SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

                    เรื่อง

         สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
               (เนื้อหาตอนที่ 9)
            การกระจายสัมพัทธ์

                    โดย

        อาจารย์ ดร.รตินันท์ บุญเคลือบ


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


               สื่อการสอน เรื่อง สถิตและการวิเคราะห์ข้อมูล
                                     ิ
        สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 27 ตอน
ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
2. เนื้อหาตอนที่ 1 บทนา (เนื้อหา)
                      - ความหมายของสถิติ
                      - ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล
                      - การสารวจความคิดเห็น
3. เนื้อหาตอนที่ 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
                      - ค่ากลางของข้อมูล
4. เนื้อหาตอนที่ 3 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
                      - แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
5. เนื้อหาตอนที่ 4 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
                      - ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
                      - มัธยฐาน
                      - ฐานนิยม
                      - ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
                      - ค่ากลางฮาร์โมนิก
6. เนื้อหาตอนที่ 5 การกระจายของข้อมูล
                      - ตาแหน่งของข้อมูล
7. เนื้อหาตอนที่ 6 การกระจายสัมบูรณ์ 1
                      - การกระจายสัมบูรณ์และการกระจายสัมพัทธ์
                      - พิสัย (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
                      - ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
                      - ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
8. เนื้อหาตอนที่ 7 การกระจายสัมบูรณ์ 2
                      - ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่)
                      - ความแปรปรวน



                                              1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


 9. เนื้อหาตอนที่ 8       การกระจายสัมบูรณ์ 3
                          - พิสัย (ข้อมูลแจกแจงความถี่)
                          - ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (ข้อมูลแจกแจงความถี่)
                          - ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ข้อมูลแจกแจงความถี่)
                          - ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ข้อมูลแจกแจงความถี่)
10. เนื้อหาตอนที่ 9 การกระจายสัมพัทธ์
                          - สัมประสิทธ์พิสัย
                          - สัมประสิทธ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
                          - สัมประสิทธ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
                          - สัมประสิทธ์ของความแปรผัน
11. เนื้อหาตอนที่ 10 คะแนนมาตรฐาน
                          - คะแนนมาตรฐาน
                          - การแจกแจงปกติ
12. เนื้อหาตอนที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
                          - ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
13. เนื้อหาตอนที่ 12 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
                          - ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
14. เนื้อหาตอนที่ 13 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
                          - โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
15. เนื้อหาตอนที่ 14 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
                          - โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
16. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
17. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
18. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3)
19. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4)
20. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 5)
21. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)
22. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การนาเสนอข้อมูล
23. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล
24. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การวัดการกระจายของข้อมูล
25. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การแจกแจงปกติ
                                                2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


26. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
27. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงพาราโบลาและความสัมพันธ์เชิงชี้กาลัง

          คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
 สาหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่
 คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชา
 คณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้




                                                3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


เรื่อง              สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล (การกระจายสัมพัทธ์)
หมวด                เนื้อหา
ตอนที่              9 (9/14)

หัวข้อย่อย          1. สัมประสิทธิ์พิสัย
                    2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์
                    3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
                    4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน

จุดประสงค์การเรียนรู้
    เพื่อให้ผู้เรียน
    1. เข้าใจความหมาย และความแตกต่างระหว่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์และการวัดการกระจาย
สัมพัทธ์
    2. คานวณการวัดการกระจายสัมพัทธ์แบบต่างๆ ได้
    3. เปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลสองข้อมูลขึ้นไปได้
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
    ผู้เรียนสามารถ
    1. อธิบายความหมาย และบอกความแตกต่างระหว่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์และการวัดการ
           กระจายสัมพัทธ์ได้
    2. คานวณการวัดการกระจายสัมพัทธ์แบบต่างๆ ได้
    3. เปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลสองข้อมูลขึ้นไปได้




                                                  4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                       เนื้อหาในสื่อการสอน




                            เนื้อหาทั้งหมด




                                     5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                     1. สัมประสิทธิ์พสัย
                                     ิ




                                     6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                             1. สัมประสิทธิ์พิสัย




สาหรับสื่อในตอนนี้ได้เริ่มจากการให้ความหมายของการกระจายสัมพัทธ์ และชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง
การกระจายสัมพัทธ์และการกระจายสัมบูรณ์ ทั้งนี้ครูอาจทบทวนนักเรียนเกี่ยวกับสูตรการวัดการกระจายสัมบูรณ์
แบบต่างๆ ก่อน




การกระจายสัมพัทธ์แบบแรกคือสัมประสิทธิ์พิสัย หรือบางครั้งอาจเรียกว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย สาหรับข้อมูลที่
แจกแจงความถี่ในรูปอันตรภาคชั้นนั้น จะมองว่า x max คือขอบบนของชั้นสุดท้ายเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
และ x min คือขอบล่างของชั้นแรกเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก




                                                      7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




  2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์




                                     8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                   2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์




ต่อมาได้กล่าวถึงสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ทั้งนี้นักเรียนอาจสงสัยว่าในการหาส่วนเบี่ยงเบน
                           Q3          Q1
ควอไทล์ใช้สูตร Q.D.                         แต่สาหรับสูตรของสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์กลับไม่มี
                                   2
การหารด้วย 2 ปรากฏอยู่ ในความเป็นจริงแล้วสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์มาจากสูตร
Q3       Q1
     2                    Q3       Q1
              โดยมองว่า                 เป็นเสมือนค่าเฉลี่ยของ Q3 และ Q1 ทาให้ในที่สุดแล้วสัมประสิทธิ์ของ
Q3       Q1                    2
     2
                                            Q3   Q1
ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์จึงกลายเป็น                       นั่นเอง
                                            Q3   Q1




                                                            9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




     3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย




                                     10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย




ต่อมาได้กล่าวถึงการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ซึ่งสัญลักษณ์ในการคานวณแตกต่างกันเล็กน้อยเมื่อ
ข้อมูลเป็นประชากร หรือเป็นตัวอย่าง




                                                      11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




          4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน




                                     12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                    4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน




สุดท้ายได้กล่าวถึงสัมประสิทธิ์ของความแปรผัน หรือสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน ซึ่งคานวณได้จากส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐานนั่นเอง

ทั้งนี้ก่อนทาการสรุปสูตรเกี่ยวกับการกระจายสัมพัทธ์ทั้งหมด ได้มีการย้าว่าการหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสาหรับ
ข้อมูลประชากรและข้อมูลตัวอย่างนั้นมีสูตรที่แตกต่างกันขอให้นักเรียนระวังไว้ให้จงหนัก




                                                      13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



ต่อมาได้ให้ตัวอย่างเกี่ยวกับการคานวณการกระจายทั้งแบบสัมบูรณ์และสัมพัทธ์เพื่อเป็นการทบทวนสูตรการ
คานวณที่ได้เรียนมาทั้งหมด




จากนั้นได้ยกตัวอย่างสถานการณ์ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้การวัดการกระจายแบบสัมพัทธ์ เพื่อให้นักเรียนคล่องแคล่ว
มากยิ่งขึ้น

