เลขยกกําลังและตองมีความสามารถในการคิดคํานวณมากกวาการหาคําตอบในขอ 2) ซึ่งโดย แทจริงแลวจุดประสงคของการเรียนรูในเรื่องนี้คือ ตองการวัดความรูของผูเรียนวาสามารถเขียน เซตแบบแจกแจงสมาชิกจากเซตที่กําหนดใหแบบบอกเงื่อนไขไดหรือไม แตไมตองการวัดความรู ที่เกี่ยวกับทักษะการคํานวณแตอยางใด ดังนั้นผูสอนจึงควรตองระมัดระวังในการยกตัวอยางใหแก ผูเรียนที่มีพื้นฐานทางคณิตศาสตรไมคอยดีแตสําหรับผูเรียนที่มีความสามารถทางคณิตศาสตรสูง ผูสอนอาจยกตัวอยางที่ซับซอนกวา เพื่อพัฒนาความสามารถของผูเรียนได 2. การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข ควรใหผูเรียนมีอิสระในการตอบ ซึ่งคําตอบของผูเรียนไมจําเปน ตองตรงกับคําตอบที่ผูสอนคิดไว เนื่องจากการบอกเงื่อนไขนั้นสามารถบอกไดหลายแบบ เชน F = {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนคี่} หรือ F = {x⏐x เปนจํานวนคี่บวก} 3. การใชสัญลักษณแทนเซตวาง มีขอควรระวัง ดังนี้ { } และ ∅ เปนสัญลักษณแทนเซตวาง แต {0} ไมเปนเซตวาง เพราะมีสมาชิก 1 ตัว คือ 0 {{ }} ไมเปนเซตวาง เพราะมีสมาชิก 1 ตัว คือ { } เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องนี้ดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางเปรียบเทียบเซตวางกับสิ่งที่เปน รูปธรรม เชน เปรียบเทียบเซตวางกับกลองเปลาซึ่งเหมือนกันในแงที่วา เซตวางคือเซตที่ไมมี สมาชิก และกลองเปลาคือกลองที่ไมมีอะไรบรรจุอยูภายในเลย แตถานํากลองเปลาใบหนึ่งใสลง ไปในกลองเปลาอีกใบหนึ่งแลวจะพบวา กลองเปลาใบหลังจะไมเปนกลองเปลาอีกตอไป ทั้งนี้ เพราะมีกลองเปลาใบแรกบรรจุอยูภายใน
  • 3. 3 4. การสอนเรื่องสมาชิกของเซตและจํานวนสมาชิกของเซต อาจมีตัวอยางเซตที่มีสมาชิกบางตัวเปน เซตบาง เชน {1, 2, {3, 4}} เปนเซตที่มีสมาชิก 3 ตัว คือ 1, 2 และ {3, 4} 5. การสอนเรื่องเซตจํากัดและเซตอนันตนั้น ควรยกตัวอยางเฉพาะเซตที่นาสนใจและมีประโยชน ที่จะทําใหเกิดความเขาใจในเรื่องนี้ไดดีขึ้น เชน เซตของนักเรียนในหองเปนเซตจํากัด เซตของ เสนผมของคนคนหนึ่งเปนเซตจํากัด เซตของจํานวนเต็มที่มีคาระหวาง 0 และ 10 เปนเซต จํากัด เซตของจํานวนเต็มบวกเปนเซตอนันต เซตของจํานวนจริงที่มีคาตั้งแต 0 ถึง 10 เปน เซตอนันต ผูเรียนมักจะเขาใจวา เซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนมาก ๆ เปนเซตอนันต เชน เซตของเสนผม เซตของเม็ดทราย เปนตน แตที่แทจริงแลวเซตในทํานองเดียวกับตัวอยางดังกลาวเปนเซตจํากัด ซึ่งผูสอนอาจอธิบายวา เซตเหลานั้นสามารถนับจํานวนสมาชิกไดและมีสมาชิกไมเกินจํานวนนับ จํานวนหนึ่ง ดังนั้น เราสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซตนั้นได อยางไรก็ดีในการสอนผูสอน ควรหลีกเลี่ยงการยกตัวอยางเซตประเภทนี้ แตถาเลี่ยงไมไดก็ควรชี้แจงใหผูเรียนเขาใจใหถูกตอง วาเปนเซตจํากัดที่มีจํานวนสมาชิกมากมายไมสะดวกแกการนับ 6. ในการกลาวถึงสมาชิกในเซตครั้งใด ถากําหนดเอกภพสัมพัทธใหแลว จะกลาวถึงสิ่งใด นอกเหนือไปจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธไมได (ผูสอนควรจะชี้แจงดวยวา เมื่อกลาวถึงเซต ของจํานวน ถาไมไดกลาวถึงเอกภพสัมพัทธไวใหถือวา เอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง) 7. การเขียนแผนภาพแทนเซตนั้นในหนังสือเรียนมักจะใชรูปวงรี หรือรูปวงกลม ซึ่งไดกลาวไวใน หนังสือเรียนแลวเชนกันวา จะเปนรูปใดก็ไดที่มีลักษณะเปนรูปปด ดังนั้น ผูเรียนอาจเขียนแทน เซตโดยใชรูป ∆ หรือ หรือรูปปดใดก็ได 8. ในการแกโจทยปญหาที่เกี่ยวกับยูเนียน อินเตอรเซกชัน และคอมพลีเมนตของเซตจํากัด ควรให ผูเรียนเขียนแผนภาพของเวนน - ออยเลอร กํากับดวยทุกครั้ง เพราะการเขียนแผนภาพจะชวยให ผูเรียนไดเห็นแนวทางในการแกปญหาอีกทั้งยังเปนพื้นฐานตอการศึกษาสาระอื่นๆของคณิตศาสตร
