SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
บทที่ 3
วงกลม (21 ชั่วโมง)
3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง)
3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง)
3.3 คอรด (7 ชั่วโมง)
3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง)
เนื้อหาในบทนี้มีจุดมุงหมายใหนักเรียนรูจักสมบัติของวงกลมในรูปของทฤษฎีบท ในการพิสูจน
ทฤษฎีบทอาศัยความรูพื้นฐานที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม
เสนขนาน รูปสามเหลี่ยมคลาย และทฤษฎีบทเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม สาระที่เสนอไว
สวนใหญอยูในรูปของกิจกรรมที่ใหนักเรียนศึกษาสมบัติของวงกลม เพื่อนําไปสูทฤษฎีบทซึ่งบางทฤษฎีบท
ไดมีการพิสูจนไว บางทฤษฎีบทไมไดแสดงการพิสูจนแตมีคําถามที่นําไปสูการพิสูจนได และบาง
ทฤษฎีบทก็ใหนักเรียนยอมรับโดยไมมีการพิสูจน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ใหนักเรียนเห็นการนําสมบัติ
ของวงกลมไปใชในการสรางและใชแกปญหาที่กําหนดได
การจัดการเรียนการสอนที่อยูในรูปของกิจกรรม ครูควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อฝกให
นักเรียนมีความสามารถในการสรางขอความคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต สําหรับการพิสูจน
ทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมใหอยูในดุลพินิจของครูวาควรใหนักเรียนพิสูจน หรือใหนักเรียนยอมรับ
ทฤษฎีบทนั้นไปใชอางอิงไดโดยไมจําเปนตองพิสูจนอยางเปนทางการก็ได
การเขียนเหตุผลอางอิงในแตละขั้นตอนของการพิสูจน ครูอาจใหนักเรียนเขียนเหตุผลเหลานั้นอยาง
สมบูรณหรือเขียนอยางยอที่ไดสาระครบถวนก็ได สําหรับแนวคิดในการใหเหตุผลที่แสดงไวในสวนเฉลย
คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด ไดเขียนไวในลักษณะรวบลัดขั้นตอน ถาครูเนนการเขียนพิสูจนอยาง
เปนระบบ ควรใหนักเรียนเขียนขั้นตอนเพิ่มเติมตามเหตุและผลที่ควรจะเปน อยางไรก็ตามแนวคิดที่ใหไว
ในสวนเฉลยเปนเพียงแนวคิดหนึ่งในการหาคําตอบ นักเรียนอาจมีแนวคิดที่แตกตางก็ได สําหรับแบบฝกหัด
มีทั้งอยูในแตละกิจกรรมและอยูในชุดแบบฝกหัด ครูควรเลือกใหนักเรียนทําตามความเหมาะสมกับ
ความสามารถของนักเรียนและเวลา
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
ใชสมบัติเกี่ยวกับวงกลมในการใหเหตุผลและแกปญหาที่กําหนดใหได
46
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถระบุสวนตาง ๆ ที่กําหนดใหเกี่ยวกับวงกลมได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวงกลมที่ปรากฏอยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว อาจใหนักเรียน
ชวยกันยกตัวอยางวัสดุหรือสิ่งที่มีลักษณะเปนวงกลม เพื่อโยงไปสูความหมายของวงกลม เมื่อกลาวถึง
วงกลมซึ่งเปนรูปเรขาคณิตรูปหนึ่ง จะเรียกชื่อวาวงกลมโดยไมมีคําวารูปนําหนาเหมือนชื่อรูปเรขาคณิต
อื่น ๆ เชน รูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยม
2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแนะนําสวนตาง ๆ ของวงกลม ครูควรแนะนําทีละ
ชุด โดยแนะนําชุดที่เปนเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน คอรด เสนสัมผัส
วงกลม แลวตรวจสอบความเขาใจโดยใหนักเรียนทํากิจกรรม “บอกไดไหม” ตอจากนั้นจึงแนะนําชุดของ
มุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน มุมที่จุดศูนยกลาง มุมในสวนโคงของวงกลม และใชกิจกรรม
