SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
บทที่ 3
ระบบสมการเชิงเสน (14 ชั่วโมง)
3.1 ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร (3 ชั่วโมง)
3.2 การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟ (5 ชั่วโมง)
3.3 โจทยสมการเชิงเสนสองตัวแปร (6 ชั่วโมง)
เนื้อหาในบทนี้ตองการใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่มีสองสมการ
และกราฟของระบบสมการ การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชสมบัติของการเทากันและ
ใชกราฟของระบบสมการ และนําความรูที่ไดไปแกโจทยปญหา
ในบทนี้ไมเนนการฝกทักษะในการหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชกราฟ
ที่นําเสนอไวมีเจตนาเพียงใหนักเรียนไดรูจักวิธีการเทานั้น เพราะปจจุบันมีเครื่องมือที่สามารถแสดงกราฟ
และคําตอบของระบบสมการใหเห็นไดโดยงาย เชน เครื่องคํานวณเชิงกราฟ แตในการเรียนเรื่องนี้ยัง
ตองการใหนักเรียนไดรูจักใชกราฟเพื่อการวิเคราะหเกี่ยวกับคําตอบของระบบสมการ
สําหรับโจทยปญหาในบทนี้ จะเนนเฉพาะโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวน อัตราสวนและรอยละ
ระยะทาง อัตราเร็วและเวลา สําหรับโจทยปญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร เชน
โจทยเกี่ยวกับกระแสน้ํา รถไฟ และแรงงานจะเปนสาระที่นักเรียนจะไดเรียนในหนังสือเรียนสาระ
การเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. แกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและแปลความหมายกราฟของระบบสมการได
2. นําระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรไปใชแกปญหาได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
60
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1) เขียนกราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร และแปลความหมายกราฟของ
ระบบสมการได
2) หาคําตอบของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรจากกราฟที่กําหนดใหได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนความรูเรื่องสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวในบทที่ 2 เรื่อง
กราฟ อาจใชการอภิปรายซักถามเกี่ยวกับรูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปร ใหนักเรียนยกตัวอยาง
สมการ บอกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการและเขียนกราฟของสมการ แลวเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการหา
คําตอบและกราฟแสดงคําตอบของสมการที่กลาวไวในหัวขอนี้ จากนั้นใหชวยกันสรุปวาสมการเชิงเสน
สองตัวแปร Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B, C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไมเทากับศูนยพรอมกัน มีคูอันดับ
ที่เปนคําตอบมากมายนับไมถวน
2. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับปญหาที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจําวัน เชน ปญหาเกี่ยวกับจํานวน
ดังเสนอไวในหนังสือเรียน ใหนักเรียนเห็นความสัมพันธของปริมาณสองปริมาณ เพื่อนําไปสูระบบ
สมการเชิงเสนสองตัวแปร ซึ่งระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่เราจะศึกษาในหัวขอนี้ เปนระบบสมการ
เชิงเสนที่มีตัวแปรสองตัวและมีสมการสองสมการเทานั้น
3. การเขียนกราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร ในชั้นนี้ครูควรใหนักเรียนใชกระดาษ
กราฟ แนะนําใหนักเรียนใชมาตราสวนเดียวกันและความยาวตอหนวยเทากันบนแกนทั้งสอง ทั้งนี้เพื่อ
ความสะดวกในการเขียน อาน และแปลความหมายกราฟของระบบสมการ
4. ตัวอยางการใชกราฟหาคําตอบของระบบสมการ นอกจากแสดงการหาคําตอบของระบบ
สมการแลว ยังมีเจตนาใหนักเรียนไดเห็นวา จํานวนคําตอบของระบบสมการเปนอยางหนึ่งอยางใดใน
3 แบบ คือ มีคําตอบเดียว มีหลายคําตอบ หรือไมมีคําตอบ
5. การเขียนกราฟในแบบฝกหัด 3.1 ครูควรแนะนําใหนักเรียนหาคูอันดับที่สอดคลองกับ
สมการมาอยางนอย 3 คู ดังที่เคยเรียนมาแลวในเรื่องกราฟ แมวาจะไมมีการแสดงคูอันดับที่สอดคลองกับ
สมการใหเห็นในตัวอยาง
61
3.2 การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟ (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1) แกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชสมบัติของการเทากันได
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชสมบัติของการเทากัน ในที่นี้ไมได
แสดงการตรวจสอบคําตอบดวยเหตุผลดังกลาวไวในหนังสือเรียนหนา 127 ซึ่งเปนไปตามทฤษฎีบท
เกี่ยวกับสมการ ครูควรย้ํากับนักเรียนวาหากไมแนใจในการคํานวณ นักเรียนควรตรวจสอบคําตอบใน
กระดาษทดโดยไมตองเขียนแสดงการตรวจสอบใหเห็นก็ได
2. ครูทบทวนสมบัติของการเทากันโดยยกตัวอยางประกอบเพื่อใหเห็นจริง ใหนักเรียนรวมกัน
อภิปรายและระบุสมบัติที่นํามาใช พรอมทั้งทําความเขาใจเกี่ยวกับสัญลักษณที่ใชในขั้นตอนการแกระบบ
สมการ เชน 1 + 2 และ 2 × 3 เปนตน
3. ในตัวอยางที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 3 หลังจากแกระบบสมการโดยใชสมบัติของการเทากันแลว ได
เขียนกราฟของระบบสมการเพื่อตรวจสอบคําตอบ และแสดงใหเห็นวาคําตอบที่อานจากกราฟและจากการ