  • 4. 4 กิจกรรมเสนอแนะ ผูสอนอาจใชกิจกรรมตอไปนี้ประกอบการเรียนการสอนเรื่อง แผนภาพของเวนน-ออยเลอร หรือใหผูเรียนแกปญหาในกิจกรรมหลังจากเรียนเกี่ยวกับการดําเนินการของเซตแลว ผูสอนอาจนําเสนอ เปนใบกิจกรรม โดยใหผูเรียนทําเปนกลุมหรือเดี่ยว ซึ่งขึ้นอยูกับความเหมาะสมของผูเรียน ในกิจกรรมนี้มุงหวังใหผูเรียนสามารถอธิบายวิธีการหาคําตอบหรือวิธีการแกปญหา ซึ่งจะ เปนการเสริมสรางทักษะกระบวนการแกปญหาและการสื่อสารของผูเรียน กิจกรรม 1. จงเขียนจํานวน 1 ถึง 12 ลงในแผนภาพแทนเซต A, B และ C โดยมีเงื่อนไขดังนี้ 1) จํานวนคี่เปนสมาชิกของเซต A 2) จํานวนคูเปนสมาชิกของเซต B 3) จํานวนที่หารดวย 3 ลงตัว เปนสมาชิกของเซต C แนวทางการหาคําตอบ 1) เขียนเซต A, B, C แบบแจกแจงสมาชิก ไดดังนี้ A = { 1, 3, 5, 7, 9, 11 } B = { 2, 4, 6, 8, 10, 12 } C = { 3, 6, 9, 12 } 2) นําเซตแตละเซตเขียนลงในแผนภาพที่กําหนดให โดยพิจารณาวาแตละเซตมีสมาชิกรวม กันหรือไม ซึ่งจะไดคําตอบดังนี้ A B C U A B C 1 5 7 11 2 4 10 86 12 3 9 U
  • 5. 5 2. จงเขียนจํานวน 4 ถึง 10 ในแผนภาพแทนเซต A, B และ C โดยใหผลรวมของจํานวนที่เปน สมาชิกในแตละเซตเทากับ 30 และอธิบายวิธีการหาคําตอบ แนวทางการหาคําตอบ จากเงื่อนไขที่โจทยกําหนดวา แตละเซตตองมีผลรวมของจํานวนที่เปนสมาชิกของเซต เทากับ 30 ดังนั้นสามารถหาเซต A, B, C ไดดังนี้ จากแผนภาพพบวา เซต A ประกอบดวยสมาชิก 2 ตัว คือ 1, 2 ซึ่งมีผลรวมเทากับ 3 แตเงื่อนไขตองการใหมีผลรวมของจํานวนที่เปนสมาชิกเทากับ 30 ดังนั้นตองหาสมาชิกที่เหลือของ เซต A ซึ่งมีผลรวมเทากับ 27 ดังรูป (1) หรือ (2) (1) (2) สวนการหาสมาชิกของ เซต B และ เซต C ก็ทําไดในทํานองเดียวกัน โดยจะไดคําตอบ ดังรูป (3) หรือ (4) (3) (4) A B C 1 2 3 U A B C 10 1 58 6 9 2 4 7 3 U A B C 10 1 7 8 6 9 2 4 3 U 5 A B C 10 1 8 9 2 U A B C 10 1 8 9 2 U
  • 6. 6 แบบทดสอบประจําบท แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่องเซต ผูสอนสามารถเลือกและปรับแบบทดสอบ ใหเหมาะสมกับผูเรียนได ตัวอยางแบบทดสอบ 1. จงยกตัวอยางเซตของสิ่งของหรือกลุมคนที่ทานพบในชีวิตประจําวันมา 2 เซต โดยเขียนแบบ แจกแจงสมาชิก และเขียนแบบบอกเงื่อนไข 2. ถาทานและเพื่อนมีเงินในกระเปาเปนจํานวนที่ตางกัน เปนไปไดหรือไมวา เซตของชนิดของ ธนบัตรในกระเปาของทานและเพื่อนจะเปนเซตที่เทากัน จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ 3. ให A = {1, 2, 3, …, 10} 1) จงยกตัวอยางสับเซตของ A มา 3 เซต 2) {1} เปนสมาชิกของเซต A หรือเปนสับเซตของเซต A 4. ให U = {m, n, o, p, q, r, s, t, u, v, w} A = {m, n, p, q, r, t} B = {m, o, p, q, s, u} C = {m, o, p, r, s, t, u, v} จงหา A ∩ B , B ∩ C , A ∩ C และ A ∩ B ∩ C 5. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}, B = {2, 4, 6, 8} และ C = {3, 4, 5, 6} จงหาเซตตอไปนี้พรอมเขียนแผนภาพแทนเซต 1) A ∪ B 5) B – C 2) A ∪ C 6) C – A 3) A ∩ B 7) (A ∪ B) ∪ C 4) B ∪ C 8) A ∪ (B ∪ C)