เมื่อมาถึงตอนนี้ครูอาจนาข้อมูลที่เคยปรากฏในตัวอย่างหรือแบบฝึกหัดต่างๆ ที่ได้นาเสนอไปในสื่อตอนก่อนหน้า
นี้เพื่อเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนช่วยกันหาการกระจายสัมพัทธ์แบบต่างๆ ทาให้นักเรียนใช้สูตรได้คล่องแคล่ว
ยิ่งขึ้น

หมายเหตุ เพื่อให้นักเรียนได้รับประโยชน์สูงสุดจากตัวอย่างต่างๆ ที่จะยกให้ดูในสื่อ ทางผู้จัดทาจึงได้นาข้อสอบ
เข้ามหาวิทยาลัยมายกตัวอย่างให้นักเรียนได้ศึกษา ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเหล่านี้เป็นข้อสอบเมื่อราว 15 – 20 ปีที่
แล้ว ทางผู้จัดทาจึงขอขอบคุณทบวงมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นผู้กากับดูแลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเวลานั้นมา ณ ที่นี้




                                                       14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


สาหรับตัวอย่างต่อไป ไม่ได้คานวณค่าออกมาจนเป็นผลสาเร็จแต่ให้นักเรียนกลับไปคิดต่อ ซึ่งจากตัวอย่างจะได้ว่า




ข้อมูลชุด A มี A 5 2 และข้อมูลชุด B มี B                   5 10    จึงเห็นได้ชัดว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด
B มากกว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด A
                                                                   2
สาหรับสัมประสิทธิ์การแปรผันของข้อมูลชุด A ซึ่งเท่ากับ                      0.47   และสัมประสิทธิ์การแปรผันของข้อมูล
                                                                  3
                10
ชุด B เท่ากับ            0.40   ทาให้สรุปได้ว่า ข้อมูลชุด B มีสัมประสิทธิ์การแปรผันน้อยกว่าข้อมูลชุด A
                8


สาหรับตัวอย่างอีกสองตัวอย่างต่อไปนี้ได้ทิ้งไว้ให้นักเรียนช่วยกันฝึกคิด




                                                                       8    5     4   2    1
ตัวอย่างแรก จะได้ว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนวิชาสถิติเป็น                                        4
                                                                                  5




                                                          15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาสถิติเป็น
  (8   4)2    (5    4)2     (4       4)2   (2    4)2          (1       4)2
                                                                                   6
                                 5
                                                                          6
ทาให้สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนวิชาสถิติเป็น
                                                                         4
                                                 9        6        5    3 2
สาหรับวิชาคณิตศาสตร์ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น                                               5
                                                                   5
                                      (9   5)2       (6       5)2       (5       5)2       (3     5)2    (2    5)2
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น                                                                                                 6
                                                                             5
                                            6
ทาให้สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเป็น
                                           5
                                                                                                                      6
                                                                                                                     4       5
ดังนั้นอัตราส่วนของสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของวิชาสถิติและวิชาคณิตศาสตร์จะเท่ากับ
                                                                                                                      6      4
                                                                                                                     5


ตัวอย่างต่อมา สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของค่าใช้จ่ายสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เท่ากับ 13                                   0.17   และ
                                                                                                               76
                                                                                                15
สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของค่าใช้จ่ายสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 เท่ากับ                                  0.15
                                                                                                100
ทาให้ได้ว่าค่าใช้จ่ายในแต่ละวันสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการกระจายมากกว่าสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2

สาหรับตัวอย่างต่อไปนี้จะแสดงการคานวณการกระจายแบบสัมพัทธ์สาหรับข้อมูลที่แจกแจงความถี่ในรูป
อันตรภาคชั้น




                                                              16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ตัวอย่าง 1 กาหนดตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาหนึ่งของนักเรียน 20 คน ของโรงเรียนแห่ง
หนึ่งดังนี้

                                          คะแนน                 จานวนนักเรียน
                                         31      39                   2
                                         40      48                   3
                                         49      57                   5
                                         58      66                   4
                                         67      75                   3
                                         76      84                   2
                                         85      93                   1
                                        93.5     30.5      63
จะได้ว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย                                        0.51
                                        93.5     30.5     124
ในการคานวณสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ต้องคานวณควอไทล์ที่หนึ่งและควอไทล์ที่สามดังนี้
                       คะแนน             จานวนนักเรียน   ความถี่สะสม
                                31      39                      2                        2
                                40      48                      3                        5
                                49      57                      5                    10
                                58      66                      4                    14
                                67       75                     3                    17
                                76      84                      2                    19
                                85      93                      1                    20
                                     20                                                       20
ตาแหน่งของควอไทล์ที่หนึ่งคือ               5     และ ตาแหน่งของควอไทล์ที่สามคือ 3                    15
                                      4                                                        4
                        5       2                                      15       14
ดังนั้น Q1   39.5                   9     48.5   และ Q3     66.5                     9       69.5
                            3                                               3
                                                            69.5      48.5        21
ทาให้ได้ว่าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์                                               0.18
                                                            69.5      48.5       118
ในการคานวณสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของการแปรผันต้องคานวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ดังนี้




                                                          17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


               คะแนน            จานวนนักเรียน ( fi ) จุดกึ่งกลางชั้น ( x i )                fi xi

               31      39                 2                        35                       70
               40      48                 3                        44                      132
               49      57                 5                        53                      265
               58      66                 4                        62                      248
               67      75                 3                        71                      213
               76      84                 2                        80                      160
              85 93                       1                      89                         89
             70 132           265      248     213      160     89
จะได้ว่า                                                                58.85   ต่อมา
                                        20
               คะแนน            จานวนนักเรียน ( fi ) จุดกึ่งกลางชั้น ( x i )         fi | xi         |

               31      39                 2                        35                      47.7
               40      48                 3                        44                     44.55
               49      57                 5                        53                    29.25
               58      66                 4                        62                      12.6
               67      75                 3                        71                     36.45
               76      84                 2                        80                      42.3
               85      93                 1                        89                     30.15


ทาให้สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
   47.7    44.55       29.25     12.6 36.45            42.3     30.15
                                  20                                        0.21
                                 58.85
จากนั้น
               คะแนน            จานวนนักเรียน ( fi ) จุดกึ่งกลางชั้น ( x i )          fi (x i       )2

               31      39                 2                        35                 1137.645
               40      48                 3                        44                 661.5675
               49      57                 5                        53                 171.1125
               58      66                 4                        62                     39.69
               67      75                 3                        71                 442.8675
               76      84                 2                        80                   894.645
               85      93                 1                        89                 909.0225

                                                         18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ทาให้สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
     1137.645          661.5675       171.1125               39.69            442.8675         894.645           909.0225
                                                              20                                                            0.25
                                                            58.85


นอกจากนี้ครูยังอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพื่อให้นักเรียนฝึกฝนการคานวณให้คล่องแคล่วขึ้นไปอีก