คํานวณตรงกัน ในกรณีที่ระบบสมการมีคําตอบมากมายไมจํากัด นักเรียนตองระบุคําตอบในรูปทั่วไปซึ่ง
ในชั้นนี้เพื่อใหนักเรียนเขาใจงายขึ้น จึงเขียนคําตอบอยูในรูปคูอันดับที่ติดคา x เมื่อให x เปนคาคงตัวที่ไม
ทราบคา ดังในตัวอยางที่ 3 เขียนคําตอบอยูในรูป ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
2
3x
,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ
4. ในตัวอยางที่ 6 ไดแสดงการขจัดตัวแปรโดยใชการแทนคา ซึ่งการแทนคาที่อางถึงนี้เปนการ
ใชสมบัติของการเทากันอยูหลายขั้นตอน
62
3.3 โจทยสมการเชิงเสนสองตัวแปร (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1) ใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรแกโจทยปญหาได
2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยใชปญหาในกิจกรรมเสนอแนะ 3.3 เพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชน
ของการใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรมาแกโจทยปญหา ซึ่งถาใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวอาจทํา
ไมได หรือถาทําไดก็จะยุงยากมาก ตอจากนั้นใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหโจทยปญหาเปนขั้นตอนดังที่
เสนอเปนตัวอยางไว
2. การแกโจทยปญหาโดยใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรยังตองมีการตรวจสอบคําตอบกับ
เงื่อนไขในโจทย ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบวาระบบสมการที่หามาไดและการคํานวณถูกตองหรือไม
3. โจทยปญหาบางขออาจตองใชความรูอื่น ๆ ที่นักเรียนเคยทราบมาแลว เชน สัดสวน
เพื่อนําไปสูสมการเชิงเสนสองตัวแปรดังในตัวอยางที่ 4
4. กิจกรรม “หาไดอยางไร” แสดงใหเห็นการนําระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรไปใชในการ
สรางสมการเชิงเสนสองตัวแปรตามเงื่อนไขที่โจทยกําหนดในรูป y = ax + b เมื่อ a และ b เปนคาคงตัว
ที่ไมทราบคา ในที่นี้ไดกําหนดคา x และ y มา 2 ชุด เพื่อหาคา a และ b หลังจากไดคา a และ b
แลวจะไดสมการเชิงเสนสองตัวแปรตามตองการซึ่งสามารถนําไปใชแกปญหาตอไป
สําหรับนักเรียนที่เรียนเรื่องการแปรผันมาแลว ครูอาจเชื่อมโยงใหเห็นวาโจทยปญหาเกี่ยวกับ
การแปรผันบางเรื่อง อาจตองใชความรูในเรื่องระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรมาใชในการแกปญหา
ดังตัวอยางในกิจกรรมนี้
63
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 3.1
1.
1)
Y
2
2 4
4
6
8
6 80
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
2x + 3y = 7
x + 2y = 4
-8
X
จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีคําตอบเดียว
2)
2
2 4
4
6
8
6 80
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
2y + 2x = -4
y + x = -2
-8
Y
X
จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีหลายคําตอบ
64
3)
2
2 4
4
6 80
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
2x – 6y = 8
x – 3y = 6
-8
6
8
Y
X
จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้ไมมีคําตอบ
4)
2
2 4
4
6
6 8
8
0
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
4x + 2y = -6
2x + y = -3
Y
X
จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีหลายคําตอบ
65
5)
Y
X
2
2 4
4
6
8 2y – x = 6
6 80
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
2y = x – 4
จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้ไมมีคําตอบ
6)
2
2 4
4
6
6 8
8
0
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
2x – 3y – 14 = 0
3x + 2y = 8
Y
X
จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีคําตอบเดียว
2.
1) มีคําตอบ
2) ไมมีคําตอบ
3) มีคําตอบเดียว คือ (2, 1)
66
4) มีคําตอบเดียว คือ (3, -3)
5) มีคําตอบเดียว คือ (-2, 3)
6) มีคําตอบ
คําตอบแบบฝกหัด 3.2
1.
1) คําตอบคือ (1, 1)
2
2 4
4
6
6 8
8
0
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
3x + 2y = 5
x + 7y = 8
(1, 1)
Y
X
2) คําตอบคือ (2, -1)
8
2
2 4
4
60
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
3x – y = 7
4x – 3y – 11 = 0
(2, -1)
6
8
Y
X
67
3) คําตอบคือ (-4, -3)
2
2 4
4
6
6 8
8
0
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
3x + 4y = -24
3x – 4y = 0
(-4, -3)
Y
X
4) ไมมีคําตอบ
2
2 4
4
6
8
6 80
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
2x + 4y – 5 = 0
x + 2y – 1 = 0
-8
Y
X
68
5) ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรมีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
3
124x
,x
เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ
6) คําตอบคือ ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
12
1
,12
5
x = 3
4 y + 3
Y
X
2
2 4
4
6
8
0 6 8
-2
-2-4
-4
-6
-6
-8
-8
4x – 3y = 12
x + y = 1
2
x – 3y = 1
6
⎟
⎠
⎞⎜
⎝
⎛
12
1
,
12
5
-1
1
1
0-1
Y
X
69
7) ไมมีคําตอบ
Y
8) ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป (x, 2x – 4)
เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ
2.
1) (29, 36)
2) ไมมีคําตอบ
3) มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
2
2x4
,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ
X
2
2 4
4
6
8
6 80
-2
-2-4
-4
-6
-6
-6x + 9y = -12
-8
2x – 3y = 5 -8
y – 2x = -4
x – 1
2 y = 2
-8 -6 -4 86
2
2 4
4
6
8
0
-2
-2
-4
-6
-8
Y
X
70
4) (5, -3)
5) มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
3
124x
,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ
6) (1.1, -0.2)
7) ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛
19
11
,19
31
8) ไมมีคําตอบ
9) มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ +
9
74x
,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ
10) ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ 3,2
1
-
11) (0, 3)
12) ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ 2-,2
9
-
คําตอบแบบฝกหัด 3.3
1. 15 และ 2
5
2. 95
แนวคิด ให x แทนเลขโดดในหลักสิบ
y แทนเลขโดดในหลักหนวย
จํานวนที่มีสองหลักที่ตองการคือ 10x + y
เมื่อสลับหลักของเลขโดดทั้งสอง จะได จํานวนใหมเปน 10y + x
จะไดระบบสมการเปน x – y = 4 ------------ 1
(10x + y) + (10y + x) = 154 ------------ 2
3. มะลิซื้อสมโอผลเล็ก 20 ผล ผลใหญ 10 ผล
4. 105 องศา, 32 องศา และ 43 องศา
5. ติ๊กมีเหรียญสิบบาท 80 เหรียญ และมีเหรียญหนึ่งบาท 120 เหรียญ
6. ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทากับ 48 เซนติเมตร
ความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทา เทากับ 24 เซนติเมตร
71
7. ในสระนี้มีดอกบัว 3 ดอก และนกกระจาบ 4 ตัว
แนวคิด ให x แทนจํานวนนกกระจาบทั้งหมด
และ y แทนจํานวนดอกบัวทั้งหมด
ถานกจับดอกบัวดอกละ 1 ตัว จะตองมีนกที่จับดอกบัวอยู y ตัว
แตโจทยบอกวา เหลือนก 1 ตัวที่ไมมีบัวจับ
จะได x – y = 1 ------------- 1
ถานกจับดอกบัวดอกละ 2 ตัว จะมีบัวที่นกจับอยู 2
x ดอก
แตโจทยบอกวา เหลือดอกบัว 1 ดอกที่ไมมีนกจับ
จะได y – 2
x = 1 ------------- 2
8. แสนดีออมเงินได 764 บาท
เสาวนียออมเงินได 588 บาท
9. รัตนานําเงินฝากธนาคาร 40,000 บาท และนําไปลงทุน 80,000 บาท
10. พอคาใชกาแฟชนิดราคากิโลกรัมละ 170 บาท 25 กิโลกรัม
ใชกาแฟชนิดราคากิโลกรัมละ 150 บาท 5 กิโลกรัม
11. แมคาขายสมชนิดแรกได 64 กิโลกรัม
ขายสมชนิดที่สองได 6 กิโลกรัม
12. อัตราสวนของขาวกลองตอขาวมันปูโดยน้ําหนักเปน 7 : 4
13. 12.30 น.
14.
1) 35 กิโลเมตรตอชั่วโมง
2) 26.25 กิโลเมตร
15.
1) อนขับรถยนตดวยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง
เอกขับรถยนตดวยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง
2) 120 กิโลเมตร
72
คําตอบกิจกรรม “หาไดอยางไร”
สมการแสดงความสัมพันธระหวางรายไดแตละเดือนกับยอดขายตลอดเดือนเปน
y = 0.05x + 7,200 เมื่อ x แทนยอดขายตลอดเดือน และ y แทนรายไดแตละเดือน
เขาจะมีรายได 19,725 บาท
แนวคิด ให x แทนยอดขายตลอดเดือน
y แทนรายไดแตละเดือน
a แทนเปอรเซ็นตจากยอดขายตลอดเดือน
b แทนเงินเดือน
ใหสมการแสดงความสัมพันธระหวางรายไดแตละเดือนกับยอดขายตลอดเดือนได
เปน y = ax +b
เดือนแรกมีรายได 15,000 บาท จากยอดขาย 156,000 บาท
จะได 15,000 = 156,000a + b ---------- 1
และเดือนที่สองมีรายได 17,200 บาท จากยอดขาย 200,000 บาท
จะได 17,000 = 200,000a + b ---------- 2
73
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
74
กิจกรรมเสนอแนะ 3.3
กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใชจูงใจใหนักเรียนเห็นประโยชนและขั้นตอนของการแกโจทย
ปญหาโดยใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร
หลานและปูสนทนากัน หลานพยายามถามอายุของคุณปู แตปูไมตอบตรง ๆ กลับบอกวา
“ปจจุบันครึ่งหนึ่งของอายุของปูเทากับสี่เทาของอายุของหลานลบออกเสีย 6 และอีก 6 ปขางหนา อายุของปู
ก็จะเปนหาเทาของอายุของหลาน”
นักเรียนคิดวาปจจุบันปูอายุเทาไร
คําตอบกิจกรรม
ปจจุบันปูมีอายุ 84 ป
ขั้นตอนการแกโจทยปญหาโดยใชระบบสมการอาจทําได 5 ขั้นตอน ดังนี้
1) วิเคราะหโจทยปญหา
โจทยถามอะไร : อายุปจจุบันของคุณปู
โจทยกําหนดอะไร : ปจจุบันครึ่งหนึ่งของอายุของปูเทากับ 4 เทาของอายุของหลาน
ลบดวย 6 และอีก 6 ปขางหนา อายุของปูจะเปน 5 เทาของ
อายุของหลาน
2) กําหนดตัวแปร ใหปจจุบันปูมีอายุ x ป หลานมีอายุ y ป
3) เขียนระบบสมการ จะได 2
x = 4y – 6 ---------- 1
และ x + 6 = 5(y + 6) ---------- 2
4) แกระบบสมการ จากสมการ 1 จะได
x = 8y – 12 ---------- 3
แทน x ดวย 8y – 12 ในสมการ 2 จะได
(8y – 12) + 6 = 5(y + 6)
8y – 6 = 5y + 30
3y = 36
y = 12
แทน y ดวย 12 ในสมการ 3 จะได
75
x = 8(12) – 12
= 84
5) ตรวจสอบคําตอบ ถาปจจุบันปูมีอายุ 84 ป และหลานอายุ 12 ป
ครึ่งหนึ่งของอายุของปูเทากับ 2
84 = 42 ป
สี่เทาของอายุของหลานลบออกเสีย 6 เทากับ 4 × 12 = 48 ป
จะได 42 = 48 – 6
อีก 6 ปขางหนา ปูจะมีอายุ 84 + 6 = 90 ป
และหลานจะมีอายุ 12 + 6 = 18 ป
จะได 90 = 5 × 18
ซึ่งเปนจริงตามเงื่อนไขในโจทย
ดังนั้น ปจจุบันปูมีอายุ 84 ป