  • 7. 7 6. จากแผนภาพที่กําหนดให จงแรเงาเพื่อแสดงบริเวณที่แทนเซตตอไปนี้ 1) A ∪ B 2) A ∩ B 3) A – B 7. กําหนดให U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} , A = {0, 2, 3} และ B = {0, 2} จงหา A – B, A′ , B′ 8. ให A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6} A – B = {1, 2} A ∩ C = {1, 3, 5} B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6} จงหา A, B และ C 9. ให A และ B แทนเซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนเต็ม จงยกตัวอยางของเซต A และ B ในแตละขอ ที่มีสมบัติดังตอไปนี้ 1) A = A – B 2) A ∩ B = ∅ 3) A ∪ B = A 10. กําหนดให U = {-5, -4, -3, …, 7, 8} A = {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 4 } และ B = {x⏐x เปนจํานวนคู} 1) จงเขียนแผนภาพของเวนน – ออยเลอร แสดง U , A และ B 2) จงหา n(A ∩ B) และ n(A ∪ B) 11. จากการสอบถามนักเรียน 80 คน เกี่ยวกับการใชเวลาวาง พบวา มี 15 คน ที่ชอบทั้งเลนกีฬา เลนดนตรี และดูภาพยนตร มี 40 คน ที่ชอบเลนดนตรีและชอบดูภาพยนตร มี 30 คน ที่ชอบเลน กีฬาและดูภาพยนตร ถามีนักเรียน 60 คน ที่ชอบดูภาพยนตร มี 50 คน ที่ชอบเลนดนตรีและมี นักเรียน 40 คน ที่ชอบเลนกีฬา ถามวามีนักเรียนกี่คนที่ 1) ชอบเลนกีฬาอยางเดียว 2) ชอบเลนดนตรีอยางเดียว 3) ชอบดูภาพยนตรอยางเดียว A B U
  • 8. 8 12. ถาในแตละสัปดาหทานจะตองเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 วัน และเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 วัน และ จะตองเรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษในวันเดียวกันสัปดาหละ 1 วัน ถามวา 1) ทานเรียนวิชาคณิตศาสตรอยางเดียว สัปดาหละกี่วัน 2) ทานเรียนวิชาภาษาอังกฤษอยางเดียว สัปดาหละกี่วัน 3) ถาจํานวนใน 1 สัปดาห หมายถึง 5 วันที่ทานไปโรงเรียน ทานมีวันที่ไมตองเรียนวิชาใด วิชาหนึ่งในสองวิชานี้หรือไม ใหเขียนแผนภาพแทนเซตเพื่อหาคําตอบขางตน เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ 1. ตัวอยางเซตของสิ่งของ หรือกลุมคนที่ทานพบในชีวิตประจําวัน ไดแก A = {x⏐x เปนอุปกรณที่ใชในการเย็บผา} หรือ A = {จักรเย็บผา, เข็มเย็บผา, กรรไกร, ดาย} B = {x⏐x เปนวิชาที่ตองสอบเขาเรียนคณะวิทยาศาสตรในสถาบันอุดมศึกษา} หรือ B = {คณิตศาสตร, เคมี, ชีวะ, ฟสิกส, ภาษาอังกฤษ, สังคมศาสตร, ภาษาไทย} 2. ตัวอยางคําตอบ อรอุมาและสันตินัดไปทานขาวกลางวันที่รานอาหารแหงหนึ่ง โดยอรอุมามีเงินในกระเปา มูลคา 1,250 บาท สวนสันติมีเงินในกระเปามูลคา 2,100 บาท ให a แทนธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท b แทนธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท c แทนธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท ให A แทนเซตของชนิดของธนบัตรในกระเปาของอรอุมา ซึ่งประกอบดวย ธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท 2 ใบ แทนดวย a, a ธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท 2 ใบ แทนดวย b, b ธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท 1 ใบ แทนดวย c ให B แทนเซตของชนิดของธนบัตรในกระเปาของสันติ ซึ่งประกอบดวย ธนบัตรชนิดใบละ 500 บาท 3 ใบ แทนดวย a, a, a ธนบัตรชนิดใบละ 100 บาท 5 ใบ แทนดวย b, b, b, b, b ธนบัตรชนิดใบละ 50 บาท 2 ใบ แทนดวย c, c จะไดวา A = {a, b, c} B = {a, b, c} ดังนั้น A = B