ตัวอย่าง 2 จากข้อมูลที่กาหนดให้
           ชุด A: 1, 3, 2, 2, 5, 3, 4, 4, 3
           ชุด B: 1, 2, 4, 1, 2,    5, 2, 5, 1, 5, 5, 3
จงเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลทั้งสองชุดนี้โดยสัมประสิทธิ์ของพิสัย สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบน
ควอไทล์ สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน

                                                                               5     1     2
วิธีทา สาหรับข้อมูลชุด A จะได้ว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย                                             0.67
                                                                               5     1     3
เมื่อเรียงข้อมูลชุด A จากน้อยไปมากจะได้ 1, 2, 2, 3, 3, 3, 4, 4, 5
                                                                 9        1                      9       1
ตาแหน่งของควอไทล์ที่หนึ่งและควอไทล์ที่สามคือ                                       2.5   และ 3                   7.5
                                                                      4                              4
              2       2                        4       4
ทาให้ Q1                    2   และ Q3                       4
                  2                                2
                                                              4 2 1
ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์                            0.33
                                                              4 2 3
                                                       1     2 2 3 3 3 4                             4       5
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุด A คือ             A
                                                                                                                   3
                                                                    9
ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
   |1      3| 2|2           3| 3|3         3| 2|4                3|       |5        3|
                                      9                                                    0.30
                                      3
และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
     (1    3)2        2(2   3)2     3(3        3)2         2(4    3)2         (5     3)2
                                           9                                                   0.38
                                          3




                                                                 19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                                                       5       1          2
สาหรับข้อมูลชุด B จะได้ว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย                                                   0.67
                                                                       5       1          3
เมื่อเรียงข้อมูลชุด B จากน้อยไปมากจะได้ 1, 1, 1, 2, 2, 2, 3, 4, 5, 5, 5, 5
                                                                                                             12        1
ตาแหน่งของควอไทล์ที่หนึ่งและควอไทล์ที่สามคือ 12                                1
                                                                                         3.25    และ 3                              9.75
                                                                           4                                       4
ทาให้ Q1          1     0.25       1.25   และ Q3           5
                                                                 5 1.25                   3
ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์                                                  0.6
                                                                 5 1.25                   5
                                                           1    1 1 2                    2 2 3               4         5        5      5   5
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุด A คือ               B
                                                                                                                                               3
                                                                                            12
ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
    3 |1      3| 3|2              3| 1| 3 3| 1| 4                     3| 4|5                    3|
                                        12                                                              0.5
                                         3
และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
      3(1         3)2     3(2     3)2     1(3        3)2       1(4     3)2          4(5         3)2
                                                12                                                        0.54
                                                3
สรุปได้ว่าการกระจายของข้อมูลชุด A น้อยกว่าการกระจายของข้อมูลชุด B

ตัวอย่าง 3 กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย x 1, x 2, x 3, ..., x 10 และ ข้อมูลอีกชุดหนึ่งประกอบด้วย
                                                                                                                           10
y1, y2 , y 3 , ..., y10      โดยข้อมูลทั้งสองนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น                          10    เท่ากัน ถ้า               (x i    10)2   160
                                                                                                                       i 1
       10
และ         (yi       10)2      110   แล้วนาข้อมูลทั้งสองชุดนี้มารวมกัน จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของ
      i 1

ข้อมูลชุดใหม่นี้

วิธีทา ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่เท่ากับ                       เช่นกัน
                                                                                   10                         10
                                                                                         (x i    10)2               (yi          10)2
                                                                                   i 1                        i 1

ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดใหม่                                                         20                                 0.37
                                                                                                       10




                                                                      20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ในช่วงท้ายได้กล่าวถึงการนาความถี่ของข้อมูลมาสร้างเป็นฮิสโทแกรม รูปหลายเหลี่ยมความถี่ และปรับจนเป็น
เส้นโค้งของความถี่ หรือเส้นโค้งการแจกแจง โดยหากการแจกแจงเป็นการแจกแจงแบบปกติจะได้เส้นโค้งที่มี
ลักษณะคล้ายระฆังคว่า ที่เรียกว่าเส้นโค้งการแจกแจงปกติหรือเส้นโค้งปกติ โดยที่ข้อมูลส่วนใหญ่จะกระจุกตัวกัน
อยู่ตรงกลาง และสาหรับข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่แบบนี้จะได้ว่า      Me Mo แต่ถ้าข้อมูลกระจุกตัวอยู่
ทางซ้าย หรือทางขวา มากเกินไป เส้นโค้งความถี่จะเบ้ลาดไปทางขวา หรือเบ้ลาดไปทางซ้ายตามลาดับ




                                                      21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ท้ายที่สุดได้พิจารณาเฉพาะเส้นโค้งการแจกแจงปกติหรือเส้นโค้งปกติ เพื่อใช้ความโด่ง (kurtosis) ของเส้นโค้งใน
การเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติสองชุด




สาหรับการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติสองชุดด้วยการดูความโด่งของเส้นโค้งการแจก
แจงปกตินั้น อาจมีนักเรียนสงสัยว่าข้อมูลสองชุดใดๆ จะมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลเท่ากันได้อย่างไร ไม่น่าจะ
เลื่อนเส้นโค้งให้มาตรงกันแบบนี้ได้ ก็ขอให้คุณครูอธิบายอย่างใจเย็นว่าการวัดการกระจายนี้พิจารณาเฉพาะการ
กระจุกตัวของข้อมูลใกล้ๆ กับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้น จึงขึ้นอยู่กับลักษณะความโด่งของเส้นโค้งเท่านั้น
จริงๆ แล้วไม่จาเป็นต้องเลื่อนเส้นโค้งให้มาทาบกันเช่นนี้ แต่ในสื่อนามาทาบกันเพื่อให้เห็นความแตกต่างชัดเจน
ยิ่งขึ้น

นอกจากอาจมีนักเรียนได้วุฒิปัญญาและโพล่งขึ้นมาว่า นอกจากจะเปรียบเทียบการกระจายด้วยเส้นโค้งการแจก
แจงความถี่แล้ว น่าจะสามารถใช้แผนภาพกล่องในการเปรียบเทียบได้เช่นกัน เนื่องจากขอบของกล่องทางซ้ายและ
ทางขวาในแผนภาพกล่องนั้นคือข้อมูลที่อยู่ในตาแหน่งควอไทล์ที่ 1 และ ควอไทล์ที่ 3 ตามลาดับ ทาให้สามารถ
สรุปได้ว่า หากกล่องในแผนภาพกล่องสั้นมาก แสดงว่าข้อมูลกว่า 50% กระจุกกันอยู่มาก การกระจายจึงน้อย
ในขณะที่แผนภาพกล่องที่มีกล่องยาวๆ แสดงว่าข้อมูลกว่า 50% กระจายตัวกันอยู่หลวมๆ การกระจายจึงมากกว่า
เช่นนี้เป็นต้น