More Related Content

What's hot

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
TKAomerz
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
Kanchanid Kanmungmee
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
seelopa
 
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
ธิดา ก๋าคำ
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
GiveAGift
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
ครู กรุณา
 

What's hot (20)

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat56March
Pat56MarchPat56March
Pat56March
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
 
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
Pat1 พ.ย. 57
Pat1 พ.ย. 57Pat1 พ.ย. 57
Pat1 พ.ย. 57
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)Real Number(ระบบจำนวนจริง)
Real Number(ระบบจำนวนจริง)
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
Vector
VectorVector
Vector
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2555
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 

Similar to Basic m3-1-chapter3

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
suwanpinit
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
krookay2012
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
พัน พัน
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
พัน พัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
narong2508
 

Similar to Basic m3-1-chapter3 (20)

Equation
EquationEquation
Equation
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31คณิตศาสตร์ม.31
คณิตศาสตร์ม.31
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2
 
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
เมทริกซ์ระดับชั้นมัธยมปลาย(Matrix)
 
ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2 ระบบสมการเชิงเส้น 2
ระบบสมการเชิงเส้น 2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2Add m1-1-chapter2
Add m1-1-chapter2
 
สอบ กราฟ
สอบ กราฟ สอบ กราฟ
สอบ กราฟ
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
การบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนามการบวกและการลบพหุนาม
การบวกและการลบพหุนาม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 