  • 9. 9 3. ให A = {1, 2, 3, …, 10} 1) ตัวอยางสับเซตของเซต A สามเซต ไดแก (1) B = {1, 2, 3} (2) C = {8, 9} (3) D = {5} 2) {1} เปนสับเซตของเซต A 4. ให U = {m, n, o, p, q, r, s, t, u, v, w} A = {m, n, p, q, r, t} B = {m, o, p, q, s, u} C = {m, o, p, r, s, t, u, v} เขียนสมาชิกของแตละเซตในแผนภาพไดดังนี้ A ∩ B = {m, p, q} B ∩ C = {m, p, o, s, u} A ∩ C = {m, p, r, t} A ∩ B ∩ C = {m, p} 5. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4}, B = {2, 4, 6, 8} และ C = {3, 4, 5, 6} 1) A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 6, 8} A B C n q m pr t o s u v w U 1 2 3 4 568 A B C U
  • 10. 10 2) A ∪ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6} 3) A ∩ B = {2, 4} 4) B ∪ C = {2, 3, 4, 5, 6, 8} 5) B – C = {2, 8} 1 2 3 4 568 UA B C 1 2 3 4 568 UA B C 1 2 3 4 568 U A B C 1 2 3 4 568 UA B C
  • 11. 11 6) C – A = {5, 6} 7) (A ∪ B) ∪ C = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8} 8) A ∪ (B ∪ C) = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 8} 6. 1) A ∪ B 2) A ∩ B 3) A – B 1 2 3 4 568 A B C U 1 2 3 4 568 A B C U 1 2 3 4 568 A B C U A B U U A BA B U
  • 12. 12 7. กําหนดให U = {0, 1, 2, 3, 4, 5} , A = {0, 2, 3} และ B = {0, 2} A – B = {3} A′ = {1, 4, 5} B′ = {1, 3, 4, 5} 8. ให A ∪ B = {1, 2, 3, 4, 5, 6} A – B = {1, 2} A ∩ C = {1, 3, 5} B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6} เขียนแผนภาพแทนเซตขางตนไดดังนี้ จากแผนภาพ A = {1, 2, 3, 5, 6} B = {3, 4, 5, 6} C = {1, 3, 5} (อาจมีคําตอบอื่นนอกเหนือจากที่เฉลย) 9. ให A และ B แทนเซตที่มีสมาชิกเปนจํานวนเต็ม 1) A = A – B A = {1, 2, 3, 4} B = {5, 6} A – B = {1, 2, 3, 4} ซึ่งเทากับเซต A 2) A ∩ B = ∅ A = {1, 2, 3, 4} B = {7, 8} A ∩ B = ∅ U BA 3 0 2 1 4 5U A B 3 1 4 5 0 2 2 6 4 3 51 A B C U A B 3 0 2 1 4 5 U
  • 13. 13 3) A ∪ B = A A = {1, 2, 3, 4} B = {1, 2, 3} A ∪ B = {1, 2, 3, 4} ซึ่งเทากับเซต A 10. กําหนดให U = {-5, -4, -3, …, 7, 8} A = {x⏐ x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 4 } หรือ A = {5, 6, 7, 8} B = {x⏐ x เปนจํานวนคู} หรือ B = {-4, -2, 0, 2, 4, 6, 8} 1) เขียนแผนภาพของเวนน – ออยเลอร แสดง U , A และ B ไดดังนี้ 2) จากแผนภาพ จะได n(A ∩ B) = 2 และ n(A ∪ B) = 9 11. จากการสอบถามนักเรียน 80 คน เกี่ยวกับการใชเวลาวาง พบวา มี 15 คน ที่ชอบทั้งเลนกีฬา เลนดนตรีและดูภาพยนตร มี 40 คน ที่ชอบเลนดนตรีและชอบดูภาพยนตร มี 30 คน ที่ชอบเลน กีฬาและดูภาพยนตร ถามีนักเรียน 60 คน ที่ชอบดูภาพยนตร มีนักเรียน 50 คน ที่ชอบเลนดนตรี และมีนักเรียน 40 คน ที่ชอบเลนกีฬา ให A แทนนักเรียนที่ชอบเลนกีฬา B แทนนักเรียนที่ชอบเลนดนตรี C แทนนักเรียนที่ชอบดูภาพยนตร จากแผนภาพ พบวา จํานวนนักเรียนที่ชอบเลนกีฬาอยางเดียว เทากับ 40 – 15 – 15 หรือ 10 คน จํานวนนักเรียนที่ชอบเลนดนตรีอยางเดียว เทากับ 50 – 15 – 25 หรือ 10 คน จํานวนนักเรียนที่ชอบดูภาพยนตรอยางเดียว เทากับ 60 – 25 – 15 – 15 หรือ 5 คน UA B C 10 15 15 2510 5 U A B 6 8 5 7 -4 -2 0 2 4 -1 -3 -5 1 3