“ยังบอกไดไหม” ตรวจสอบความเขาใจอีกครั้ง สําหรับความหมายของสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลาง
หรือรองรับมุมในสวนโคงของวงกลมไมไดใหความหมายไวเปนกิจลักษณะ ครูควรอธิบายและชี้ใหเห็นวา
สวนโคงดังกลาวมีจุดปลายอยูบนแขนทั้งสองของมุมที่กลาวถึง เชน
BAC
∧
เปนมุมในสวนโคงของวงกลม ซึ่งมี BC อยูตรงขามมุม
เปนสวนโคงที่รองรับมุม BAC
∧
สังเกตไดวา จุด B และจุด C
อยูบนวงกลม จุด B อยูบนแขน AB และจุด C อยูบนแขน
AC
3. การทบทวนและแนะนําเกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของวงกลมในหัวขอนี้ มีเจตนาเพียงเพื่อให
นักเรียนเขาใจและเปนพื้นฐานในการศึกษาสาระในหัวขอตอ ๆ ไป ครูไมควรนําสาระในหัวขอนี้ไปวัดผล
B
C
A
47
3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับมุมที่จุดศูนยกลางและ
มุมในสวนโคงของวงกลมไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. สาระสวนใหญในหัวขอนี้เสนอไวในรูปของกิจกรรมเชนกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม”
ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมจริง ๆ และเขียนขอความคาดการณที่นักเรียนคนพบจากกิจกรรม
สําหรับการพิสูจนยืนยันขอความคาดการณในกิจกรรมนี้ไดกลาวไวในรูปของทฤษฏีบท ครูอาจให
นักเรียนชวยกันบอกแนวคิดในการพิสูจนบนกระดานดํา และบอกเหตุผลโดยใชการอธิบายดวยวาจาแทน
การเขียน หลังจากนั้นจึงใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของการพิสูจนในหนังสือเรียนอีกครั้งก็ได
2. สําหรับตัวอยางที่ 1 แสดงใหนักเรียนเห็นวาโจทยปญหาเกี่ยวกับการคํานวณหาขนาดของมุม
ที่กําหนดให ถาตองการแสดงเหตุผลประกอบจะทําไดอยางไร
สําหรับโจทยปญหาที่ใหหาขนาดของมุมที่กําหนดใหในทุก ๆ เรื่องของบทนี้ ในกรณีที่ไม
ตองแสดงเหตุผล ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเขียนขนาดของมุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการคํานวณหาคําตอบไว
ในรูป เพื่อครูจะไดตรวจสอบรองรอยการคิดคํานวณและการนําสมบัติของวงกลมมาใชวาถูกตองหรือไม
เชน
กําหนดให AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O และ
ACO
∧
= 35o
จงหาขนาดของ OBC
∧
จากรูป จะเห็นแนวคิดของนักเรียนที่มีรองรอยของขนาดของมุม
ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันตามสมบัติทางเรขาคณิตที่นํามาใช ซึ่งจะ
ทําใหได OBC
∧
= 55o
3. การดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในกิจกรรมอื่น ๆ เชนกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง”
หรือ “มุมในสวนโคงของวงกลม” ก็อาจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทํานองเดียวกับกิจกรรม
“มุมในครึ่งวงกลม”
สําหรับการพิสูจนวาขอความคาดการณ “มุมที่จุดศูนยกลาง จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน”
ถาครูเห็นสมควรใหนักเรียนพิสูจน ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ในกรณีที่มุมใน
สวนโคงมีลักษณะเปนดังรูป ก และรูป ค ดังนี้
35o
C
O
A B
55o
55o
48
ลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด E
จะได 1
∧
= 2
∧
+ 3
∧
= 2(2
∧
) --------- 1
4
∧
= 5
∧
+ 6
∧
= 2(5
∧
) --------- 2
จาก 1 + 2 จะได 1
∧
+ 4
∧
= 2(2
∧
+5
∧
)
ดังนั้น ในรูป ก AOB
∧
= 2(ACB
∧
) และในรูป ค มุมกลับ AOB = 2(ACB
∧
)
ในกรณีที่มุมในสวนโคงมีลักษณะดังรูป ข ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ดังนี้
โดยลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด D
จะได 1
∧
= 2
∧
+ 3
∧
= 2(2
∧
) ------ 1
1
∧
+ 4
∧
= (2
∧
+5
∧
)+ 6
∧
= 2(2
∧
+5
∧
)
= 2(2
∧
)+ 2(5
∧
) ------ 2
จาก 2 – 1 จะได 4
∧
= 2(5
∧
)
ดังนั้น AOB
∧
= 2(ACB
∧
)
4. สําหรับแบบฝกหัด 3.2 ข ขอ 2 เปนสมบัติที่ครูควรใหนักเรียนพิสูจน และแนะนําให
นักเรียนจดจําทฤษฎีบทนี้ไปใชในการใหเหตุผลอางอิงตอไป
สําหรับแบบฝกหัดขอ 3 หลังจากพิสูจนขอความดังกลาวแลว ครูควรใหนักเรียนสรุปเปน
สมบัติของวงกลมที่สามารถนําไปใชอางอิงไดเชนกัน อาจใหจดบันทึกเปนทฤษฎีบทดังนี้
ในวงกลมวงหนึ่ง ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมออกไป ขนาดของ
มุมภายนอกจะเทากับขนาดของมุมภายในที่อยูตรงขาม
A
B
O
C
2 5
641
3
E
รูป ก
1
A
E
B
C
O
4 6
523
รูป ค
(ขนาดของมุมภายนอกของ
รูปสามเหลี่ยมเทากับผลบวก
ของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิด
ของมุมภายนอกนั้น)
(เหตุผลเชนเดียว
กันกับขางตน)
OD
B3
A
1 4 2 5
6
C
รูป ข
49
3.3 คอรด (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับคอรดและสวนโคงของ
วงกลมไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. สาระในกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม” เสนอไวในรูปคําถามซึ่งมีคําตอบนําไปสู
การใหเหตุผลเพื่อการพิสูจนยืนยันทฤษฎีบทที่เกี่ยวของได ครูอาจใหนักเรียนสํารวจ ตอบคําถามและ
ชวยกันสรุปเปนขอความคาดการณ แลวใหนักเรียนพิสูจนทฤษฎีบทนั้นเปนการบานก็ได
2. สําหรับกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม” มีเจตนาใหนักเรียนไดนํา
ความรูเกี่ยวกับความสัมพันธของมุมที่จุดศูนยกลาง สวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางและคอรดมาใชใน
การสรางรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาบางรูปแนบในวงกลมและการใหเหตุผลยืนยัน ครูอาจใหนักเรียน
รวมกันอภิปรายหาขอสรุปเพื่อตอบคําถามหลังกิจกรรมการสราง
3. สําหรับกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม” การพิสูจนในกิจกรรมขอ 1 และ
ขอ 2 ทําไดงาย ครูอาจใหนักเรียนพิสูจนเปนการบานและนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนอีกครั้งก็ได
4. การพิสูจนสมบัติของวงกลมเกี่ยวกับจุดศูนยกลางของวงกลมที่อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและ
แบงครึ่งคอรดของวงกลมคอนขางเขาใจยาก ครูควรนํามาอภิปรายในชั้นเรียนและชี้ใหนักเรียนเห็นวา
สมบัติดังกลาวนี้มีประโยชนในการนําไปใชแกปญหาเกี่ยวกับการหาตําแหนงของจุดศูนยกลางของวงกลม
ในกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ตอไป
สําหรับกิจกรรมการหาจุดศูนยกลางของวงกลมที่กําหนดคอรดสองคอรดขนานกัน ครูอาจ
เพิ่มเติมความรูโดยใชคําถามใหนักเรียนคิดวา ในกรณีเชนนี้ในทางปฏิบัติจะทําอยางไรจึงจะทราบตําแหนง
ของจุดศูนยกลางของวงกลม
คําตอบของนักเรียนอาจเปนดังนี้
จากรูปที่มี AB // CD และ EF ตั้งฉากและแบงครึ่ง
AB และ CD อาจลาก AD แลวสรางเสนตรง
ตั้งฉากและแบงครึ่ง AD จะไดจุดตัดของเสนตรง
กับ EF เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
F
AB
C D
E
50
5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด” มีเจตนาใหเปนกิจกรรมสํารวจ ครูควรให
นักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อใหไดขอสรุปที่สําคัญตามที่เสนอไวทายกิจกรรมนี้
6. กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนเห็นการนําความรูจาก
กิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ไปใชในการสรางวงกลมลอมรูปสามเหลี่ยม ครูอาจตั้งคําถามแลวให
นักเรียนชวยกันสรางและใหเหตุผลรวมกันในชั้นเรียนก็ได
7. กิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนทราบทฤษฎีบท
ของวงกลมที่นาสนใจอีกทฤษฎีบทหนึ่งซึ่งเปนบทกลับของทฤษฎีบทที่กลาววา “ผลบวกของขนาดของ
มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา” ครูควรนํามาอธิบายและชี้ใหเห็นวาแนวคิด
ในการพิสูจนจะแตกตางจากแนวการพิสูจนที่นักเรียนคุนเคย คือใหเหตุผลเพื่อแสดงวาผลที่ตองการเปนจริง
แตในการพิสูจนบทกลับนี้จะพิสูจนโดยสมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปนเท็จ แลวใหเหตุผลจนเกิดขอ
ขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดใหหรือสิ่งที่ทราบวาเปนจริง จึงไดขอสรุปวา ที่สมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปน
เท็จนั้นเปนไปไมได ดังนั้นผลที่ตองการจึงเปนจริง การพิสูจนลักษณะนี้เปนการพิสูจนทางออม
8. สําหรับกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน” หลังจากครูใหนักเรียนตอบคําถามและชวยกันสรุป
คําตอบที่จะนําไปสูการพิสูจนแลว ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนอีกครั้งเปนการบานดวยก็ได
9. สําหรับแบบฝกหัด 3.3 ค ขอ 6 หลังจากนักเรียนพิสูจนแลว ครูควรแนะนําใหนักเรียน
ทราบวา เราสามารถนําสมบัตินี้ไปใชอางอิงในการใหเหตุผลตอไปได
3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมี ครูควรนําทฤษฏีบทที่
เปนประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขทั้งสองประโยคมาอธิบายและทําความเขาใจแนวการ
พิสูจน เนื่องจากแนวการพิสูจนบทกลับเปนการพิสูจนทางออมซึ่งอาจเปนเรื่องที่เขาใจยากสําหรับนักเรียน
บางคน
2. สําหรับสาระเกี่ยวกับการสรางเสนสัมผัสวงกลมแสดงใหเห็นการสราง 2 แบบคือ แบบ
กําหนดจุดสัมผัสบนวงกลมมาใหและกําหนดจุดภายนอกวงกลมมาให ซึ่งเปนความรูที่นักเรียนควรทราบ
ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนยืนยันการสรางดวย ทั้งนี้เพราะในแบบฝกหัดที่กําหนดใหสรางเสนสัมผัส
ไมไดใหมีการพิสูจน
3. สําหรับกิจกรรม “ลองคิดดู” มีเจตนาใหนักเรียนไดฝกคิดวิเคราะหและใชความรูทาง
เรขาคณิต พีชคณิตและการวัดมาเชื่อมโยงในการแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนคิดและนําเสนอแนวคิดบน
ปายนิเทศก็ได
51
4. สําหรับกิจกรรม “นารู” มีเจตนาใหเปนความรูเพิ่มเติมและใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง
ความรูโดยนําสมบัติของวงกลมมาใชในการอธิบายทางภูมิศาสตรเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงของเสนรุง
ครูอาจใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองก็ได
5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการนําความรู
เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมีมาใชในการวิเคราะหการสรางวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูอาจเขียนรูปที่ตองการสรางอยางคราว ๆ ซึ่งเปนรูป
ที่มีวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยมกอน แลวใชคําถามใหนักเรียนคิดวิเคราะหยอนจากผลที่ตองการไปสู
จุดเริ่มตนของการสราง ดังตัวอยางคําถามตอไปนี้
1) ถาจุด D, E และ F เปนจุดสัมผัสของวงกลม แลว OD, OE และ OF ตอง
เกี่ยวของกับวงกลม O อยางไรบาง [แตละสวนของเสนตรงเปนรัศมีของวงกลม O