Basic m3-1-chapter3

  • 1. บทที่ 3 ระบบสมการเชิงเสน (14 ชั่วโมง) 3.1 ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร (3 ชั่วโมง) 3.2 การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟ (5 ชั่วโมง) 3.3 โจทยสมการเชิงเสนสองตัวแปร (6 ชั่วโมง) เนื้อหาในบทนี้ตองการใหนักเรียนมีความรูเกี่ยวกับระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่มีสองสมการ และกราฟของระบบสมการ การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชสมบัติของการเทากันและ ใชกราฟของระบบสมการ และนําความรูที่ไดไปแกโจทยปญหา ในบทนี้ไมเนนการฝกทักษะในการหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชกราฟ ที่นําเสนอไวมีเจตนาเพียงใหนักเรียนไดรูจักวิธีการเทานั้น เพราะปจจุบันมีเครื่องมือที่สามารถแสดงกราฟ และคําตอบของระบบสมการใหเห็นไดโดยงาย เชน เครื่องคํานวณเชิงกราฟ แตในการเรียนเรื่องนี้ยัง ตองการใหนักเรียนไดรูจักใชกราฟเพื่อการวิเคราะหเกี่ยวกับคําตอบของระบบสมการ สําหรับโจทยปญหาในบทนี้ จะเนนเฉพาะโจทยปญหาเกี่ยวกับจํานวน อัตราสวนและรอยละ ระยะทาง อัตราเร็วและเวลา สําหรับโจทยปญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร เชน โจทยเกี่ยวกับกระแสน้ํา รถไฟ และแรงงานจะเปนสาระที่นักเรียนจะไดเรียนในหนังสือเรียนสาระ การเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. แกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและแปลความหมายกราฟของระบบสมการได 2. นําระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรไปใชแกปญหาได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 60 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1) เขียนกราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร และแปลความหมายกราฟของ ระบบสมการได 2) หาคําตอบของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรจากกราฟที่กําหนดใหได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนความรูเรื่องสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวในบทที่ 2 เรื่อง กราฟ อาจใชการอภิปรายซักถามเกี่ยวกับรูปทั่วไปของสมการเชิงเสนสองตัวแปร ใหนักเรียนยกตัวอยาง สมการ บอกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการและเขียนกราฟของสมการ แลวเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการหา คําตอบและกราฟแสดงคําตอบของสมการที่กลาวไวในหัวขอนี้ จากนั้นใหชวยกันสรุปวาสมการเชิงเสน สองตัวแปร Ax + By + C = 0 เมื่อ A, B, C เปนคาคงตัวที่ A และ B ไมเทากับศูนยพรอมกัน มีคูอันดับ ที่เปนคําตอบมากมายนับไมถวน 2. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับปญหาที่นักเรียนพบเห็นในชีวิตประจําวัน เชน ปญหาเกี่ยวกับจํานวน ดังเสนอไวในหนังสือเรียน ใหนักเรียนเห็นความสัมพันธของปริมาณสองปริมาณ เพื่อนําไปสูระบบ สมการเชิงเสนสองตัวแปร ซึ่งระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่เราจะศึกษาในหัวขอนี้ เปนระบบสมการ เชิงเสนที่มีตัวแปรสองตัวและมีสมการสองสมการเทานั้น 3. การเขียนกราฟของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร ในชั้นนี้ครูควรใหนักเรียนใชกระดาษ กราฟ แนะนําใหนักเรียนใชมาตราสวนเดียวกันและความยาวตอหนวยเทากันบนแกนทั้งสอง ทั้งนี้เพื่อ ความสะดวกในการเขียน อาน และแปลความหมายกราฟของระบบสมการ 4. ตัวอยางการใชกราฟหาคําตอบของระบบสมการ นอกจากแสดงการหาคําตอบของระบบ สมการแลว ยังมีเจตนาใหนักเรียนไดเห็นวา จํานวนคําตอบของระบบสมการเปนอยางหนึ่งอยางใดใน 3 แบบ คือ มีคําตอบเดียว มีหลายคําตอบ หรือไมมีคําตอบ 5. การเขียนกราฟในแบบฝกหัด 3.1 ครูควรแนะนําใหนักเรียนหาคูอันดับที่สอดคลองกับ สมการมาอยางนอย 3 คู ดังที่เคยเรียนมาแลวในเรื่องกราฟ แมวาจะไมมีการแสดงคูอันดับที่สอดคลองกับ สมการใหเห็นในตัวอยาง