                                                       22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                    แบบฝึกหัดเพิ่มเติมเรื่องการกระจายสัมพัทธ์
1. กาหนดข้อมูลสองชุดดังนี้
   ชุดที่หนึ่ง: 5, 8, 6, 7, 9
  ชุดที่สอง: x 1, x 2, x 3, x 4 , x 5
ถ้าสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดที่หนึ่งเป็น 4 เท่าของข้อมูลชุดที่สอง และความแปรปรวนของ
ข้อมูลชุดที่สองเท่ากับ 4 แล้ว จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่สอง

2. ถ้าตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลชุดหนึ่ง ซึ่งมีความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นเท่ากัน เป็นดังต่อไปนี้
                     ชั้นที่       จุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้น      ความถี่สะสม
                              1                        ...                          8
                              2                        ...                         16
                              3                        ...                          36
                              4                        25                           40
                              5                        30                           50
จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน

3. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงจากน้อยไปมากได้เป็น 1.5, a, 5, 6, b ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
เป็น 6 และ 3 ตามลาดับ จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดนี้

4. ในการสารวจน้าหนักของนักเรียน 200 คนมีการแจกแจงความถี่ดังนี้
                     น้าหนักตัว (กิโลกรัม)         ความถี่
                                        19   22                          20
                                        23   26                          60
                                        27   30                          30
                                        31   34                          40
                                        35   38                          50
จงหาสัมประสิทธิ์ของพิสัย และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์

5. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย x 1, x 2, x 3, ..., x 13 โดยที่ xn         |7     n|   เมื่อ n   {1, 2, 3, ..., 13}   จง
หาสัมประสิทธิ์ของของพิสัย และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์

                                                          23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                     24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                      สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                     25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
                 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                   แบบฝึกหัดระคน
1. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงลาดับจากน้อยไปมากได้เป็น 10, 20, 30, 30, a, b, 60, 60, 90, 120 ถ้าฐานนิยม
และมัธยฐานของคะแนนชุดนี้เป็น 30 และ 40 ตามลาดับแล้วจงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย
และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน

2. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวน มีฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 15, 16 และ 17 ตามลาดับและ
พิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 5 จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน

3. โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนอยู่ 500 คน มีคะแนนสอบวิชาหนึ่งจาแนกเป็นช่วงๆ ได้ดังนี้
                                  คะแนน             ร้อยละของนักเรียน
                                    1    20                              20
                                   21     40                             40
                                   41     60                             24
                                   61     80                             10
                                   81    100                             6
ถ้าความแปรปรวนของคะแนนสอบครั้งนี้เท่ากับ 441 จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนสอบ
วิชานี้

                                                                        20                             20
4. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย x 1, x 2, x 3, ..., x 20 ที่มีสมบัติว่า           (x i   5)2   500   และ         (x i    a )2
                                                                        i 1                            i 1

มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ a    8   จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน

5. กาหนดให้ x 1, x 2, x 3, ..., x 10 มีค่าเป็น 5, 6, a, 7, 10, 15, 5, 10, 10, 9 ตามลาดับ โดยที่ a                   15
และพิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 12 จงหาสัมประสิทธิ์ของพิสัย และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์

6. ในการชั่งน้าหนักกระเป๋าเดินทาง 4 ใบพบว่าได้น้าหนักเป็น 15.5, 14.8, 14.5 และ 15.2 กิโลกรัม ถ้า
ชั่งน้าหนักของกระเป๋าเดินทาง 4 ใบนี้พร้อมกับกระเป๋าเดินทางอีกหนึ่งใบจะได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ
น้าหนักกระเป๋าทั้ง 5 ใบนี้เป็น 16 กิโลกรัม จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของ
การแปรผันของน้าหนักกระเป๋าทั้งห้าใบนี้



                                                          27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


7. กาหนดตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนห้องหนึ่งเป็นดังนี้
                               คะแนน          ความถี่
                                       16     18                a
                                       19     21                 2
                                       22     24                 3
                                       25     27                 6
                                       28     30                 4
ถ้าควอไทล์ที่ 1 เท่ากับ 18.5 คะแนนแล้วจงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์

8. ถ้า 20, x 2, x 3, ..., x 25 เป็นข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมาก และเป็นลาดับเลขคณิต ที่มีควอไทล์ที่หนึ่งของ
ข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 31 แล้วจงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย

9. พนักงานบริษัทแห่งหนึ่งจานวน 5 คนได้เงินโบนัสรวมกัน 36000 และความแปรปรวนระดับประชากร
ของเงินโบนัสของคนทั้งห้านี้เป็น 66000 ถ้ามีพนักงานที่ได้โบนัส 6000 บาทมาเพิ่มอีกหนึ่งคน จงหา
สัมประสิทธิ์การแปรผันของเงินโบนัสของพนักงานทั้งหกคนนี้

10. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จานวนคือ 4, 5, 8, 13, a, b ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เป็น
10   และ 9 ตามลาดับแล้ว จงหาค่าประมาณของสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย




                                                       28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                        ภาคผนวกที่ 2
                       เฉลยแบบฝึกหัด




                                     29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                              เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติมเรื่องการกระจายสัมพัทธ์
                                              ่
1. 28 2
2. 0.24; 0.32
      16.3
3.            0.67
        6
     20         10
4.        0.35;                0.17
     57         59
          7
5. 1;            0.54
         13


                                                 เฉลยแบบฝึกหัดระคน
                                                                                       2             4.4
1. 13          0.52;
                       2 65
                                   0.65                                          2.         0.12;            0.12
     25                 25                                                            17             17
     210                                                                              1
3.              0.54                                                             4.         0.5
     389                                                                              2
     2                1                                                                1             4.116
5.            0.67;         0.33                                                 6.         0.1;             0.13
     3                3                                                               10              16


                                                                                      78
7. 17          0.19                                                              8.           0.28
     91                                                                               275
      102
9.                0.07                                                           10. 0.43
     140




                                                               30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




           รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
                      จานวน 92 ตอน




                                     31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน

                เรื่อง                                                          ตอน
เซต                                     บทนา เรื่อง เซต
                                        ความหมายของเซต
                                        เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต
                                        เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
                                        สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์               บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
                                        การให้เหตุผล
                                        ประพจน์และการสมมูล
                                        สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
                                        ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ
                                                            ่
                                        สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
                                        สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
จานวนจริง                               บทนา เรื่อง จานวนจริง
                                        สมบัติของจานวนจริง
                                        การแยกตัวประกอบ
                                        ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                        สมการพหุนาม
                                        อสมการ
                                        เทคนิคการแก้อสมการ
                                        ค่าสัมบูรณ์
                                        การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
                                        กราฟค่าสัมบูรณ์
                                        สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน
                                        สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                        สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น                     บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น
                                        การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ
                                        (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก)
                                        ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                 บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
                                        ความสัมพันธ์