  • 14. 14 12. ในแตละสัปดาหจะตองเรียนวิชาคณิตศาสตร 3 วัน และเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3 วัน และจะตอง เรียนทั้งวิชาคณิตศาสตรและวิชาภาษาอังกฤษในวันเดียวกันสัปดาหละ 1 วัน ให A = {D1, D2, D3} แทนเซตของวันที่ตองเรียนวิชาคณิตศาสตร B = {D3, D4, D5} แทนเซตของวันที่ตองเรียนวิชาภาษาอังกฤษ n(A) = 3 n(B) = 3 n(A ∩ B) = 1 ก. ใชแผนภาพ จากแผนภาพ n(A ∪ B) = 5 ข. โดยใชสูตร จากสูตร n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) n(A ∪ B) = 3 + 3 – 1 หรือ 5 1) จํานวนวันที่เรียนวิชาคณิตศาสตรอยางเดียวเทากับ n(A) – n(A ∩ B) = 3 – 1 หรือ 2 วัน 2) จํานวนวันที่เรียนภาษาวิชาอังกฤษอยางเดียวเทากับ n(B) – n(A ∩ B) = 3 – 1 หรือ 2 วัน 3) เนื่องจาก n(A ∪ B) = 5 หมายถึง จํานวนวันที่ตองเรียนวิชาคณิตศาสตร หรือวิชาภาษา อังกฤษในหนึ่งสัปดาหเทากับ 5 ดังนั้น จึงไมมีวันใดในสัปดาหที่ไมเรียนวิชาคณิตศาสตรหรือวิชาภาษาอังกฤษเลย เฉลยแบบฝกหัด แบบฝกหัด 1.1 1. 1) {จันทบุรี} 2) {a, e, i, o, u} 3) {10, 11, 12, 13, 14, …, 99} 4) {2, 4, 6, 8} 5) {101, 102, 103, …} 6) {-99, -98, -97, …, -1} 7) {4, 5, 6, 7, 8, 9} 8) { } หรือ ∅ A B D3 D5 D1 D2 D4 U
  • 15. 15 2. 1) B มีสมาชิก 1 จํานวน 2) C มีสมาชิก 7 จํานวน 3) D มีสมาชิก 9 จํานวน 4) G ไมมีสมาชิก หรือจํานวนสมาชิกเทากับศูนย 3. 1) N = {x⏐x เปนจํานวนเต็มคี่บวกตั้งแต 1 ถึง 5} 2) P = {x⏐x เปนจํานวนเต็ม} 3) R = {x⏐x = a2 และ a เปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย} 4) T = {x⏐x = 10n และ n เปนจํานวนเต็มบวก} 4. 1) เปนเซตอนันต 2) เปนเซตจํากัด 3) เปนเซตอนันต 4) เปนเซตจํากัด 5) เปนเซตอนันต 6) เปนเซตอนันต 5. 1) เนื่องจาก ไมมีจํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง 3 และ 4 ดังนั้น {x⏐x เปนจํานวนเต็มบวกที่อยูระหวาง 3 และ 4} เปนเซตวาง 2) เนื่องจาก ไมมีจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และนอยกวา 2 ดังนั้น {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และนอยกวา 2} เปนเซตวาง 3) เนื่องจาก มีสมาชิก 2 ตัว คือ 5 และ 7 ดังนั้น {x | x เปนจํานวนเฉพาะที่มากกวา 3 และนอยกวา 10} ไมเปนเซตวาง 6. 1) A = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “กรรมกร”} หรือ A = {ก, ร, ม} B = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “มรรคา”} หรือ B = {ม, ร, ค} C = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “มกราคม”} หรือ C = {ม, ก, ร, ค} D = {x⏐x แทนพยัญชนะในคํา “รากไม”} หรือ D = {ร, ก, ม} ดังนั้น A = D 2) E = {7, 14, 21, ..., 343} F = {x⏐x = 7n และ n เปนจํานวนนับที่มีคานอยกวา 50} หรือ F = {7, 14, 21, ..., 343} ดังนั้น E = F