  • 3. 61 3.2 การแกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรและกราฟ (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1) แกระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชสมบัติของการเทากันได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. การหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรโดยใชสมบัติของการเทากัน ในที่นี้ไมได แสดงการตรวจสอบคําตอบดวยเหตุผลดังกลาวไวในหนังสือเรียนหนา 127 ซึ่งเปนไปตามทฤษฎีบท เกี่ยวกับสมการ ครูควรย้ํากับนักเรียนวาหากไมแนใจในการคํานวณ นักเรียนควรตรวจสอบคําตอบใน กระดาษทดโดยไมตองเขียนแสดงการตรวจสอบใหเห็นก็ได 2. ครูทบทวนสมบัติของการเทากันโดยยกตัวอยางประกอบเพื่อใหเห็นจริง ใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายและระบุสมบัติที่นํามาใช พรอมทั้งทําความเขาใจเกี่ยวกับสัญลักษณที่ใชในขั้นตอนการแกระบบ สมการ เชน 1 + 2 และ 2 × 3 เปนตน 3. ในตัวอยางที่ 1 ถึงตัวอยางที่ 3 หลังจากแกระบบสมการโดยใชสมบัติของการเทากันแลว ได เขียนกราฟของระบบสมการเพื่อตรวจสอบคําตอบ และแสดงใหเห็นวาคําตอบที่อานจากกราฟและจากการ คํานวณตรงกัน ในกรณีที่ระบบสมการมีคําตอบมากมายไมจํากัด นักเรียนตองระบุคําตอบในรูปทั่วไปซึ่ง ในชั้นนี้เพื่อใหนักเรียนเขาใจงายขึ้น จึงเขียนคําตอบอยูในรูปคูอันดับที่ติดคา x เมื่อให x เปนคาคงตัวที่ไม ทราบคา ดังในตัวอยางที่ 3 เขียนคําตอบอยูในรูป ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 2 3x ,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ 4. ในตัวอยางที่ 6 ไดแสดงการขจัดตัวแปรโดยใชการแทนคา ซึ่งการแทนคาที่อางถึงนี้เปนการ ใชสมบัติของการเทากันอยูหลายขั้นตอน
  • 4. 62 3.3 โจทยสมการเชิงเสนสองตัวแปร (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1) ใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรแกโจทยปญหาได 2) ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 3.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูนําเขาสูบทเรียนโดยใชปญหาในกิจกรรมเสนอแนะ 3.3 เพื่อใหนักเรียนเห็นประโยชน ของการใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรมาแกโจทยปญหา ซึ่งถาใชสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวอาจทํา ไมได หรือถาทําไดก็จะยุงยากมาก ตอจากนั้นใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหโจทยปญหาเปนขั้นตอนดังที่ เสนอเปนตัวอยางไว 2. การแกโจทยปญหาโดยใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรยังตองมีการตรวจสอบคําตอบกับ เงื่อนไขในโจทย ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบวาระบบสมการที่หามาไดและการคํานวณถูกตองหรือไม 3. โจทยปญหาบางขออาจตองใชความรูอื่น ๆ ที่นักเรียนเคยทราบมาแลว เชน สัดสวน เพื่อนําไปสูสมการเชิงเสนสองตัวแปรดังในตัวอยางที่ 4 4. กิจกรรม “หาไดอยางไร” แสดงใหเห็นการนําระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรไปใชในการ สรางสมการเชิงเสนสองตัวแปรตามเงื่อนไขที่โจทยกําหนดในรูป y = ax + b เมื่อ a และ b เปนคาคงตัว ที่ไมทราบคา ในที่นี้ไดกําหนดคา x และ y มา 2 ชุด เพื่อหาคา a และ b หลังจากไดคา a และ b แลวจะไดสมการเชิงเสนสองตัวแปรตามตองการซึ่งสามารถนําไปใชแกปญหาตอไป สําหรับนักเรียนที่เรียนเรื่องการแปรผันมาแลว ครูอาจเชื่อมโยงใหเห็นวาโจทยปญหาเกี่ยวกับ การแปรผันบางเรื่อง อาจตองใชความรูในเรื่องระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรมาใชในการแกปญหา ดังตัวอยางในกิจกรรมนี้