                                                             32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                      สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                 เรื่อง                                                           ตอน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                   โดเมนและเรนจ์
                                          อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
                                          ฟังก์ชันเบื้องต้น
                                          พีชคณิตของฟังก์ชัน
                                          อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
                                          ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
          ้                               บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                          เลขยกกาลัง
                                          ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                                    ้
                                          ลอการิทึม
                                          อสมการเลขชี้กาลัง
                                          อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                          อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                                          เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย
                                          ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
                                          ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
                                          ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
                                          กฎของไซน์และโคไซน์
                                          กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                          ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                                          สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย
                                                                              ่
                                          สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                          สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กาหนดการเชิงเส้น                          บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น
                                          การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
                                          การหาค่าสุดขีด
ลาดับและอนุกรม                            บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม
                                          ลาดับ
                                          การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                          ลิมิตของลาดับ
                                          ผลบวกย่อย
                                          อนุกรม
                                          ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม




                                                            33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                เรื่อง                                                            ตอน
การนับและความน่าจะเป็น                   บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น
                    .                    การนับเบื้องต้น
                                         การเรียงสับเปลี่ยน
                                         การจัดหมู่
                                         ทฤษฎีบททวินาม
                                         การทดลองสุ่ม
                                         ความน่าจะเป็น 1
                                         ความน่าจะเป็น 2
สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล               บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
                                         บทนา เนื้อหา
                                         แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
                                         แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
                                         แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
                                         การกระจายของข้อมูล
                                         การกระจายสัมบูรณ์ 1
                                         การกระจายสัมบูรณ์ 2
                                         การกระจายสัมบูรณ์ 3
                                         การกระจายสัมพัทธ์
                                         คะแนนมาตรฐาน
                                         ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
                                         ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
                                         โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
                                         โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร์                        การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                         ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                         การถอดรากที่สาม
                                         เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
                                         กระเบื้องที่ยืดหดได้




                                                            34

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)waranyuati
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3oraneehussem
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3ใบงาน 17.1 17.3
ใบงาน 17.1 17.3
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Viewers also liked

Viewers also liked (10)

74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
02
0202
02
 
Set
SetSet
Set
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 

Similar to 82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์

Similar to 82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์ (20)

