SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์                           ครั้งที่ 1 ปี 2553

1. ตอบข้อ 3
   มาดูข้อ 1.กันก่อนครับ A-B คือตัวที่อยูใน A แต่ไม่อยูใน B นั่นคือ A-B = {1,2,3,4,5} ซึ่งมีสมาชิก 5 ตัว ดังนั้นข้อ 1 จึงถูกต้อง
                                            ่           ่
   ต่อมาเรามาดูข้อ 2 กัน B-A คือตัวที่อยูใน B แต่ไม่อยูใน A นั่นคือเราต้องตัด 6,7,8,…. ออกจาก B ทั้งหมด ทาให้ B-A =
                                                ่            ่
   {{1,2},{3,4,5}} ซึ่งมีสมาชิก 2 ตัว ดังนั้นสมาชิกของเพาเวอร์เซตของ B-A เท่ากับ 22 = 4 สรุปว่าข้อ 2 ก็ยังถูกต้อง
     มาดูข้อ 3. (A-B) (B-A) = {1,2,3,4,5,{1,2},{3,4,5}} มีสมาชิกทังหมด 7 ตัว ซึ่งไม่ใช่จานวนคู่ ดังนั้นข้อ 3 ผิด ฮั่นแน่ เราเจอละ
                                                                       ้
     ตอบข้อนี้ได้เลย ถ้าขยันหน่อยก็ดูข้อ 4 ต่อกันเลยครับ A B = {6,7,8,…} เป็นจานวนนับที่มากกว่า 5 ดังนั้นข้อ 4 ถูก
2.   ตอบข้อ 3
     เรามาพิจารณาสิ่งทีโจทย์ให้มาคือ 1 เหตุ และ 1 ผล
                          ่
     เหตุ : เห็ดเป็นพืชมีดอก          ผล : เห็ดเป็นพืชชั้นสูง เราจะสังเกตได้ว่ามีอยู่ 3 คาได้แก่ เห็ด พืชมีดอก และพืชชั้นสูง แต่ทแน่ๆ
                                                                                                                                   ี่
     ตอนนี้เรารู้ว่า เห็ดเป็นพืชมีดอก ถ้าเราอยากจะให้เห็ดเป็นพืชชั้นสูงด้วย เราต้องกาหนดว่าพืชมีดอกทุกชนิดจะต้องเป็นพืชชั้นสูง
     ดังนั้นเราตอบข้อ 3
3.   ตอบข้อ 1
     ทศนิยมไม่รจบมี 2 ประเภทคือ
                  ู้
     หนึ่ง --- ทศนิยมไม่รจบแบบซ้า (หรือแบบมีรูปแบบ) เช่น 0.33333…. , 0.535353… ซึ่งเป็นจานวนตรรกยะ
                            ู้
     สอง --- ทศนิยมไม่รู้จบแบบไม่ซ้าหรือไม่มีรูปแบบ เช่น ค่า = 3.14159… ซึ่งจะมีทศนิยมไม่ซ้ากันเลย เราเรียกจานวนนี้ว่า
     จานวนอตรรกยะ
     ดังนั้นข้อ ก. ที่ว่าทศนิยมไม่รจบบางจานวนเป็นจานวนอตรรกยะจึงเป็นจริง เพราะใช้คาว่า บางจานวน ส่วนข้อ ข. นั้นคือ ทศนิยมไม่
                                   ู้
     รู้จบบางจานวนเป็นจานวนตรรกยะ ข้อ ข. ก็จริงเช่นกันเพราะใช้คาว่าบางจานวน ดังนั้นตอบข้อ 1 คือถูกทังข้อ ก.และ ข.
                                                                                                              ้
4.   ตอบข้อ 3
     กาหนด ให้ s < t และ u < v เราเอา -1 คูณตลอด จะได้ว่า –t < -s และ –v < -u ดังนั้นลองเอา s < t มาบวกกับ –v < -u จะได้ s-v
     < t-u ทาให้ข้อ ข. เป็นจริง ส่วนข้อ ก. นั้นไม่จาเป็นจะต้องเป็นจริง ยกตัวอย่างเช่น ถ้า s=10, t=20 และ u=9, v=100 เราจะได้วา s-u
                                                                                                                                 ่
     = 10-9 = 1 และ t-v = 20-100 = -80 ซึ่งจะเห็นได้ว่า s-u > t-v
5.   ตอบข้อ 4
                     จาก |a| = a หรือ –a ดังนั้นเราจะสามารถหาคาตอบของสมการได้สองคาตอบ คือ
                     และ                 ดังนั้น x= 4.5 และ 5.5 ตามลาดับ ซึ่งอยู่ในช่วง (-3,6) ตามข้อ 4
6.   ตอบข้อ 1
     วิธีท1 เนื่องจาก เป็นผลเฉลยของสมการ
           ี่                                                          ดังนั้น         จะต้องเป็นหนึ่งในตัวประกอบของ
     ดังนั้น                                                                                              โดยผลเฉลยอีกตัวหนึงคือ
                                                                                                                            ่
     จากนั้นเปรียบเทียบสัมประสิทธิหน้า x แต่ละดีกรี จะได้ว่า
                                  ์
            พจน์แรก         ทาให้            และพจน์ที่ 3 ได้                                           ทาให้                   และพจน์ที่ 2 จะได้
                            ดังนันผลเฉลยอีกตัวหนึงคือ
                                 ้                ่
     วิธีที่ 2 พิจารณาสมการ                    ซึ่งมีผลเฉลยคือ a และ b และเมื่อคูณกระจายออกมา เราจะได้

     ดังนั้นเราจึงสรุปว่าได้ว่า สัมประสิทธิ์หน้า x จะมีค่าเท่ากับค่าติดลบของผลบวกของผลเฉลย และพจน์สุดท้ายคือ ผลคูณของผลเฉลย
     เมื่อเราย้อนกลับมาพิจารณา                             และถ้าเราเอา 4 หารตลอดเพือจะทาให้สัมประสิทธิ์หน้า
                                                                                     ่                         เป็น 1 เราจะได้
                        ดังนั้นเราจะได้ผลคูณของผลเฉลยเท่ากับ                ดังนั้นถ้าผลเฉลยตัวหนึ่งคือ อีกผลเฉลยหนึ่งจะเท่ากับ

                                                                                                                                                  สถาบันปั้นน้อง               1
                             390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
ครั้งที่ 1 ปี 2553         เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์

7. ตอบข้อ 2




   ดังนั้นตอบข้อ 2
8. ตอบข้อ 1
   พิจารณา                                              ,                                        และ                          ดังนั้น
                                              ทาให้

9. ตอบข้อ 1
    เนื่องจากว่าโจทย์กาหนดให้ a เป็นจานวนจริงบวก (a>0) และ n เป็นจานวนคู่บวก ทาให้                                                                 หรือในทานอง
    เดียวกัน                                           ดังนั้นถูกทั้งข้อ ก.และ ข.