  • 16. 16 3) A = {x⏐x = n 1 1− และ n เปนจํานวนนับ} หรือ A = { ,... 5 4 , 4 3 , 3 2 , 2 1 ,0 } B = { ,... 5 4 , 4 3 , 3 2 , 2 1 ,0 } ดังนั้น A = B 4) A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {5, 4, 3, 2, 1} จะเห็นวา สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และ สมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A ดังนั้น A = B 5) C = {0, 1, 3, 7} D = {x⏐x เปนจํานวนเต็มที่มีคานอยกวา 10} หรือ D = { …, 5, 6, 7, 8, 9} เนื่องจาก 9 ∉ C แต 9 ∈ D ดังนั้น C ≠ D 6) E = {12, 14, 16, 18} และ F = {14, 16, 12, 18} จะเห็นวา สมาชิกทุกตัวของเซต E เปนสมาชิกของเซต F และ สมาชิกทุกตัวของเซต F เปนสมาชิกของเซต E ดังนั้น E = F 7) K = {x⏐x เปนจํานวนเต็มคูที่นอยกวา 10} หรือ K = { …, – 2, 0, 2, 4, 6, 8} L = {2, 4, 6, 8} เนื่องจาก – 2 ∈ K แต – 2 ∉ L ดังนั้น K ≠ L 8) M = {x⏐x เปนจํานวนเต็ม และ x2 = 36} หรือ M = {– 6, 6} N = {6} เนื่องจาก – 6 ∈ M แต – 6 ∉ N ดังนั้น M ≠ N แบบฝกหัด 1.3 1. (1) ผิด (4) ผิด (2) ถูก (5) ผิด (3) ถูก (6) ผิด
  • 17. 17 2. (1) สับเซตทั้งหมดของ {1} คือ ∅, {1} (2) สับเซตทั้งหมดของ {1, 2} คือ ∅, {1}, {2}, {1, 2} (3) สับเซตทั้งหมดของ {-1 , 0 , 1} คือ ∅, {-1} , {0} , {1} , {-1,0} , {0,1} , {-1,1} , {-1,0,1} 3. (1) เพาเวอรเซตของ {5} คือ {∅, {5}} (2) เพาเวอรเซตของ {0, 1} คือ {∅, {0}, {1}, {0, 1}} (3) เพาเวอรเซตของ {2 ,3 ,4} คือ {∅, {2}, {3}, {4}, {2 ,3}, {2 ,4}, {3 ,4}, {2,3,4}} 4. สับเซตทั้งหมดของ A ที่มีสมาชิก 1 ตัว ไดแก {1}, {2}, {3}, {4} สับเซตทั้งหมดของ A ที่มีสมาชิก 2 ตัว ไดแก {1, 2}, {1, 3}, {1, 4}, {2, 3}, {2, 4}, {3, 4} 5. 1) A = {1, 2, 3, 4, …, 10} B = {1, 3, 5, 7, 9} 2) A = {1, 2, 3, 4, …, 10} B = {1, 3, 5, 7, 9} C = {1, 3, 5} 3) A = {1, 2, 3, 4, …, 10} B = {1, 3, 5} C = {2, 4, 6} U 2 4 6 8 10 1 3 5 7 9 A B U2 4 6 8 10 1 3 5 A BC 7 9 U 7 8 9 10 1 3 5 A B 2 4 6 C
  • 18. 18 แบบฝกหัด 1.4 1. 1) A = {2, 3, 7} 3) A′ = {2, 3, 6} 2) A = {3, 4, 5} และ B = {1, 3, 5, 7} 2. 1) A ∩ B = ∅ 5) C′ = {0, 1, 2, 7, 8} 2) B ∪ C = {1, 3, 4, 5, 6, 7} 6) C′ ∩ A = {0, 2, 8} 3) B ∩ C = {3, 5} 7) C′ ∩ B = {1, 7} 4) A ∩ C = {4, 6} 8) (A ∩ B) ∪ B = {1, 3, 5, 7} 3. 1) B′ U A 1 4 5 6 2 3 7 U A B 2 6 4 3 5 1 7 U A 2 3 6 1 4 5 7 U A B U A B
  • 19. 19 2) A ∩ B′ 3) A′ 4) A′ ∪ B 5) A′ ∪ B′ U BA U A B U BA U A B
  • 20. 20 4. 1) A′ 2) (A ∪ B)′ 3) A′ ∪ B 4) A′ ∩ B 5. จาก n(U ) = 100, n(A) = 40, n(B) = 25 และ n(A ∩ B) = 6 จะได n(A – B) = n(A) – n(A ∩ B) = 40 – 6 = 34 U A B UA B U BA U BA 6 7 8 U BA 4 5 6 7 8 U BA 6 7 8 U A B 1 2 3 4 5 6 8 7
  • 21. 21 n(B – A) = n(B) – n(A ∩ B) = 25 – 6 = 19 n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) = 40 + 25 – 6 = 59 n(A′) = n(U ) – n(A) = 100 – 40 = 60 n(B′) = n(U ) – n(B) = 100 – 25 = 75 n(A ∪ B)′ = n(U ) – n(A ∪ B) = 100 – 59 = 41 เซต A – B B – A A ∪ B A′ B′ (A ∪ B)′ จํานวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41 6. กําหนดจํานวนสมาชิกของเซตตาง ๆ ในแผนภาพดังตาราง เซต U A B C A ∩ B A ∩ C B ∩ C A ∩ B ∩ C จํานวนสมาชิก 50 25 20 30 12 15 10 5 UA B UA B UA B UA B C UA B UA B