79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
78 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่5_การกระจายของข้อมูล
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล (เนื้อหาตอนที่ 9) การกระจายสัมพัทธ์ โดย อาจารย์ ดร.รตินันท์ บุญเคลือบ สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง สถิตและการวิเคราะห์ข้อมูล ิ สื่อการสอน เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 27 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล 2. เนื้อหาตอนที่ 1 บทนา (เนื้อหา) - ความหมายของสถิติ - ข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล - การสารวจความคิดเห็น 3. เนื้อหาตอนที่ 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 - ค่ากลางของข้อมูล 4. เนื้อหาตอนที่ 3 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2 - แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 5. เนื้อหาตอนที่ 4 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3 - ค่าเฉลี่ยเลขคณิต - มัธยฐาน - ฐานนิยม - ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต - ค่ากลางฮาร์โมนิก 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การกระจายของข้อมูล - ตาแหน่งของข้อมูล 7. เนื้อหาตอนที่ 6 การกระจายสัมบูรณ์ 1 - การกระจายสัมบูรณ์และการกระจายสัมพัทธ์ - พิสัย (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) - ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) - ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) 8. เนื้อหาตอนที่ 7 การกระจายสัมบูรณ์ 2 - ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่) - ความแปรปรวน 1
  • 3. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. เนื้อหาตอนที่ 8 การกระจายสัมบูรณ์ 3 - พิสัย (ข้อมูลแจกแจงความถี่) - ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ (ข้อมูลแจกแจงความถี่) - ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (ข้อมูลแจกแจงความถี่) - ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ข้อมูลแจกแจงความถี่) 10. เนื้อหาตอนที่ 9 การกระจายสัมพัทธ์ - สัมประสิทธ์พิสัย - สัมประสิทธ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ - สัมประสิทธ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย - สัมประสิทธ์ของความแปรผัน 11. เนื้อหาตอนที่ 10 คะแนนมาตรฐาน - คะแนนมาตรฐาน - การแจกแจงปกติ 12. เนื้อหาตอนที่ 11 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1 - ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล 13. เนื้อหาตอนที่ 12 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 - ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา 14. เนื้อหาตอนที่ 13 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 - โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 15. เนื้อหาตอนที่ 14 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 - โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 16. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 17. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 18. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3) 19. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4) 20. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 5) 21. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 22. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การนาเสนอข้อมูล 23. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การวัดค่ากลางของข้อมูล 24. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การวัดการกระจายของข้อมูล 25. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง การแจกแจงปกติ 2
  • 4. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 26. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง 27. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงพาราโบลาและความสัมพันธ์เชิงชี้กาลัง คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน สาหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชา คณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้ 3
  • 5. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล (การกระจายสัมพัทธ์) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 9 (9/14) หัวข้อย่อย 1. สัมประสิทธิ์พิสัย 2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. เข้าใจความหมาย และความแตกต่างระหว่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์และการวัดการกระจาย สัมพัทธ์ 2. คานวณการวัดการกระจายสัมพัทธ์แบบต่างๆ ได้ 3. เปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลสองข้อมูลขึ้นไปได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. อธิบายความหมาย และบอกความแตกต่างระหว่างการวัดการกระจายสัมบูรณ์และการวัดการ กระจายสัมพัทธ์ได้ 2. คานวณการวัดการกระจายสัมพัทธ์แบบต่างๆ ได้ 3. เปรียบเทียบการกระจายระหว่างข้อมูลสองข้อมูลขึ้นไปได้ 4
  • 6. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 5
  • 8. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. สัมประสิทธิ์พิสัย สาหรับสื่อในตอนนี้ได้เริ่มจากการให้ความหมายของการกระจายสัมพัทธ์ และชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง การกระจายสัมพัทธ์และการกระจายสัมบูรณ์ ทั้งนี้ครูอาจทบทวนนักเรียนเกี่ยวกับสูตรการวัดการกระจายสัมบูรณ์ แบบต่างๆ ก่อน การกระจายสัมพัทธ์แบบแรกคือสัมประสิทธิ์พิสัย หรือบางครั้งอาจเรียกว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย สาหรับข้อมูลที่ แจกแจงความถี่ในรูปอันตรภาคชั้นนั้น จะมองว่า x max คือขอบบนของชั้นสุดท้ายเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก และ x min คือขอบล่างของชั้นแรกเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก 7
  • 9. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 8
  • 10. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ต่อมาได้กล่าวถึงสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ทั้งนี้นักเรียนอาจสงสัยว่าในการหาส่วนเบี่ยงเบน Q3 Q1 ควอไทล์ใช้สูตร Q.D. แต่สาหรับสูตรของสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์กลับไม่มี 2 การหารด้วย 2 ปรากฏอยู่ ในความเป็นจริงแล้วสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์มาจากสูตร Q3 Q1 2 Q3 Q1 โดยมองว่า เป็นเสมือนค่าเฉลี่ยของ Q3 และ Q1 ทาให้ในที่สุดแล้วสัมประสิทธิ์ของ Q3 Q1 2 2 Q3 Q1 ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์จึงกลายเป็น นั่นเอง Q3 Q1 9
  • 11. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 10
  • 12. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ต่อมาได้กล่าวถึงการหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย ซึ่งสัญลักษณ์ในการคานวณแตกต่างกันเล็กน้อยเมื่อ ข้อมูลเป็นประชากร หรือเป็นตัวอย่าง 11
  • 13. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน 12
  • 14. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน สุดท้ายได้กล่าวถึงสัมประสิทธิ์ของความแปรผัน หรือสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน ซึ่งคานวณได้จากส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานนั่นเอง ทั้งนี้ก่อนทาการสรุปสูตรเกี่ยวกับการกระจายสัมพัทธ์ทั้งหมด ได้มีการย้าว่าการหาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสาหรับ ข้อมูลประชากรและข้อมูลตัวอย่างนั้นมีสูตรที่แตกต่างกันขอให้นักเรียนระวังไว้ให้จงหนัก 13
  • 15. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาได้ให้ตัวอย่างเกี่ยวกับการคานวณการกระจายทั้งแบบสัมบูรณ์และสัมพัทธ์เพื่อเป็นการทบทวนสูตรการ คานวณที่ได้เรียนมาทั้งหมด จากนั้นได้ยกตัวอย่างสถานการณ์ต่างๆ ที่จาเป็นต้องใช้การวัดการกระจายแบบสัมพัทธ์ เพื่อให้นักเรียนคล่องแคล่ว มากยิ่งขึ้น เมื่อมาถึงตอนนี้ครูอาจนาข้อมูลที่เคยปรากฏในตัวอย่างหรือแบบฝึกหัดต่างๆ ที่ได้นาเสนอไปในสื่อตอนก่อนหน้า นี้เพื่อเป็นแบบฝึกหัดให้นักเรียนช่วยกันหาการกระจายสัมพัทธ์แบบต่างๆ ทาให้นักเรียนใช้สูตรได้คล่องแคล่ว ยิ่งขึ้น หมายเหตุ เพื่อให้นักเรียนได้รับประโยชน์สูงสุดจากตัวอย่างต่างๆ ที่จะยกให้ดูในสื่อ ทางผู้จัดทาจึงได้นาข้อสอบ เข้ามหาวิทยาลัยมายกตัวอย่างให้นักเรียนได้ศึกษา ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเหล่านี้เป็นข้อสอบเมื่อราว 15 – 20 ปีที่ แล้ว ทางผู้จัดทาจึงขอขอบคุณทบวงมหาวิทยาลัยซึ่งเป็นผู้กากับดูแลการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเวลานั้นมา ณ ที่นี้ 14