    ***เพิมเติม : ถ้าโจทย์ไม่ได้กาหนดว่า a เป็นจานวนจริงบวกและไม่ได้กาหนดว่า n เป็นจานวนคู่บวก แต่กาหนดแค่ว่า a เป็นจานวน
          ่
    จริง และ n เป็นจานวนเต็มบวก จะทาให้ a สามารถติดลบได้ เราสามารถแยกพิจารณาได้ดังนี้

    >> ถ้า n เป็นจานวนคู่บวก จะทาให้          ไม่เป็นจานวนจริง ส่งผลให้ข้อ ก. ผิดทันที เพราะ |a| เป็นจานวนจริง ส่วน                                         ยังคง
    เป็นจานวนจริง และมีค่าเป็นบวกด้วย ดังนั้น           นั้นถูกต้อง

    >> ถ้า n เป็นจานวนคี่บวก จะทาให้                ยังคงเป็นจานวนจริงแต่จะติดลบ ซึ่งคือ a ซึ่งไม่เท่ากับ |a| ทาให้ข้อ ก. ผิด ส่วนข้อ ข.
          ก็เท่ากับ a เช่นกันซึ่งไม่เท่ากับ |a| ดังนั้น ข. ก็ผิด

10. ตอบข้อ 1
                                     เป็นพาราโบลา (parabola) ซึ่งสามารถจัดรูปโดยใช้หลักการทางกาลังสองสัมบูรณ์ดังนี้




    ทาให้ได้ว่าพาราโบลานี้เป็นแบบคว่า โดยมีจุดสูงสุดคือ                                         (หรือจุดวกกลับนั่นเอง) ดังนั้นเราสรุปได้ว่าข้อ 2 ,3 และ 4 ผิดหมด
    ต่อไปเรามาเช็คว่า 1 ถูกจริงหรือไม่ ดังนี้


    ต่อมาเรามาเขียนเส้นจานวน
                                                                                -                     +                   -
                                                                                    -1                             2
    ได้ว่า                 เมื่อ                        ดังนั้น 1 ถูกต้อง


2                 สถาบันปั้นน้อง
     390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์                           ครั้งที่ 1 ปี 2553

11. ตอบข้อ 4 วิธีดว่าอันไหนเป็นฟังก์ชั่น ใช้หลักง่ายๆก็คือ ถ้าหน้า(x) ตัวหนึ่งจะต้องมีคู่ของมัน (y) ได้แค่ตัวเดียวเท่านั้น ดังนั้น ข้อ 1
                      ู
    เราเจอ (2,3) และ (2,4) ดังนั้น ไม่ใช่ฟงก์ชั่น ต่อมาดูข้อ 2 เราเจอ (3,1) และ (3,3) ดังนั้นไม่ใช่ฟังก์ชั่น ข้อ 3 เราพบว่า 1 มีคู่ตั้ง 4
                                                ั
    ตัว ดังนั้นก็ไม่ใช่ฟังก์ชั่นอีก ดังนั้นตอบข้อ 4 เพราะถูกต้องตามนิยามฟังก์ชั่น
12. ตอบข้อ 4
    โดเมน(Df)ของ                           หาได้โดยพิจารณาว่าภายในรากที่สองจะต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 ดังนั้น               หรือ
    หรือเขียนได้ในรูป
    เรนจ์(Rg)ของ                               หาได้โดยพิจารณาว่า                เสมอ ดังนั้นเรนจ์คือ
     หรือ
    ดังนั้น Df U Rg =




                                                                 -2                        3
13. ตอบข้อ 4
                                                     วิธีง่ายและรวดเร็วที่สุดคือการดูจากกราฟเลยครับ                                 (เราสามารถหาสมการของกราฟของ
                                                     ฟังก์ชัน f ได้แต่จะเสียเวลามากกว่าดูจากกราฟ)

                                                     เราได้ f(-11) = 7, f(-3) = -1 และ f(3) =3 นาไปแทนค่าได้ดังนี้




14. ตอบข้อ 1
                         พื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉากในรูป มีพื้นที่ 600 ตร.ม. ซึ่งมีค่าเท่ากับ                                ฐาน       สูง

      x                  ดังนั้น                                ม. และความยาวด้านประกอบมุมฉากอีกด้านหนึ่งคือ
                         ม. และความยาวด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ 50 ม. เราจะได้เส้นรอบรูปยาวเท่ากับ 30+40+50 = 120 ม.
            0.75x

15. ตอบข้อ 3
          X แถวตามแนวพาเหรด                                                      โจทย์ให้ขบวนพาเหรดนี้มีอยู่ x แถวและแต่ละแถว ขอสมมติว่าแต่ละ
               x á¶Ç
                                                                                 แถวมีจานวนคนเท่ากับ y คน จากที่โจทย์บอกเราว่าจานวนคนรอบนอก
             ...
                                                                                 มีทั้งหมด 50 คน (จุดทึบทั้งหมด) เราจะได้ว่า
             ...
                                                                                                             (ตัดหัวและตัดท้ายy) และเมื่อทาการลด
 ...
 ...
 ...

                    ...
                    ...
                    ...
                    ...
                    ...




             . . ศของพาเหรด
               ทิ .                                 แต่ละแถวมี y คน              รูปเราจะได้           หรือ                แต่โจทย์ให้ว่ามี
             ...
                                                                                 จานวนคนในพาเหรดทั้งหมดเท่ากับ N คน ซึ่งเท่ากับ xy ดังนั้นเราจะ
             ...
                                                                                 ได้                 หรือ


                                                                                                                                                   สถาบันปั้นน้อง               3
                              390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
ครั้งที่ 1 ปี 2553                    เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์

16. ตอบข้อ 4

        A                                          จากรูป เราลากเส้นเชื่อม AB และต่อเส้น DC

                                                   จากทฤษฎีบทปีธาโกรัส เราจะได้ว่า                                                              และ             ต่อมาก็
                      D                    B
    C                                              พิจารณา      เราจะได้                                                              และ
                                 2x         x


               x
                                                             ความยาวด้านสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ                                                         ใช้ทฤษฎีบทปีธาโกรัสอีก
                                                   รอบเราจะได้ว่า



ดังนั้น             มีความยาวเป็น                   เท่าของด้านกว้าง

17. ตอบข้อ 2
                                                        ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจก่อนว่า …            มุมที่เล็กที่สุดคือมุมที่อยู่ตรงกันข้ามกับด้านที่สั้นที่สุด
                                25
        7
                                                        ดังนั้นมุมที่อยู่ตรงกันข้ามกับด้านที่มีความยาวเท่ากับ 7 จะเป็นมุมที่เล็กที่สุด ในที่นี้เราให้เท่ากับ
                           24                           ลองค่า                                       ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 0.961 จากในตาราง ดังนั้น          จึงมีคา่
                                                        ใกล้เคียงกับ                                     (จาก                          ) ดังนั้นเราจะได้ว่า มุมที่เล็กที่สุด
        จะมีค่าใกล้เคียงกับ

18. ตอบข้อ 3

                                        สมมติให้ด้านทียาวอันดับสองยาวเท่ากับ
                                                      ่                                                (เพราะว่ามุม              มีขนาดเป็นอันดับสอง ดังนั้นมุมตรงข้ามก็จะมี
                                        ความยาวเป็นอันดับสองเช่น) จากรูปเราจะได้ว่าด้านตรงข้ามมุมฉากยาว                                                    และด้านที่สั้นที่สุด
                                        ยาว                                   จากทีโจทย์ให้มาคือเส้นรอบรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ
                                                                                   ่

                                                                                                             ดังนั้น




19. ตอบข้อ 2

                                                                ได้ระยะตามแนวนอน ดังรูป ดังนั้น ระยะบนพื้นที่กล้องสามารถมองเห็นได้คือ

            เมตร


                                                                ดังนั้นตอบข้อ ข 1.46



4                         สถาบันปั้นน้อง
            390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์                           ครั้งที่ 1 ปี 2553

20. ตอบข้อ 3

    ลาดับเลขคณิตสามารถเขียนได้อยู่ในรูป                                                  โดยมี              และ                    ดังนั้น สูตรของลาดับเลขคณิตคือ
                           โดย                           ดังนั้น