  • 22. 22 1) A ∪ C n(A ∪ C) = n(A) + n(C) – n(A ∩ C) = 25 + 30 – 15 = 40 2) A ∪ B ∪ C n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(A ∩ C) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) = 25 + 20 + 30 – 12 – 15 – 10 + 5 = 43 3) (A ∪ B ∪ C)′ n(A ∪ B ∪ C)′ = n(U ) – n (A ∪ B ∪ C) = 50 – 43 = 7 4) n(B – (A ∪ C)) = n(B) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) = 20 – 12 – 10 + 5 = 3 5) n((A ∩ B) – C) = n(A ∩ B) – n(A ∩ B ∩ C) = 12 – 5 = 7 7. ให A แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มชา B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มกาแฟ A ∩ B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟ A ∪ B แทนเซตของพอบานที่ชอบดื่มชาหรือกาแฟ n(A) = 60 คน n (A ∩ B) = x คน n(B) = 70 คน n (A ∪ B) = 120 คน U A B C U A B C U A B C U A B C U A B C U A B C
  • 23. 23 n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) 120 = 60 + 70 – x x = 130 – 120 x = 10 ดังนั้น จํานวนพอบานที่ชอบดื่มทั้งชาและกาแฟเทากับ 10 คน 8. ให U แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตาง ๆ A แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดแขวนเพดาน A ∩ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ และชนิดแขวนเพดาน A ∪ B แทนเซตของลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะ หรือชนิดแขวนเพดาน n(A) = 60% n(B) = 45% n(A ∩ B) = 15% n(A ∪ B) = x% 1) จํานวนลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิด หาไดดังนี้ n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) A B = 60% + 45% – 15% = 90% จํานวนลูกคาที่ไมใชพัดลมทั้งสองชนิด คือ n(A ∪ B)′ = n( U ) – n(A ∪ B) = 100% – 90% หรือ 10% 2) จํานวนลูกคาที่ใชพัดลมแบบใดแบบหนึ่งเพียงชนิดเดียว หาไดดังนี้ จํานวนลูกคาที่ใชพัดลมชนิดตั้งโตะเพียงชนิดเดียว คือ n(A ∪ B) – n(B) = 90% – 45% = 45% จํานวนลูกคาที่ใชพัดลมแขวนเพดานเพียงชนิดเดียว คือ n(A ∪ B) – n(A) = 90% – 60% = 30% ดังนั้น ลูกคาที่ใชพัดลมเพียงชนิดเดียว มี 45% + 30% หรือ 75% UC A B U U A B A B U
  • 24. 24 9. A U B ให U แทนเซตของผูปวยทั้งหมดที่ทําการสํารวจ A แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่ B แทนเซตของผูปวยที่เปนมะเร็งในปอด A ∪ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่หรือเปนมะเร็งในปอด A ∩ B แทนเซตของผูปวยที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งในปอด (A ∪ B)′ แทนเซตของผูปวยที่ไมสูบบุหรี่ และไมเปนมะเร็งที่ปอด n ( U ) = 1,000 คน n(A) = 312 คน n(B) = 180 คน n(A ∪ B)′ = 660 คน n(A ∩ B) = x คน (A ∪ B)′ A B U n(A ∪ B) = n( U ) – n(A ∪ B)′ = 1,000 – 660 = 340 n(A ∪ B) = n(A) + n(B) – n(A ∩ B) 340 = 312 + 180 – x x = 492 – 340 = 152 ดังนั้น จํานวนผูที่สูบบุหรี่และเปนมะเร็งที่ปอดเทากับ 152 คน คิดเปนรอยละ 100 312 152 × หรือ 48.72% ของจํานวนผูสูบบุหรี่ทั้งหมด