  • 16. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาหรับตัวอย่างต่อไป ไม่ได้คานวณค่าออกมาจนเป็นผลสาเร็จแต่ให้นักเรียนกลับไปคิดต่อ ซึ่งจากตัวอย่างจะได้ว่า ข้อมูลชุด A มี A 5 2 และข้อมูลชุด B มี B 5 10 จึงเห็นได้ชัดว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด B มากกว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุด A 2 สาหรับสัมประสิทธิ์การแปรผันของข้อมูลชุด A ซึ่งเท่ากับ 0.47 และสัมประสิทธิ์การแปรผันของข้อมูล 3 10 ชุด B เท่ากับ 0.40 ทาให้สรุปได้ว่า ข้อมูลชุด B มีสัมประสิทธิ์การแปรผันน้อยกว่าข้อมูลชุด A 8 สาหรับตัวอย่างอีกสองตัวอย่างต่อไปนี้ได้ทิ้งไว้ให้นักเรียนช่วยกันฝึกคิด 8 5 4 2 1 ตัวอย่างแรก จะได้ว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนวิชาสถิติเป็น 4 5 15
  • 17. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนวิชาสถิติเป็น (8 4)2 (5 4)2 (4 4)2 (2 4)2 (1 4)2 6 5 6 ทาให้สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนวิชาสถิติเป็น 4 9 6 5 3 2 สาหรับวิชาคณิตศาสตร์ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 5 5 (9 5)2 (6 5)2 (5 5)2 (3 5)2 (2 5)2 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็น 6 5 6 ทาให้สัมประสิทธิ์ของการแปรผันเป็น 5 6 4 5 ดังนั้นอัตราส่วนของสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของวิชาสถิติและวิชาคณิตศาสตร์จะเท่ากับ 6 4 5 ตัวอย่างต่อมา สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของค่าใช้จ่ายสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 เท่ากับ 13 0.17 และ 76 15 สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของค่าใช้จ่ายสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 เท่ากับ 0.15 100 ทาให้ได้ว่าค่าใช้จ่ายในแต่ละวันสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีการกระจายมากกว่าสาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาหรับตัวอย่างต่อไปนี้จะแสดงการคานวณการกระจายแบบสัมพัทธ์สาหรับข้อมูลที่แจกแจงความถี่ในรูป อันตรภาคชั้น 16
  • 18. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 1 กาหนดตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาหนึ่งของนักเรียน 20 คน ของโรงเรียนแห่ง หนึ่งดังนี้ คะแนน จานวนนักเรียน 31 39 2 40 48 3 49 57 5 58 66 4 67 75 3 76 84 2 85 93 1 93.5 30.5 63 จะได้ว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย 0.51 93.5 30.5 124 ในการคานวณสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ต้องคานวณควอไทล์ที่หนึ่งและควอไทล์ที่สามดังนี้ คะแนน จานวนนักเรียน ความถี่สะสม 31 39 2 2 40 48 3 5 49 57 5 10 58 66 4 14 67 75 3 17 76 84 2 19 85 93 1 20 20 20 ตาแหน่งของควอไทล์ที่หนึ่งคือ 5 และ ตาแหน่งของควอไทล์ที่สามคือ 3 15 4 4 5 2 15 14 ดังนั้น Q1 39.5 9 48.5 และ Q3 66.5 9 69.5 3 3 69.5 48.5 21 ทาให้ได้ว่าสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 0.18 69.5 48.5 118 ในการคานวณสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของการแปรผันต้องคานวณค่าเฉลี่ยเลขคณิต ดังนี้ 17
  • 19. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คะแนน จานวนนักเรียน ( fi ) จุดกึ่งกลางชั้น ( x i ) fi xi 31 39 2 35 70 40 48 3 44 132 49 57 5 53 265 58 66 4 62 248 67 75 3 71 213 76 84 2 80 160 85 93 1 89 89 70 132 265 248 213 160 89 จะได้ว่า 58.85 ต่อมา 20 คะแนน จานวนนักเรียน ( fi ) จุดกึ่งกลางชั้น ( x i ) fi | xi | 31 39 2 35 47.7 40 48 3 44 44.55 49 57 5 53 29.25 58 66 4 62 12.6 67 75 3 71 36.45 76 84 2 80 42.3 85 93 1 89 30.15 ทาให้สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 47.7 44.55 29.25 12.6 36.45 42.3 30.15 20 0.21 58.85 จากนั้น คะแนน จานวนนักเรียน ( fi ) จุดกึ่งกลางชั้น ( x i ) fi (x i )2 31 39 2 35 1137.645 40 48 3 44 661.5675 49 57 5 53 171.1125 58 66 4 62 39.69 67 75 3 71 442.8675 76 84 2 80 894.645 85 93 1 89 909.0225 18
  • 20. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทาให้สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 1137.645 661.5675 171.1125 39.69 442.8675 894.645 909.0225 20 0.25 58.85 นอกจากนี้ครูยังอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพื่อให้นักเรียนฝึกฝนการคานวณให้คล่องแคล่วขึ้นไปอีก ตัวอย่าง 2 จากข้อมูลที่กาหนดให้ ชุด A: 1, 3, 2, 2, 5, 3, 4, 4, 3 ชุด B: 1, 2, 4, 1, 2, 5, 2, 5, 1, 5, 5, 3 จงเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลทั้งสองชุดนี้โดยสัมประสิทธิ์ของพิสัย สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบน ควอไทล์ สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 5 1 2 วิธีทา สาหรับข้อมูลชุด A จะได้ว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย 0.67 5 1 3 เมื่อเรียงข้อมูลชุด A จากน้อยไปมากจะได้ 1, 2, 2, 3, 3, 3, 4, 4, 5 9 1 9 1 ตาแหน่งของควอไทล์ที่หนึ่งและควอไทล์ที่สามคือ 2.5 และ 3 7.5 4 4 2 2 4 4 ทาให้ Q1 2 และ Q3 4 2 2 4 2 1 ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 0.33 4 2 3 1 2 2 3 3 3 4 4 5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุด A คือ A 3 9 ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย |1 3| 2|2 3| 3|3 3| 2|4 3| |5 3| 9 0.30 3 และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน (1 3)2 2(2 3)2 3(3 3)2 2(4 3)2 (5 3)2 9 0.38 3 19
  • 21. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5 1 2 สาหรับข้อมูลชุด B จะได้ว่าสัมประสิทธิ์ของพิสัย 0.67 5 1 3 เมื่อเรียงข้อมูลชุด B จากน้อยไปมากจะได้ 1, 1, 1, 2, 2, 2, 3, 4, 5, 5, 5, 5 12 1 ตาแหน่งของควอไทล์ที่หนึ่งและควอไทล์ที่สามคือ 12 1 3.25 และ 3 9.75 4 4 ทาให้ Q1 1 0.25 1.25 และ Q3 5 5 1.25 3 ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 0.6 5 1.25 5 1 1 1 2 2 2 3 4 5 5 5 5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุด A คือ B 3 12 ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 3 |1 3| 3|2 3| 1| 3 3| 1| 4 3| 4|5 3| 12 0.5 3 และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 3(1 3)2 3(2 3)2 1(3 3)2 1(4 3)2 4(5 3)2 12 0.54 3 สรุปได้ว่าการกระจายของข้อมูลชุด A น้อยกว่าการกระจายของข้อมูลชุด B ตัวอย่าง 3 กาหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย x 1, x 2, x 3, ..., x 10 และ ข้อมูลอีกชุดหนึ่งประกอบด้วย 10 y1, y2 , y 3 , ..., y10 โดยข้อมูลทั้งสองนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 10 เท่ากัน ถ้า (x i 10)2 160 i 1 10 และ (yi 10)2 110 แล้วนาข้อมูลทั้งสองชุดนี้มารวมกัน จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของ i 1 ข้อมูลชุดใหม่นี้ วิธีทา ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดใหม่เท่ากับ เช่นกัน 10 10 (x i 10)2 (yi 10)2 i 1 i 1 ดังนั้นสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดใหม่ 20 0.37 10 20
  • 22. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงท้ายได้กล่าวถึงการนาความถี่ของข้อมูลมาสร้างเป็นฮิสโทแกรม รูปหลายเหลี่ยมความถี่ และปรับจนเป็น เส้นโค้งของความถี่ หรือเส้นโค้งการแจกแจง โดยหากการแจกแจงเป็นการแจกแจงแบบปกติจะได้เส้นโค้งที่มี ลักษณะคล้ายระฆังคว่า ที่เรียกว่าเส้นโค้งการแจกแจงปกติหรือเส้นโค้งปกติ โดยที่ข้อมูลส่วนใหญ่จะกระจุกตัวกัน อยู่ตรงกลาง และสาหรับข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่แบบนี้จะได้ว่า Me Mo แต่ถ้าข้อมูลกระจุกตัวอยู่ ทางซ้าย หรือทางขวา มากเกินไป เส้นโค้งความถี่จะเบ้ลาดไปทางขวา หรือเบ้ลาดไปทางซ้ายตามลาดับ 21