21. ตอบข้อ 2

         พจน์ที่ 40 หรือ

พจน์ทจะมีค่าเท่ากับ พจน์ที่ 40 จะต้องเป็นพจน์ลาดับเลขคู่ เพราะจะต้องทาให้
     ี่                                                                                                                    เหมือนพจน์ที่ 40 ดังนั้นคาตอบคือ
จานวนคู่ตงแต่ 2 จนถึง 40 นั่นเอง ดังนั้นคาตอบคือ
         ั้                                                                               ตัว

22. ตอบข้อ 3

ลาดับเรขาคณิตเขียนได้ในรูป                         โดย


                           และ                                                 ดังนั้น                                  จะได้ว่า                 และ


จากผลบวกของลาดับเรขาคณิต คือ



ดังนั้น ผลบวก 10 พจน์แรก คือ

23. ตอบข้อ 2

 เหรียญที่ 1     ขาว                  แดง                          แซมเปิ้ลสเปซ n(S) = โอกาสที่เกิดจากการโยนเหรียญที่ 1 โอกาสที่เกิดจาก
เหรียญที่ 2      แดง                  ฟ้า                          การโยนเหรียญที่ 2 โอกาสที่เกิดจากการโยนเหรียญที่ 3 = 2 x 2 x 2 = 8
เหรียญที่ 3      ฟ้า                  ขาว
                                                                   ต่อมาเรามาคานวณหาจานวนโอกาสที่เหรียญทัง 3 จะออกหน้าแตกต่างกัน มี
                                                                                                         ้
เพียง 2 กรณีคือ ขาวแดงฟ้า และ แดงฟ้าขาว ความน่าจะเป็นทีต้องการคือ
                                                       ่

24. ตอบข้อ 2

         ก่อนอื่นเรามาหาแซมเปิ้ลสเปซก่อนเลย

         หยิบสลากครั้งที่ 1 จะมีทางเลือกหรือโอกาสได้ทั้งหมด 10 แบบ เมื่อหยิบมาแล้วไม่ใส่คืน จะทาให้เหลือสลากทั้งหมด 9 ใบซึงก็คือ
                                                                                                                          ่
         โอกาสในการหยิบครั้งที่ 2 นั่นเอง ดังนั้นจานวนแบบทีจะหยิบสลาก 2 ใบ โดยหยิบทีละใบไม่ใส่คอคือ 10 x 9 = 90 แบบ = n(S)
                                                           ่                                   ื

        จานวนฉลากที่น้อยกว่า 5 มีทั้งหมด 4 สลาก ได้แก่ 1,2,3 และ 4 และจานวนสลากทีมีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไปมีทั้งหมด 6 สลาก ได้แก่
                                                                                  ่
         5,6,7,8,9 และ 10

        กรณีที่ 1 – หยิบครั้งแรก ได้สลากที่น้อยกว่า 5 และหยิบครั้งที่สองที่ได้สลากตังแต่ 5 ขึ้นไป ดังนั้นมีได้ทั้งหมด 4 x 6 = 24
                                                                                     ้

                                                                                                                                                 สถาบันปั้นน้อง               5
                            390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
ครั้งที่ 1 ปี 2553         เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์

          กรณีที่ 2 – หยิบครั้งแรก ได้สลากตั้งแต่ 5 ขึ้นไป และหยิบครั้งที่สองที่ได้สลากที่น้อยกว่า 5 ดังนั้นมีได้ทั้งหมด 6 x 4 = 24
          ดังนั้นจานวนแบบทังหมดคือ 24+24 = 48 แบบ ซึ่งมีความน่าจะเป็นเท่ากับ 48/90 = 8/15
                            ้

25. ตอบข้อ 2

เนื่องจากข้อมูลเป็นข้อมูลทางด้านส่วนสูงของนักเรียน ทาให้มีแต่ S เท่านั้นที่เขียนไว้ชดเจนว่าเป็นส่วนสูง ส่วน T เป็นเพียงจานวนธรรมดา
                                                                                    ั
ดังนั้น S เท่านั้นถึงจะเป็น แซมเปิลสเปซ

26. ตอบข้อ 4

           หาแซมเปิลสเปซก่อนเลยนะครับ มีคนทั้งหมด 10 คน ต้องการเลือกมา 3 คนสาหรับ 3 ตาแหน่ง (เหมือนกับการเลือกลูกบอล 10
           ลูก และเลือกหยิบออกมาทีละลูก ไม่คืน) ดังนั้น

                         ตาแหน่งแรก เลือกได้ 10 แบบ ตาแหน่งที่สอง เลือกได้ 9 แบบ และตาแหน่งที่สามเลือกได้ 8 แบบ ดังนั้นแซมเปิลสเปซ
           เท่ากับ 10x9x8 = 720 แบบ

          โจทย์ต้องการหาความน่าจะเป็นในการทีจะได้ประธานและรองประธานเป็นหญิง เราแจกแจงกรณีได้ดังนี้
                                             ่
                         ตาแหน่งประธาน – จานวนแบบที่จะเลือกได้คือ 6 แบบ (จานวนผู้หญิง)
                         ตาแหน่งรองประธาน – จานวนแบบที่จะเลือกได้คือ 5 แบบ (เลือกไปแล้วหนึ่งคน จึงเหลืออีก 5 คน)
                         ตาแหน่งเลขานุการ – จานวนแบบที่เลือกได้คือ 4+4 = 8 แบบ (หญิงที่เหลือ 4 คนและผู้ชาย 4 คน)
                         ดังนั้นจานวนแบบทีจะได้ประธานเป็นหญิงและรองประธานเป็นหญิงคือ 6x5x8 = 240 แบบ ซึ่งก็คือความน่าจะเป็น
                                          ่
                         เท่ากับ    240/720 = 1/3



27. ตอบข้อ 3

เนื่องจากเป็นข้อมูลที่ครูสอนวิทยาศาสตร์เป็นคนเก็บเอง และข้อมูลเป็นแบบคุณภาพ ดังนั้นเป็นข้อมูลปฐมภูมิ เชิงคุณภาพ

28. ตอบข้อ 1

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของพนักงานบริษัท =
                     น้าหนักรวมชาย น้าหนักรวมหญิง             น้าหนักรวมชาย
                          จานวนพนักงานทั้งหมด

ดังนั้นน้าหนักรวมชาย =

29. ตอบข้อ 4

เมื่อนาข้อมูลทั้งหมดมาเรียงกันจะได้                57, 58, 67, 68,69, 70, 74, 74, 77,81

ฐานนิยมคือ 74 ดังนั้น 1 ถูก

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 695/10 = 69.5 และมัธยฐานคือ (69+70)/2 = 69.5 ดังนั้นข้อ 2 ก็ยงถูก
                                                                                ั
6                 สถาบันปั้นน้อง
     390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์                           ครั้งที่ 1 ปี 2553

น้าหนักไข่ไก่ที่น้อยกว่า 70 มีทั้งหมด 5 ฟอง ดังนั้นข้อ 3 ก็ถูก

ไข่ไก่ที่มีน้าหนักสูงกว่าฐานนิยม (74) มีทั้งหมด 2 ฟอง และไข่ไก่ที่มีน้าหนักเท่ากับฐานนิยมก็มเี ท่ากับ 2 ฟองเช่นกัน ดังนั้นข้อ 4 เท็จ

30. ตอบข้อ 4

ฐานนิยมนั้นจะต้องมาจากข้อมูลที่มีจานวนซ้ามากที่สุด ดังนั้นยังไงก็ตามฐานนิยมก็ต้องมีคาเท่ากับข้อมูลตัวใดตัวหนึ่งแน่นอน
                                                                                    ่