  • 25. 25 A B C U10. ให U แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่ทําการสํารวจ A แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตร B แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาสังคมศึกษา C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาภาษาไทย A ∩ B แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและสังคมศึกษา B ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาสังคมศึกษาและภาษาไทย A ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานวิชาคณิตศาสตรและภาษาไทย A ∩ B ∩ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานททั้งสามวิชา A ∪ B ∪ C แทนเซตของนักเรียนมัธยมปลายที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชา n (A ) = 37 คน n(A ∩ B) = 15 คน n(B) = 48 คน n(B ∩ C) = 13 คน n(C) = 45 คน n(A ∩ C) = 15 คน n(A ∩ B ∩ C) = 5 คน n(A ∪ B ∪ C) = x คน n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) x = 37 + 48 + 45 – 15 – 13 – 7 + 5 x = 100 ดังนั้น มีจํานวนผูที่สอบผานอยางนอยหนึ่งวิชาเทากับ 100 คน 11. ให U แทนเซตของผูถือหุนในตลาดหลักทรัพยที่ถูกสํารวจทั้งหมด A แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ค A ∩ B แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ข B ∩ C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ข และ ค A ∩ C แทนเซตของผูถือหุนบริษัท ก และ ค A ∩ B ∩ C แทนเซตของผูถือหุนทั้งสามบริษัท
  • 26. 26 จากจํานวนผูถือหุนที่สํารวจ หาผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชหุนของทั้งสามบริษัทไดดังนี้ n (U ) = 3,000 คน n(A) = 200 คน n(B) = 250 คน n(C) = 300 คน n(A ∩ B) = 50 คน n(B ∩ C) = 40 คน n(A ∩ C) = 30 คน n(A ∩ B ∩ C) = 0 n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) n(A ∪ B ∪ C) = 200 + 250 + 300 – 50 – 40 – 30 + 0 = 630 จํานวนผูถือหุนบริษัทอื่น ๆ ที่ไมใชทั้งสามบริษัทนี้มีจํานวนหาไดจาก n(A ∪ B ∪ C)′ = n(U ) – n(A ∪ B ∪ C) = 3,000 – 630 = 2,370 คน 12. ให U แทนผูใชบริการขนสงทางรถไฟ รถยนต หรืออื่น ๆ ที่ถูกสํารวจ A แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟ B แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถยนต C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางเรือ A ∩ B แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟและรถยนต B ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถยนตและเรือ A ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางรถไฟและเรือ A ∩ B ∩ C แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทั้งทางรถไฟ รถยนต และเรือ (A ∪ B ∪ C)′ แทนจํานวนผูใชบริการขนสงทางแบบอื่น ๆ ที่ไมใช รถไฟ รถยนต เรือ n (U ) = x คน n(A ∩ B) = 50 คน n(A) = 100 คน n(B ∩ C) = 25 คน n(B) = 150 คน n(A ∩ C) = 0 คน n(C) = 200 คน n(A ∩ B ∩ C) = 0 คน n(A ∪ B ∪ C)′ = 30 คน UA B C
  • 27. 27 n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(B ∩ C) – n(A ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C) = 100 + 150 + 200 – 50 – 25 – 0 + 0 = 375 คน ∴ จํานวนผูใชบริการขนสงที่ถูกทําการสํารวจ คือ n(U ) = n(A ∪ B ∪ C) + n(A ∪ B ∪ C)′ x = 375 + 30 = 405 คน UA B C