  • 23. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ท้ายที่สุดได้พิจารณาเฉพาะเส้นโค้งการแจกแจงปกติหรือเส้นโค้งปกติ เพื่อใช้ความโด่ง (kurtosis) ของเส้นโค้งใน การเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติสองชุด สาหรับการเปรียบเทียบการกระจายของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติสองชุดด้วยการดูความโด่งของเส้นโค้งการแจก แจงปกตินั้น อาจมีนักเรียนสงสัยว่าข้อมูลสองชุดใดๆ จะมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลเท่ากันได้อย่างไร ไม่น่าจะ เลื่อนเส้นโค้งให้มาตรงกันแบบนี้ได้ ก็ขอให้คุณครูอธิบายอย่างใจเย็นว่าการวัดการกระจายนี้พิจารณาเฉพาะการ กระจุกตัวของข้อมูลใกล้ๆ กับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนั้น จึงขึ้นอยู่กับลักษณะความโด่งของเส้นโค้งเท่านั้น จริงๆ แล้วไม่จาเป็นต้องเลื่อนเส้นโค้งให้มาทาบกันเช่นนี้ แต่ในสื่อนามาทาบกันเพื่อให้เห็นความแตกต่างชัดเจน ยิ่งขึ้น นอกจากอาจมีนักเรียนได้วุฒิปัญญาและโพล่งขึ้นมาว่า นอกจากจะเปรียบเทียบการกระจายด้วยเส้นโค้งการแจก แจงความถี่แล้ว น่าจะสามารถใช้แผนภาพกล่องในการเปรียบเทียบได้เช่นกัน เนื่องจากขอบของกล่องทางซ้ายและ ทางขวาในแผนภาพกล่องนั้นคือข้อมูลที่อยู่ในตาแหน่งควอไทล์ที่ 1 และ ควอไทล์ที่ 3 ตามลาดับ ทาให้สามารถ สรุปได้ว่า หากกล่องในแผนภาพกล่องสั้นมาก แสดงว่าข้อมูลกว่า 50% กระจุกกันอยู่มาก การกระจายจึงน้อย ในขณะที่แผนภาพกล่องที่มีกล่องยาวๆ แสดงว่าข้อมูลกว่า 50% กระจายตัวกันอยู่หลวมๆ การกระจายจึงมากกว่า เช่นนี้เป็นต้น 22
  • 24. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติมเรื่องการกระจายสัมพัทธ์ 1. กาหนดข้อมูลสองชุดดังนี้ ชุดที่หนึ่ง: 5, 8, 6, 7, 9 ชุดที่สอง: x 1, x 2, x 3, x 4 , x 5 ถ้าสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดที่หนึ่งเป็น 4 เท่าของข้อมูลชุดที่สอง และความแปรปรวนของ ข้อมูลชุดที่สองเท่ากับ 4 แล้ว จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่สอง 2. ถ้าตารางแจกแจงความถี่ของข้อมูลชุดหนึ่ง ซึ่งมีความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นเท่ากัน เป็นดังต่อไปนี้ ชั้นที่ จุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้น ความถี่สะสม 1 ... 8 2 ... 16 3 ... 36 4 25 40 5 30 50 จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 3. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงจากน้อยไปมากได้เป็น 1.5, a, 5, 6, b ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย เป็น 6 และ 3 ตามลาดับ จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดนี้ 4. ในการสารวจน้าหนักของนักเรียน 200 คนมีการแจกแจงความถี่ดังนี้ น้าหนักตัว (กิโลกรัม) ความถี่ 19 22 20 23 26 60 27 30 30 31 34 40 35 38 50 จงหาสัมประสิทธิ์ของพิสัย และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 5. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย x 1, x 2, x 3, ..., x 13 โดยที่ xn |7 n| เมื่อ n {1, 2, 3, ..., 13} จง หาสัมประสิทธิ์ของของพิสัย และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 23
  • 27. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 26
  • 28. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดระคน 1. ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงลาดับจากน้อยไปมากได้เป็น 10, 20, 30, 30, a, b, 60, 60, 90, 120 ถ้าฐานนิยม และมัธยฐานของคะแนนชุดนี้เป็น 30 และ 40 ตามลาดับแล้วจงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย และสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 2. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 5 จานวน มีฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิตเป็น 15, 16 และ 17 ตามลาดับและ พิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 5 จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 3. โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนอยู่ 500 คน มีคะแนนสอบวิชาหนึ่งจาแนกเป็นช่วงๆ ได้ดังนี้ คะแนน ร้อยละของนักเรียน 1 20 20 21 40 40 41 60 24 61 80 10 81 100 6 ถ้าความแปรปรวนของคะแนนสอบครั้งนี้เท่ากับ 441 จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนสอบ วิชานี้ 20 20 4. ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย x 1, x 2, x 3, ..., x 20 ที่มีสมบัติว่า (x i 5)2 500 และ (x i a )2 i 1 i 1 มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ a 8 จงหาสัมประสิทธิ์ของการแปรผัน 5. กาหนดให้ x 1, x 2, x 3, ..., x 10 มีค่าเป็น 5, 6, a, 7, 10, 15, 5, 10, 10, 9 ตามลาดับ โดยที่ a 15 และพิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 12 จงหาสัมประสิทธิ์ของพิสัย และสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 6. ในการชั่งน้าหนักกระเป๋าเดินทาง 4 ใบพบว่าได้น้าหนักเป็น 15.5, 14.8, 14.5 และ 15.2 กิโลกรัม ถ้า ชั่งน้าหนักของกระเป๋าเดินทาง 4 ใบนี้พร้อมกับกระเป๋าเดินทางอีกหนึ่งใบจะได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ น้าหนักกระเป๋าทั้ง 5 ใบนี้เป็น 16 กิโลกรัม จงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยและสัมประสิทธิ์ของ การแปรผันของน้าหนักกระเป๋าทั้งห้าใบนี้ 27
  • 29. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 7. กาหนดตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนห้องหนึ่งเป็นดังนี้ คะแนน ความถี่ 16 18 a 19 21 2 22 24 3 25 27 6 28 30 4 ถ้าควอไทล์ที่ 1 เท่ากับ 18.5 คะแนนแล้วจงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ 8. ถ้า 20, x 2, x 3, ..., x 25 เป็นข้อมูลที่เรียงจากน้อยไปมาก และเป็นลาดับเลขคณิต ที่มีควอไทล์ที่หนึ่งของ ข้อมูลชุดนี้เท่ากับ 31 แล้วจงหาสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 9. พนักงานบริษัทแห่งหนึ่งจานวน 5 คนได้เงินโบนัสรวมกัน 36000 และความแปรปรวนระดับประชากร ของเงินโบนัสของคนทั้งห้านี้เป็น 66000 ถ้ามีพนักงานที่ได้โบนัส 6000 บาทมาเพิ่มอีกหนึ่งคน จงหา สัมประสิทธิ์การแปรผันของเงินโบนัสของพนักงานทั้งหกคนนี้ 10. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จานวนคือ 4, 5, 8, 13, a, b ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตและมัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เป็น 10 และ 9 ตามลาดับแล้ว จงหาค่าประมาณของสัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย 28
  • 30. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝึกหัด 29
  • 31. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติมเรื่องการกระจายสัมพัทธ์ ่ 1. 28 2 2. 0.24; 0.32 16.3 3. 0.67 6 20 10 4. 0.35; 0.17 57 59 7 5. 1; 0.54 13 เฉลยแบบฝึกหัดระคน 2 4.4 1. 13 0.52; 2 65 0.65 2. 0.12; 0.12 25 25 17 17 210 1 3. 0.54 4. 0.5 389 2 2 1 1 4.116 5. 0.67; 0.33 6. 0.1; 0.13 3 3 10 16 78 7. 17 0.19 8. 0.28 91 275 102 9. 0.07 10. 0.43 140 30
  • 32. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน 31
  • 33. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ การให้เหตุผล ประพจน์และการสมมูล สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง จานวนจริง บทนา เรื่อง จานวนจริง สมบัติของจานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแก้อสมการ ค่าสัมบูรณ์ การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ กราฟค่าสัมบูรณ์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์ ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก) ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ 32
  • 34. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเบื้องต้น พีชคณิตของฟังก์ชัน อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกาลัง ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ ลอการิทึม อสมการเลขชี้กาลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซน์และโคไซน์ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์ กาหนดการเชิงเส้น บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ การหาค่าสุดขีด ลาดับและอนุกรม บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม ลาดับ การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ ผลบวกย่อย อนุกรม ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม 33
  • 35. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความน่าจะเป็น บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น . การนับเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น 1 ความน่าจะเป็น 2 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เนื้อหา แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3 การกระจายของข้อมูล การกระจายสัมบูรณ์ 1 การกระจายสัมบูรณ์ 2 การกระจายสัมบูรณ์ 3 การกระจายสัมพัทธ์ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง กระเบื้องที่ยืดหดได้ 34