31. ตอบข้อ 1

41, 88, 46, 42, 43, 49, 44, 45, 43, 95, 47, 48

จากข้อมูล สังเกตได้วามี 88, 95 ซึ่งมีค่าแตกต่างจากค่าตัวอื่นอย่างมาก ทาให้มีผลต่อค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยของค่าสูงสุดต่าสุด
                    ่
และเนื่องจากไม่มีตัวใดซ้ากันเลยทาให้ฐานนิยมก็ไม่เหมาะสมเช่นกัน ดังนั้น มัธยฐานจะเหมาะสมที่สุด

32. ตอบข้อ 2




จากแผนภูมิกล่องจะได้ว่า

ค่าต่าสุด = 10 ค่าสูงสุด = 24 ควอไทล์ที่ 1 = 12 ควอไทล์ที่ 2 = 16 ควอไทล์ที่ 3 = 18

แต่ละช่วงควอไทล์จะมีอยู่ 25 คน ดังนั้นข้อ 2 ไม่ถูกต้อง เพราะว่า 12-18 คลอบคลุมถึงสองช่วงควอไทล์ ส่วน 18-24 คลุมแค่หนึ่งควอไทล์

33. ตอบข้อ 4

ควอไทล์ที่ 3 หมายความว่ามีจานวนคนที่ได้คะแนนสอบน้อยกว่านาย ก อยู่ ทั้งหมด 75% ของ 400 หรือเท่ากับ 300 คนนั้นเอง ส่วน
เปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 มีความหมายว่ามีจานวนคนที่ได้คะแนนน้อยกว่านาย ข อยู่ทั้งหมด 60% ของ 400 หรือเท่ากับ 240 คน ดังนั้นส่วนต่าง
ของ ควอไทล์ที่ 3 และเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 คือ 300-240 = 60 คน

34. ตอบข้อ 1

เราสามารถเติมเต็มตารางแจกแจงความถี่ ได้โดยใช้

ความถี่สะสม = ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่น้อยกว่า 1 ชั้น +ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่น้อยกว่า 1 ชั้น

ความถี่สัมพัทธ์ = ความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ หารด้วย จานวนความถี่รวมทั้งหมด (ข้อมูลทั้งหมด)
อันตรภาคชั้น                 ความถี่                                        ความถี่สะสม                                         ความถี่สัมพัทธ์
     2-6                       7                                                  7                                                7/20=0.35
    7-11                   0.2x20 = 4                                            11                                                   0.2
    12-16                      3                                                 14                                                3/20=0.15
    17-21                      6                                              14+6 = 20                                               0.3


                                                                                                                                                  สถาบันปั้นน้อง               7
                             390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
ครั้งที่ 1 ปี 2553         เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์

                                                                                       ความถี่อันตรภาคชั้น
จากอันตรภาคชั้น 17-21 จะได้วา จานวนข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ
                            ่                                                            ความถี่สัมพัทธ์

ทาให้ได้ว่าความถี่ของอันตรภาคชั้น 7-11 จะมีคาเท่ากับ 0.2x20 = 4 จากนั้นก็ค่อยๆเติมตารางจนเต็ม
                                            ่

ดังนั้นสรุปได้ว่า อันตรภาคชั้น           2-6 มีความถี่สูงที่สุด คือ 7

35. ตอบข้อ 3

พิจารณา ก. จานวนผูว่างงานในภาคใต้ในเดือน กย. ปี 2550 ไม่จาเป็นต้องเท่ากับ ผู้วางงานในเดือน กย. ปี
                  ้                                                           ่                                                          2551 เนื่องจากแม้วาอัตรา
                                                                                                                                                           ่
การว่างงานจะเท่ากันแต่จานวนกาลังแรงงานของปี 2550 กับ 2551 ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน

พิจารณา ข. จานวนผู้อยูในกาลังแรงงานทัวประเทศในเดือนกันยายน 2551 =
                      ่              ่                                                                                                       คน ดังนั้น ข. ถูกต้อง

36. ตอบข้อ 4

ก่อนที่จะเก็บข้อมูล เราก็ควรจะรูก่อนว่าจะเอาข้อมูลอะไรบ้าง ดังนั้น ข้อ 4 จึงเป็นคาตอบที่ถูกต้อง
                                ้

37. ตอบ 101 คน

ให้ M เป็นเซตของนักเรียนที่สอบผ่านวิชาคณิตศาสตร์

S เป็นเซตของนักเรียนที่สอบผ่านวิชาสังคมศึกษา

T เป็นเซตของนักเรียนที่สอบผ่านวิชาภาษาไทย

โดยแผนภาพเวนน์ออยเลอร์

                                                                          M
                                                                                                                                    S
                                                                               36-10-5-                                   50-10-
                                                                                                        10
                                                                               2 =19                                      5-7 =28

                                                                                                          5
                                                                                             2                        7

                                                                                                  44-2-5-7                   T
                                                                                                  =30


ดังนั้นมีนักเรียนที่สอบผ่านอย่างน้อย 1 วิชาคือ 19+28+30+10+5+2+7 = 101 คน

38. ตอบ 390 ต้น

ลาดับเลขคณิตสาหรับจานวนต้นไม้แต่ละแถวคือ

12, 14, 16,…         ซึ่งแทนได้ดวย
                                ้                                            โดยที่                 และ               ดังนั้นลาดับเลขคณิตแทนด้วย

8                 สถาบันปั้นน้อง
     390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์                           ครั้งที่ 1 ปี 2553



เมื่อใส่เครื่องหมาย     เข้าไปทั้งสองข้าง จะได้วา
                                                ่

ถ้า n=15 จะได้วาจานวนต้นไม้ทงหมด(ทั้งสิบห้าแถว) เท่ากับ
               ่            ั้

                                                                            (ใช้สูตร                                                       )




39. ตอบ 280 จานวน

จานวนทีมีบางหลักซ้ากัน = จานวนที่เป็นไปได้ทั้งหมด – จานวนที่แต่ละหลักไม่ซ้ากันเลย
       ่

จานวนทีเ่ ป็นไปได้ทั้งหมด หาได้โดย

                         หลักร้อย                    หลักสิบ                 หลักหน่วย

                            10            x            10           x             10            =            900           จานวน

จานวนที่แต่ละหลักไม่ซากันเลย
                     ้
                                           หลักสิบ                          หลักหน่วย
                      หลักร้อย
                                           (ใช้ไป 1 ตัวแล้ว)                (ใช้ไป2 ตัวแล้ว)

                            10            x            9            x             8             =            720           จานวน

ดังนั้นจานวนที่มีบางหลักซ้ากันมีทั้งหมดเท่ากับ             900-720 = 280 จานวน

40. ตอบ 240 วิธี

1. เลือกว่าสามีภรรยาที่นั่งติดกันอยู่อยู่ตรงไหนก่อน เลือกได้ทั้งหมด 5 แบบดังรูป




2. แต่ละแบบด้านบนจะมีทว่าง 4 ที่ซึ่งสามารถนั่งสลับกันยังไงก็ได้ ดังนั้นจะได้ทั้งหมด 4x3x2x1 = 24 แบบ
                      ี่

3. พิจารณาแต่ละคู่สามีภรรยาที่นั่งติด ก็สามารถนั่งสลับกันได้ ดังนั้นมีได้ทงหมด 2 แบบ
                                                                          ั้