  • 5. 63 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 3.1 1. 1) Y 2 2 4 4 6 8 6 80 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 2x + 3y = 7 x + 2y = 4 -8 X จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีคําตอบเดียว 2) 2 2 4 4 6 8 6 80 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 2y + 2x = -4 y + x = -2 -8 Y X จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีหลายคําตอบ
  • 6. 64 3) 2 2 4 4 6 80 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 2x – 6y = 8 x – 3y = 6 -8 6 8 Y X จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้ไมมีคําตอบ 4) 2 2 4 4 6 6 8 8 0 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 4x + 2y = -6 2x + y = -3 Y X จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีหลายคําตอบ
  • 7. 65 5) Y X 2 2 4 4 6 8 2y – x = 6 6 80 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 2y = x – 4 จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้ไมมีคําตอบ 6) 2 2 4 4 6 6 8 8 0 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 2x – 3y – 14 = 0 3x + 2y = 8 Y X จากกราฟ จะเห็นวาระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีคําตอบเดียว 2. 1) มีคําตอบ 2) ไมมีคําตอบ 3) มีคําตอบเดียว คือ (2, 1)
  • 8. 66 4) มีคําตอบเดียว คือ (3, -3) 5) มีคําตอบเดียว คือ (-2, 3) 6) มีคําตอบ คําตอบแบบฝกหัด 3.2 1. 1) คําตอบคือ (1, 1) 2 2 4 4 6 6 8 8 0 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 3x + 2y = 5 x + 7y = 8 (1, 1) Y X 2) คําตอบคือ (2, -1) 8 2 2 4 4 60 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 3x – y = 7 4x – 3y – 11 = 0 (2, -1) 6 8 Y X
  • 9. 67 3) คําตอบคือ (-4, -3) 2 2 4 4 6 6 8 8 0 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 3x + 4y = -24 3x – 4y = 0 (-4, -3) Y X 4) ไมมีคําตอบ 2 2 4 4 6 8 6 80 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 2x + 4y – 5 = 0 x + 2y – 1 = 0 -8 Y X
  • 10. 68 5) ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรมีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 3 124x ,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ 6) คําตอบคือ ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 12 1 ,12 5 x = 3 4 y + 3 Y X 2 2 4 4 6 8 0 6 8 -2 -2-4 -4 -6 -6 -8 -8 4x – 3y = 12 x + y = 1 2 x – 3y = 1 6 ⎟ ⎠ ⎞⎜ ⎝ ⎛ 12 1 , 12 5 -1 1 1 0-1 Y X
  • 11. 69 7) ไมมีคําตอบ Y 8) ระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปรนี้มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป (x, 2x – 4) เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ 2. 1) (29, 36) 2) ไมมีคําตอบ 3) มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 2 2x4 ,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ X 2 2 4 4 6 8 6 80 -2 -2-4 -4 -6 -6 -6x + 9y = -12 -8 2x – 3y = 5 -8 y – 2x = -4 x – 1 2 y = 2 -8 -6 -4 86 2 2 4 4 6 8 0 -2 -2 -4 -6 -8 Y X
  • 12. 70 4) (5, -3) 5) มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 3 124x ,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ 6) (1.1, -0.2) 7) ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 19 11 ,19 31 8) ไมมีคําตอบ 9) มีคําตอบมากมายไมจํากัดอยูในรูป ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ + 9 74x ,x เมื่อ x แทนจํานวนจริงใด ๆ 10) ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 3,2 1 - 11) (0, 3) 12) ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ 2-,2 9 - คําตอบแบบฝกหัด 3.3 1. 15 และ 2 5 2. 95 แนวคิด ให x แทนเลขโดดในหลักสิบ y แทนเลขโดดในหลักหนวย จํานวนที่มีสองหลักที่ตองการคือ 10x + y เมื่อสลับหลักของเลขโดดทั้งสอง จะได จํานวนใหมเปน 10y + x จะไดระบบสมการเปน x – y = 4 ------------ 1 (10x + y) + (10y + x) = 154 ------------ 2 3. มะลิซื้อสมโอผลเล็ก 20 ผล ผลใหญ 10 ผล 4. 105 องศา, 32 องศา และ 43 องศา 5. ติ๊กมีเหรียญสิบบาท 80 เหรียญ และมีเหรียญหนึ่งบาท 120 เหรียญ 6. ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทากับ 48 เซนติเมตร ความยาวรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมดานเทา เทากับ 24 เซนติเมตร