สรุปก็คือจานวนแบบการนั่งโดยที่มีสามีภรรยาคู่หนึ่งนั่งติดกันคือ 5x24x2 = 240 แบบ



                                                                                                                                                 สถาบันปั้นน้อง               9
                            390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com

More Related Content

What's hot

ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟFern Monwalee
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfssusera0c3361
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559ครู กรุณา
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1dnavaroj
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนchatchai
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549saiyok07
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
ใบงานเรื่องคู่อันดับและกราฟ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdfเอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
เอกสารสอนปรับพื้นฐานคณิตศาสตร์พื้นฐาน-ม.1.pdf
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
 
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
วิทยาศาตร์พื้นฐาน ม1เทอม1
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อนแบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
แบบฝึกทักษะเรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 

Similar to เฉลย O net 53

เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553Review Wlp
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53ApisitIce
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอguesta51216
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
คณ ตศาสตร
คณ ตศาสตร คณ ตศาสตร
คณ ตศาสตร Aoy Amm Mee
 

Similar to เฉลย O net 53 (20)

Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
คณ ต Onet 53
คณ ต Onet 53คณ ต Onet 53
คณ ต Onet 53
 
Key o net53math
Key o net53mathKey o net53math
Key o net53math
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
เฉลย คณิต 53
เฉลย คณิต 53เฉลย คณิต 53
เฉลย คณิต 53
 
53 140203091328-phpapp02
53 140203091328-phpapp0253 140203091328-phpapp02
53 140203091328-phpapp02
 
Key math m6 53
Key math m6 53Key math m6 53
Key math m6 53
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
นำเสนอ
นำเสนอนำเสนอ
นำเสนอ
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
คณ ตศาสตร
คณ ตศาสตร คณ ตศาสตร
คณ ตศาสตร
 
31201final531
31201final53131201final531
31201final531
 

เฉลย O net 53

  • 1. เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1 ปี 2553 1. ตอบข้อ 3 มาดูข้อ 1.กันก่อนครับ A-B คือตัวที่อยูใน A แต่ไม่อยูใน B นั่นคือ A-B = {1,2,3,4,5} ซึ่งมีสมาชิก 5 ตัว ดังนั้นข้อ 1 จึงถูกต้อง ่ ่ ต่อมาเรามาดูข้อ 2 กัน B-A คือตัวที่อยูใน B แต่ไม่อยูใน A นั่นคือเราต้องตัด 6,7,8,…. ออกจาก B ทั้งหมด ทาให้ B-A = ่ ่ {{1,2},{3,4,5}} ซึ่งมีสมาชิก 2 ตัว ดังนั้นสมาชิกของเพาเวอร์เซตของ B-A เท่ากับ 22 = 4 สรุปว่าข้อ 2 ก็ยังถูกต้อง มาดูข้อ 3. (A-B) (B-A) = {1,2,3,4,5,{1,2},{3,4,5}} มีสมาชิกทังหมด 7 ตัว ซึ่งไม่ใช่จานวนคู่ ดังนั้นข้อ 3 ผิด ฮั่นแน่ เราเจอละ ้ ตอบข้อนี้ได้เลย ถ้าขยันหน่อยก็ดูข้อ 4 ต่อกันเลยครับ A B = {6,7,8,…} เป็นจานวนนับที่มากกว่า 5 ดังนั้นข้อ 4 ถูก 2. ตอบข้อ 3 เรามาพิจารณาสิ่งทีโจทย์ให้มาคือ 1 เหตุ และ 1 ผล ่ เหตุ : เห็ดเป็นพืชมีดอก ผล : เห็ดเป็นพืชชั้นสูง เราจะสังเกตได้ว่ามีอยู่ 3 คาได้แก่ เห็ด พืชมีดอก และพืชชั้นสูง แต่ทแน่ๆ ี่ ตอนนี้เรารู้ว่า เห็ดเป็นพืชมีดอก ถ้าเราอยากจะให้เห็ดเป็นพืชชั้นสูงด้วย เราต้องกาหนดว่าพืชมีดอกทุกชนิดจะต้องเป็นพืชชั้นสูง ดังนั้นเราตอบข้อ 3 3. ตอบข้อ 1 ทศนิยมไม่รจบมี 2 ประเภทคือ ู้ หนึ่ง --- ทศนิยมไม่รจบแบบซ้า (หรือแบบมีรูปแบบ) เช่น 0.33333…. , 0.535353… ซึ่งเป็นจานวนตรรกยะ ู้ สอง --- ทศนิยมไม่รู้จบแบบไม่ซ้าหรือไม่มีรูปแบบ เช่น ค่า = 3.14159… ซึ่งจะมีทศนิยมไม่ซ้ากันเลย เราเรียกจานวนนี้ว่า จานวนอตรรกยะ ดังนั้นข้อ ก. ที่ว่าทศนิยมไม่รจบบางจานวนเป็นจานวนอตรรกยะจึงเป็นจริง เพราะใช้คาว่า บางจานวน ส่วนข้อ ข. นั้นคือ ทศนิยมไม่ ู้ รู้จบบางจานวนเป็นจานวนตรรกยะ ข้อ ข. ก็จริงเช่นกันเพราะใช้คาว่าบางจานวน ดังนั้นตอบข้อ 1 คือถูกทังข้อ ก.และ ข. ้ 4. ตอบข้อ 3 กาหนด ให้ s < t และ u < v เราเอา -1 คูณตลอด จะได้ว่า –t < -s และ –v < -u ดังนั้นลองเอา s < t มาบวกกับ –v < -u จะได้ s-v < t-u ทาให้ข้อ ข. เป็นจริง ส่วนข้อ ก. นั้นไม่จาเป็นจะต้องเป็นจริง ยกตัวอย่างเช่น ถ้า s=10, t=20 และ u=9, v=100 เราจะได้วา s-u ่ = 10-9 = 1 และ t-v = 20-100 = -80 ซึ่งจะเห็นได้ว่า s-u > t-v 5. ตอบข้อ 4 จาก |a| = a หรือ –a ดังนั้นเราจะสามารถหาคาตอบของสมการได้สองคาตอบ คือ และ ดังนั้น x= 4.5 และ 5.5 ตามลาดับ ซึ่งอยู่ในช่วง (-3,6) ตามข้อ 4 6. ตอบข้อ 1 วิธีท1 เนื่องจาก เป็นผลเฉลยของสมการ ี่ ดังนั้น จะต้องเป็นหนึ่งในตัวประกอบของ ดังนั้น โดยผลเฉลยอีกตัวหนึงคือ ่ จากนั้นเปรียบเทียบสัมประสิทธิหน้า x แต่ละดีกรี จะได้ว่า ์ พจน์แรก ทาให้ และพจน์ที่ 3 ได้ ทาให้ และพจน์ที่ 2 จะได้ ดังนันผลเฉลยอีกตัวหนึงคือ ้ ่ วิธีที่ 2 พิจารณาสมการ ซึ่งมีผลเฉลยคือ a และ b และเมื่อคูณกระจายออกมา เราจะได้ ดังนั้นเราจึงสรุปว่าได้ว่า สัมประสิทธิ์หน้า x จะมีค่าเท่ากับค่าติดลบของผลบวกของผลเฉลย และพจน์สุดท้ายคือ ผลคูณของผลเฉลย เมื่อเราย้อนกลับมาพิจารณา และถ้าเราเอา 4 หารตลอดเพือจะทาให้สัมประสิทธิ์หน้า ่ เป็น 1 เราจะได้ ดังนั้นเราจะได้ผลคูณของผลเฉลยเท่ากับ ดังนั้นถ้าผลเฉลยตัวหนึ่งคือ อีกผลเฉลยหนึ่งจะเท่ากับ สถาบันปั้นน้อง 1 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 2. ครั้งที่ 1 ปี 2553 เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ 7. ตอบข้อ 2 ดังนั้นตอบข้อ 2 8. ตอบข้อ 1 พิจารณา , และ ดังนั้น ทาให้ 9. ตอบข้อ 1 เนื่องจากว่าโจทย์กาหนดให้ a เป็นจานวนจริงบวก (a>0) และ n เป็นจานวนคู่บวก ทาให้ หรือในทานอง เดียวกัน ดังนั้นถูกทั้งข้อ ก.และ ข. ***เพิมเติม : ถ้าโจทย์ไม่ได้กาหนดว่า a เป็นจานวนจริงบวกและไม่ได้กาหนดว่า n เป็นจานวนคู่บวก แต่กาหนดแค่ว่า a เป็นจานวน ่ จริง และ n เป็นจานวนเต็มบวก จะทาให้ a สามารถติดลบได้ เราสามารถแยกพิจารณาได้ดังนี้ >> ถ้า n เป็นจานวนคู่บวก จะทาให้ ไม่เป็นจานวนจริง ส่งผลให้ข้อ ก. ผิดทันที เพราะ |a| เป็นจานวนจริง ส่วน ยังคง เป็นจานวนจริง และมีค่าเป็นบวกด้วย ดังนั้น นั้นถูกต้อง >> ถ้า n เป็นจานวนคี่บวก จะทาให้ ยังคงเป็นจานวนจริงแต่จะติดลบ ซึ่งคือ a ซึ่งไม่เท่ากับ |a| ทาให้ข้อ ก. ผิด ส่วนข้อ ข. ก็เท่ากับ a เช่นกันซึ่งไม่เท่ากับ |a| ดังนั้น ข. ก็ผิด 10. ตอบข้อ 1 เป็นพาราโบลา (parabola) ซึ่งสามารถจัดรูปโดยใช้หลักการทางกาลังสองสัมบูรณ์ดังนี้ ทาให้ได้ว่าพาราโบลานี้เป็นแบบคว่า โดยมีจุดสูงสุดคือ (หรือจุดวกกลับนั่นเอง) ดังนั้นเราสรุปได้ว่าข้อ 2 ,3 และ 4 ผิดหมด ต่อไปเรามาเช็คว่า 1 ถูกจริงหรือไม่ ดังนี้ ต่อมาเรามาเขียนเส้นจานวน - + - -1 2 ได้ว่า เมื่อ ดังนั้น 1 ถูกต้อง 2 สถาบันปั้นน้อง 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 3. เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1 ปี 2553 11. ตอบข้อ 4 วิธีดว่าอันไหนเป็นฟังก์ชั่น ใช้หลักง่ายๆก็คือ ถ้าหน้า(x) ตัวหนึ่งจะต้องมีคู่ของมัน (y) ได้แค่ตัวเดียวเท่านั้น ดังนั้น ข้อ 1 ู เราเจอ (2,3) และ (2,4) ดังนั้น ไม่ใช่ฟงก์ชั่น ต่อมาดูข้อ 2 เราเจอ (3,1) และ (3,3) ดังนั้นไม่ใช่ฟังก์ชั่น ข้อ 3 เราพบว่า 1 มีคู่ตั้ง 4 ั ตัว ดังนั้นก็ไม่ใช่ฟังก์ชั่นอีก ดังนั้นตอบข้อ 4 เพราะถูกต้องตามนิยามฟังก์ชั่น 12. ตอบข้อ 4 โดเมน(Df)ของ หาได้โดยพิจารณาว่าภายในรากที่สองจะต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 ดังนั้น หรือ หรือเขียนได้ในรูป เรนจ์(Rg)ของ หาได้โดยพิจารณาว่า เสมอ ดังนั้นเรนจ์คือ หรือ ดังนั้น Df U Rg = -2 3 13. ตอบข้อ 4 วิธีง่ายและรวดเร็วที่สุดคือการดูจากกราฟเลยครับ (เราสามารถหาสมการของกราฟของ ฟังก์ชัน f ได้แต่จะเสียเวลามากกว่าดูจากกราฟ) เราได้ f(-11) = 7, f(-3) = -1 และ f(3) =3 นาไปแทนค่าได้ดังนี้ 14. ตอบข้อ 1 พื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉากในรูป มีพื้นที่ 600 ตร.