  • 13. 71 7. ในสระนี้มีดอกบัว 3 ดอก และนกกระจาบ 4 ตัว แนวคิด ให x แทนจํานวนนกกระจาบทั้งหมด และ y แทนจํานวนดอกบัวทั้งหมด ถานกจับดอกบัวดอกละ 1 ตัว จะตองมีนกที่จับดอกบัวอยู y ตัว แตโจทยบอกวา เหลือนก 1 ตัวที่ไมมีบัวจับ จะได x – y = 1 ------------- 1 ถานกจับดอกบัวดอกละ 2 ตัว จะมีบัวที่นกจับอยู 2 x ดอก แตโจทยบอกวา เหลือดอกบัว 1 ดอกที่ไมมีนกจับ จะได y – 2 x = 1 ------------- 2 8. แสนดีออมเงินได 764 บาท เสาวนียออมเงินได 588 บาท 9. รัตนานําเงินฝากธนาคาร 40,000 บาท และนําไปลงทุน 80,000 บาท 10. พอคาใชกาแฟชนิดราคากิโลกรัมละ 170 บาท 25 กิโลกรัม ใชกาแฟชนิดราคากิโลกรัมละ 150 บาท 5 กิโลกรัม 11. แมคาขายสมชนิดแรกได 64 กิโลกรัม ขายสมชนิดที่สองได 6 กิโลกรัม 12. อัตราสวนของขาวกลองตอขาวมันปูโดยน้ําหนักเปน 7 : 4 13. 12.30 น. 14. 1) 35 กิโลเมตรตอชั่วโมง 2) 26.25 กิโลเมตร 15. 1) อนขับรถยนตดวยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง เอกขับรถยนตดวยอัตราเร็ว 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง 2) 120 กิโลเมตร
  • 14. 72 คําตอบกิจกรรม “หาไดอยางไร” สมการแสดงความสัมพันธระหวางรายไดแตละเดือนกับยอดขายตลอดเดือนเปน y = 0.05x + 7,200 เมื่อ x แทนยอดขายตลอดเดือน และ y แทนรายไดแตละเดือน เขาจะมีรายได 19,725 บาท แนวคิด ให x แทนยอดขายตลอดเดือน y แทนรายไดแตละเดือน a แทนเปอรเซ็นตจากยอดขายตลอดเดือน b แทนเงินเดือน ใหสมการแสดงความสัมพันธระหวางรายไดแตละเดือนกับยอดขายตลอดเดือนได เปน y = ax +b เดือนแรกมีรายได 15,000 บาท จากยอดขาย 156,000 บาท จะได 15,000 = 156,000a + b ---------- 1 และเดือนที่สองมีรายได 17,200 บาท จากยอดขาย 200,000 บาท จะได 17,000 = 200,000a + b ---------- 2
  • 16. 74 กิจกรรมเสนอแนะ 3.3 กิจกรรมนี้เสนอไวเพื่อใชจูงใจใหนักเรียนเห็นประโยชนและขั้นตอนของการแกโจทย ปญหาโดยใชระบบสมการเชิงเสนสองตัวแปร หลานและปูสนทนากัน หลานพยายามถามอายุของคุณปู แตปูไมตอบตรง ๆ กลับบอกวา “ปจจุบันครึ่งหนึ่งของอายุของปูเทากับสี่เทาของอายุของหลานลบออกเสีย 6 และอีก 6 ปขางหนา อายุของปู ก็จะเปนหาเทาของอายุของหลาน” นักเรียนคิดวาปจจุบันปูอายุเทาไร คําตอบกิจกรรม ปจจุบันปูมีอายุ 84 ป ขั้นตอนการแกโจทยปญหาโดยใชระบบสมการอาจทําได 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1) วิเคราะหโจทยปญหา โจทยถามอะไร : อายุปจจุบันของคุณปู โจทยกําหนดอะไร : ปจจุบันครึ่งหนึ่งของอายุของปูเทากับ 4 เทาของอายุของหลาน ลบดวย 6 และอีก 6 ปขางหนา อายุของปูจะเปน 5 เทาของ อายุของหลาน 2) กําหนดตัวแปร ใหปจจุบันปูมีอายุ x ป หลานมีอายุ y ป 3) เขียนระบบสมการ จะได 2 x = 4y – 6 ---------- 1 และ x + 6 = 5(y + 6) ---------- 2 4) แกระบบสมการ จากสมการ 1 จะได x = 8y – 12 ---------- 3 แทน x ดวย 8y – 12 ในสมการ 2 จะได (8y – 12) + 6 = 5(y + 6) 8y – 6 = 5y + 30 3y = 36 y = 12 แทน y ดวย 12 ในสมการ 3 จะได
  • 17. 75 x = 8(12) – 12 = 84 5) ตรวจสอบคําตอบ ถาปจจุบันปูมีอายุ 84 ป และหลานอายุ 12 ป ครึ่งหนึ่งของอายุของปูเทากับ 2 84 = 42 ป สี่เทาของอายุของหลานลบออกเสีย 6 เทากับ 4 × 12 = 48 ป จะได 42 = 48 – 6 อีก 6 ปขางหนา ปูจะมีอายุ 84 + 6 = 90 ป และหลานจะมีอายุ 12 + 6 = 18 ป จะได 90 = 5 × 18 ซึ่งเปนจริงตามเงื่อนไขในโจทย ดังนั้น ปจจุบันปูมีอายุ 84 ป