ม. ซึ่งมีค่าเท่ากับ ฐาน สูง x ดังนั้น ม. และความยาวด้านประกอบมุมฉากอีกด้านหนึ่งคือ ม. และความยาวด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ 50 ม. เราจะได้เส้นรอบรูปยาวเท่ากับ 30+40+50 = 120 ม. 0.75x 15. ตอบข้อ 3 X แถวตามแนวพาเหรด โจทย์ให้ขบวนพาเหรดนี้มีอยู่ x แถวและแต่ละแถว ขอสมมติว่าแต่ละ x á¶Ç แถวมีจานวนคนเท่ากับ y คน จากที่โจทย์บอกเราว่าจานวนคนรอบนอก ... มีทั้งหมด 50 คน (จุดทึบทั้งหมด) เราจะได้ว่า ... (ตัดหัวและตัดท้ายy) และเมื่อทาการลด ... ... ... ... ... ... ... ... . . ศของพาเหรด ทิ . แต่ละแถวมี y คน รูปเราจะได้ หรือ แต่โจทย์ให้ว่ามี ... จานวนคนในพาเหรดทั้งหมดเท่ากับ N คน ซึ่งเท่ากับ xy ดังนั้นเราจะ ... ได้ หรือ สถาบันปั้นน้อง 3 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 4. ครั้งที่ 1 ปี 2553 เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ 16. ตอบข้อ 4 A จากรูป เราลากเส้นเชื่อม AB และต่อเส้น DC จากทฤษฎีบทปีธาโกรัส เราจะได้ว่า และ ต่อมาก็ D B C พิจารณา เราจะได้ และ 2x x x ความยาวด้านสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือ ใช้ทฤษฎีบทปีธาโกรัสอีก รอบเราจะได้ว่า ดังนั้น มีความยาวเป็น เท่าของด้านกว้าง 17. ตอบข้อ 2 ก่อนอื่นเราต้องเข้าใจก่อนว่า … มุมที่เล็กที่สุดคือมุมที่อยู่ตรงกันข้ามกับด้านที่สั้นที่สุด 25 7 ดังนั้นมุมที่อยู่ตรงกันข้ามกับด้านที่มีความยาวเท่ากับ 7 จะเป็นมุมที่เล็กที่สุด ในที่นี้เราให้เท่ากับ 24 ลองค่า ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับ 0.961 จากในตาราง ดังนั้น จึงมีคา่ ใกล้เคียงกับ (จาก ) ดังนั้นเราจะได้ว่า มุมที่เล็กที่สุด จะมีค่าใกล้เคียงกับ 18. ตอบข้อ 3 สมมติให้ด้านทียาวอันดับสองยาวเท่ากับ ่ (เพราะว่ามุม มีขนาดเป็นอันดับสอง ดังนั้นมุมตรงข้ามก็จะมี ความยาวเป็นอันดับสองเช่น) จากรูปเราจะได้ว่าด้านตรงข้ามมุมฉากยาว และด้านที่สั้นที่สุด ยาว จากทีโจทย์ให้มาคือเส้นรอบรูปสามเหลี่ยมเท่ากับ ่ ดังนั้น 19. ตอบข้อ 2 ได้ระยะตามแนวนอน ดังรูป ดังนั้น ระยะบนพื้นที่กล้องสามารถมองเห็นได้คือ เมตร ดังนั้นตอบข้อ ข 1.46 4 สถาบันปั้นน้อง 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 5. เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1 ปี 2553 20. ตอบข้อ 3 ลาดับเลขคณิตสามารถเขียนได้อยู่ในรูป โดยมี และ ดังนั้น สูตรของลาดับเลขคณิตคือ โดย ดังนั้น 21. ตอบข้อ 2 พจน์ที่ 40 หรือ พจน์ทจะมีค่าเท่ากับ พจน์ที่ 40 จะต้องเป็นพจน์ลาดับเลขคู่ เพราะจะต้องทาให้ ี่ เหมือนพจน์ที่ 40 ดังนั้นคาตอบคือ จานวนคู่ตงแต่ 2 จนถึง 40 นั่นเอง ดังนั้นคาตอบคือ ั้ ตัว 22. ตอบข้อ 3 ลาดับเรขาคณิตเขียนได้ในรูป โดย และ ดังนั้น จะได้ว่า และ จากผลบวกของลาดับเรขาคณิต คือ ดังนั้น ผลบวก 10 พจน์แรก คือ 23. ตอบข้อ 2 เหรียญที่ 1 ขาว แดง แซมเปิ้ลสเปซ n(S) = โอกาสที่เกิดจากการโยนเหรียญที่ 1 โอกาสที่เกิดจาก เหรียญที่ 2 แดง ฟ้า การโยนเหรียญที่ 2 โอกาสที่เกิดจากการโยนเหรียญที่ 3 = 2 x 2 x 2 = 8 เหรียญที่ 3 ฟ้า ขาว ต่อมาเรามาคานวณหาจานวนโอกาสที่เหรียญทัง 3 จะออกหน้าแตกต่างกัน มี ้ เพียง 2 กรณีคือ ขาวแดงฟ้า และ แดงฟ้าขาว ความน่าจะเป็นทีต้องการคือ ่ 24. ตอบข้อ 2  ก่อนอื่นเรามาหาแซมเปิ้ลสเปซก่อนเลย หยิบสลากครั้งที่ 1 จะมีทางเลือกหรือโอกาสได้ทั้งหมด 10 แบบ เมื่อหยิบมาแล้วไม่ใส่คืน จะทาให้เหลือสลากทั้งหมด 9 ใบซึงก็คือ ่ โอกาสในการหยิบครั้งที่ 2 นั่นเอง ดังนั้นจานวนแบบทีจะหยิบสลาก 2 ใบ โดยหยิบทีละใบไม่ใส่คอคือ 10 x 9 = 90 แบบ = n(S) ่ ื  จานวนฉลากที่น้อยกว่า 5 มีทั้งหมด 4 สลาก ได้แก่ 1,2,3 และ 4 และจานวนสลากทีมีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไปมีทั้งหมด 6 สลาก ได้แก่ ่ 5,6,7,8,9 และ 10  กรณีที่ 1 – หยิบครั้งแรก ได้สลากที่น้อยกว่า 5 และหยิบครั้งที่สองที่ได้สลากตังแต่ 5 ขึ้นไป ดังนั้นมีได้ทั้งหมด 4 x 6 = 24 ้ สถาบันปั้นน้อง 5 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 6. ครั้งที่ 1 ปี 2553 เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์  กรณีที่ 2 – หยิบครั้งแรก ได้สลากตั้งแต่ 5 ขึ้นไป และหยิบครั้งที่สองที่ได้สลากที่น้อยกว่า 5 ดังนั้นมีได้ทั้งหมด 6 x 4 = 24  ดังนั้นจานวนแบบทังหมดคือ 24+24 = 48 แบบ ซึ่งมีความน่าจะเป็นเท่ากับ 48/90 = 8/15 ้ 25. ตอบข้อ 2 เนื่องจากข้อมูลเป็นข้อมูลทางด้านส่วนสูงของนักเรียน ทาให้มีแต่ S เท่านั้นที่เขียนไว้ชดเจนว่าเป็นส่วนสูง ส่วน T เป็นเพียงจานวนธรรมดา ั ดังนั้น S เท่านั้นถึงจะเป็น แซมเปิลสเปซ 26. ตอบข้อ 4  หาแซมเปิลสเปซก่อนเลยนะครับ มีคนทั้งหมด 10 คน ต้องการเลือกมา 3 คนสาหรับ 3 ตาแหน่ง (เหมือนกับการเลือกลูกบอล 10 ลูก และเลือกหยิบออกมาทีละลูก ไม่คืน) ดังนั้น ตาแหน่งแรก เลือกได้ 10 แบบ ตาแหน่งที่สอง เลือกได้ 9 แบบ และตาแหน่งที่สามเลือกได้ 8 แบบ ดังนั้นแซมเปิลสเปซ เท่ากับ 10x9x8 = 720 แบบ  โจทย์ต้องการหาความน่าจะเป็นในการทีจะได้ประธานและรองประธานเป็นหญิง เราแจกแจงกรณีได้ดังนี้ ่ ตาแหน่งประธาน – จานวนแบบที่จะเลือกได้คือ 6 แบบ (จานวนผู้หญิง) ตาแหน่งรองประธาน – จานวนแบบที่จะเลือกได้คือ 5 แบบ (เลือกไปแล้วหนึ่งคน จึงเหลืออีก 5 คน) ตาแหน่งเลขานุการ – จานวนแบบที่เลือกได้คือ 4+4 = 8 แบบ (หญิงที่เหลือ 4 คนและผู้ชาย 4 คน) ดังนั้นจานวนแบบทีจะได้ประธานเป็นหญิงและรองประธานเป็นหญิงคือ 6x5x8 = 240 แบบ ซึ่งก็คือความน่าจะเป็น ่ เท่ากับ 240/720 = 1/3 27. ตอบข้อ 3 เนื่องจากเป็นข้อมูลที่ครูสอนวิทยาศาสตร์เป็นคนเก็บเอง และข้อมูลเป็นแบบคุณภาพ ดังนั้นเป็นข้อมูลปฐมภูมิ เชิงคุณภาพ 28. ตอบข้อ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของพนักงานบริษัท = น้าหนักรวมชาย น้าหนักรวมหญิง น้าหนักรวมชาย จานวนพนักงานทั้งหมด ดังนั้นน้าหนักรวมชาย = 29. ตอบข้อ 4 เมื่อนาข้อมูลทั้งหมดมาเรียงกันจะได้ 57, 58, 67, 68,69, 70, 74, 74, 77,81 ฐานนิยมคือ 74 ดังนั้น 1 ถูก ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 695/10 = 69.5 และมัธยฐานคือ (69+70)/2 = 69.5 ดังนั้นข้อ 2 ก็ยงถูก ั 6 สถาบันปั้นน้อง 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 7. เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1 ปี 2553 น้าหนักไข่ไก่ที่น้อยกว่า 70 มีทั้งหมด 5 ฟอง ดังนั้นข้อ 3 ก็ถูก ไข่ไก่ที่มีน้าหนักสูงกว่าฐานนิยม (74) มีทั้งหมด 2 ฟอง และไข่ไก่ที่มีน้าหนักเท่ากับฐานนิยมก็มเี ท่ากับ 2 ฟองเช่นกัน ดังนั้นข้อ 4 เท็จ 30. ตอบข้อ 4 ฐานนิยมนั้นจะต้องมาจากข้อมูลที่มีจานวนซ้ามากที่สุด ดังนั้นยังไงก็ตามฐานนิยมก็ต้องมีคาเท่ากับข้อมูลตัวใดตัวหนึ่งแน่นอน ่ 31. ตอบข้อ 1 41, 88, 46, 42, 43, 49, 44, 45, 43, 95, 47, 48 จากข้อมูล สังเกตได้วามี 88, 95 ซึ่งมีค่าแตกต่างจากค่าตัวอื่นอย่างมาก ทาให้มีผลต่อค่าเฉลี่ยเลขคณิตและค่าเฉลี่ยของค่าสูงสุดต่าสุด ่ และเนื่องจากไม่มีตัวใดซ้ากันเลยทาให้ฐานนิยมก็ไม่เหมาะสมเช่นกัน ดังนั้น มัธยฐานจะเหมาะสมที่สุด 32. ตอบข้อ 2 จากแผนภูมิกล่องจะได้ว่า ค่าต่าสุด = 10 ค่าสูงสุด = 24 ควอไทล์ที่ 1 = 12 ควอไทล์ที่ 2 = 16 ควอไทล์ที่ 3 = 18 แต่ละช่วงควอไทล์จะมีอยู่ 25 คน ดังนั้นข้อ 2 ไม่ถูกต้อง เพราะว่า 12-18 คลอบคลุมถึงสองช่วงควอไทล์ ส่วน 18-24 คลุมแค่หนึ่งควอไทล์ 33. ตอบข้อ 4 ควอไทล์ที่ 3 หมายความว่ามีจานวนคนที่ได้คะแนนสอบน้อยกว่านาย ก อยู่ ทั้งหมด 75% ของ 400 หรือเท่ากับ 300 คนนั้นเอง ส่วน เปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 มีความหมายว่ามีจานวนคนที่ได้คะแนนน้อยกว่านาย ข อยู่ทั้งหมด 60% ของ 400 หรือเท่ากับ 240 คน ดังนั้นส่วนต่าง ของ ควอไทล์ที่ 3 และเปอร์เซ็นไทล์ที่ 60 คือ 300-240 = 60 คน 34. ตอบข้อ 1 เราสามารถเติมเต็มตารางแจกแจงความถี่ ได้โดยใช้ ความถี่สะสม = ความถี่ของอันตรภาคชั้นที่น้อยกว่า 1 ชั้น +ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นที่น้อยกว่า 1 ชั้น ความถี่สัมพัทธ์ = ความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ หารด้วย จานวนความถี่รวมทั้งหมด (ข้อมูลทั้งหมด) อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์ 2-6 7 7 7/20=0.35 7-11 0.2x20 = 4 11 0.2 12-16 3 14 3/20=0.15 17-21 6 14+6 = 20 0.3 สถาบันปั้นน้อง 7 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 8. ครั้งที่ 1 ปี 2553 เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ความถี่อันตรภาคชั้น จากอันตรภาคชั้น 17-21 จะได้วา จานวนข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ ่ ความถี่สัมพัทธ์ ทาให้ได้ว่าความถี่ของอันตรภาคชั้น 7-11 จะมีคาเท่ากับ 0.2x20 = 4 จากนั้นก็ค่อยๆเติมตารางจนเต็ม ่ ดังนั้นสรุปได้ว่า อันตรภาคชั้น 2-6 มีความถี่สูงที่สุด คือ 7 35. ตอบข้อ 3 พิจารณา ก. จานวนผูว่างงานในภาคใต้ในเดือน กย. ปี 2550 ไม่จาเป็นต้องเท่ากับ ผู้วางงานในเดือน กย. ปี ้ ่ 2551 เนื่องจากแม้วาอัตรา ่ การว่างงานจะเท่ากันแต่จานวนกาลังแรงงานของปี 2550 กับ 2551 ไม่จาเป็นต้องเท่ากัน พิจารณา ข. จานวนผู้อยูในกาลังแรงงานทัวประเทศในเดือนกันยายน 2551 = ่ ่ คน ดังนั้น ข. ถูกต้อง 36. ตอบข้อ 4 ก่อนที่จะเก็บข้อมูล เราก็ควรจะรูก่อนว่าจะเอาข้อมูลอะไรบ้าง ดังนั้น ข้อ 4 จึงเป็นคาตอบที่ถูกต้อง ้ 37. ตอบ 101 คน ให้ M เป็นเซตของนักเรียนที่สอบผ่านวิชาคณิตศาสตร์ S เป็นเซตของนักเรียนที่สอบผ่านวิชาสังคมศึกษา T เป็นเซตของนักเรียนที่สอบผ่านวิชาภาษาไทย โดยแผนภาพเวนน์ออยเลอร์ M S 36-10-5- 50-10- 10 2 =19 5-7 =28 5 2 7 44-2-5-7 T =30 ดังนั้นมีนักเรียนที่สอบผ่านอย่างน้อย 1 วิชาคือ 19+28+30+10+5+2+7 = 101 คน 38. ตอบ 390 ต้น ลาดับเลขคณิตสาหรับจานวนต้นไม้แต่ละแถวคือ 12, 14, 16,… ซึ่งแทนได้ดวย ้ โดยที่ และ ดังนั้นลาดับเลขคณิตแทนด้วย 8 สถาบันปั้นน้อง 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com
  • 9. เฉลยข้อสอบ O-NET คณิตศาสตร์ ครั้งที่ 1 ปี 2553 เมื่อใส่เครื่องหมาย เข้าไปทั้งสองข้าง จะได้วา ่ ถ้า n=15 จะได้วาจานวนต้นไม้ทงหมด(ทั้งสิบห้าแถว) เท่ากับ ่ ั้ (ใช้สูตร ) 39. ตอบ 280 จานวน จานวนทีมีบางหลักซ้ากัน = จานวนที่เป็นไปได้ทั้งหมด – จานวนที่แต่ละหลักไม่ซ้ากันเลย ่ จานวนทีเ่ ป็นไปได้ทั้งหมด หาได้โดย หลักร้อย หลักสิบ หลักหน่วย 10 x 10 x 10 = 900 จานวน จานวนที่แต่ละหลักไม่ซากันเลย ้ หลักสิบ หลักหน่วย หลักร้อย (ใช้ไป 1 ตัวแล้ว) (ใช้ไป2 ตัวแล้ว) 10 x 9 x 8 = 720 จานวน ดังนั้นจานวนที่มีบางหลักซ้ากันมีทั้งหมดเท่ากับ 900-720 = 280 จานวน 40. ตอบ 240 วิธี 1. เลือกว่าสามีภรรยาที่นั่งติดกันอยู่อยู่ตรงไหนก่อน เลือกได้ทั้งหมด 5 แบบดังรูป 2. แต่ละแบบด้านบนจะมีทว่าง 4 ที่ซึ่งสามารถนั่งสลับกันยังไงก็ได้ ดังนั้นจะได้ทั้งหมด 4x3x2x1 = 24 แบบ ี่ 3. พิจารณาแต่ละคู่สามีภรรยาที่นั่งติด ก็สามารถนั่งสลับกันได้ ดังนั้นมีได้ทงหมด 2 แบบ ั้ สรุปก็คือจานวนแบบการนั่งโดยที่มีสามีภรรยาคู่หนึ่งนั่งติดกันคือ 5x24x2 = 240 แบบ สถาบันปั้นน้อง 9 390 ถ.ตะนาว แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร กทม. 10200 Tel. 08-4725-8840, 0-2224-2141 Email: punnong.school@gmail.com