มีความยาวเทากัน และตั้งฉากกับกับเสนสัมผัส]
2) ถาตองการใหมีผลวา OD = OE เหตุที่จะทําใหเกิดผลดังกลาว ควรไดจากความรู
เรื่องใด [ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม]
3) ถาใชความรูเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม สิ่งที่จะใชเปนเงื่อนไข
ในการพิจารณา 3 ประการนาจะมีอะไรบาง [BD = BE, BO = BO และ
DBO
∧
= EBO
∧
]
4) จากเงื่อนไข 3 ประการในขอ 3) มีสิ่งใดที่นักเรียนคิดวายังบอกไมไดวามีความเทากัน
หรือไม [ขนาดของ DBO
∧
และขนาดของ EBO
∧
]
5) นักเรียนสามารถสรางให DBO
∧
= EBO
∧
ไดหรือไม [ได โดยการสรางเสนแบง
ครึ่งมุม]
จากคําถาม 5 ขอขางตน นักเรียนควรเห็นแลววาทําไมการสรางวงกลมแนบในรูป
สามเหลี่ยมจึงตองอาศัยการแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยม
จากนั้นครูจึงใชคําถามตอเนื่อง เชน
E
O
F
A
CB
D
52
6) ถาสรางเฉพาะเสนแบงครึ่งมุม ABC
∧
มุมเดียวจะหาจุดศูนยกลางของวงกลมไดหรือไม
[ไมได]
7) นักเรียนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยมกี่มุม จึงจะไดตําแหนงของ
จุดศูนยกลางของวงกลม [2 มุม]
8) จําเปนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของมุมที่สามอีกหรือไม เพราะเหตุใด
[ไมจําเปน เพราะจากการสรางเสนแบงครึ่งมุม 2 มุมก็สามารถพิสูจนไดแลววา
DO = EO = FO และ DO, EO, FO แตละเสนจะตั้งฉากกับดานทั้งสามของ
รูปสามเหลี่ยม ทําใหสรุปไดวาจุด E, F และ G เปนจุดสัมผัสของวงกลม]
6. ทฤษฎีบทในกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด” เปนอีกทฤษฏีบทหนึ่งที่มีการนําไปใชมาก
หลังจากนักเรียนตอบคําถามขอ 1 แลว ครูควรใหนักเรียนพิสูจนเปนทฤษฎีบทโดยทํากิจกรรมขอ 2 ดวย
7. สําหรับกิจกรรม “ไกลแคไหน” มีเจตนาใหเห็นการนําความรูเรื่องเสนสัมผัสไปใชเพื่อ
เชื่อมโยงกับความรูทางภูมิศาสตรอีกกิจกรรมหนึ่ง ครูอาจใหนักเรียนศึกษาและทําเปนการบานก็ได แต
ควรไดมีการอภิปรายกันถึงสถานการณปญหาที่ตองการใหเห็นแนวคิดในการหาสูตรการคํานวณ เพื่อใชใน
การคํานวณระยะทางในทางภูมิศาสตรโดยประมาณ ครูไมควรนําเรื่องนี้ไปวัดผล
8. สําหรับกิจกรรม “ระยะรอบโลก” เปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่ตองการใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง
ความรูทางคณิตศาสตรกับภูมิศาสตร ตองการจุดประกายใหนักเรียนเห็นความสามารถของนักคณิตศาสตร
ในอดีตที่มีความคิดสรางสรรค เปนคนชางสังเกต ใฝรู และมีความพยายามในการแกปญหา
นวนิยายเรื่อง 80 วันรอบโลกเสนอไวในกิจกรรมนี้เพื่อเสริมกิจกรรมใหนาสนใจ ภาพยนตร
เรื่องนี้สนุก ตื่นเตน ครูอาจหาภาพยนตรเรื่องนี้มาใหนักเรียนชมก็ได
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม”
1.
1) หลายเสนนับไมถวน
2) ไมเปน เพราะรัศมีของวงกลมตัดวงกลมที่จุดจุดเดียว
3) หลายเสนนับไมถวน
4) ได
5) หลายเสนนับไมถวน
6) ไมได
53
2.
1) AC
2) AO, BO และ CO
3) AC, BC, CD และ DH
4) AC
5) EF
6) CF
7) ABC และ ADC
คําตอบกิจกรรม “ยังบอกไดไหม”
1. AOB, BOC, AOC,
∧ ∧ ∧
มุมกลับ AOB และมุมกลับ BOC
2. ADC
∧
3. BAC, BAD, CAD, ADB, ADC, BDC, ACD
∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧
และ ABD
∧
4. AB, BC, ABC, ADC, ADB หรือ ACB, BAC หรือ BDC
5. ABC
6. BC, BD, CD, AB, AC และ AD
คําตอบกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม”
คําตอบในกิจกรรม
4. 90o
5. ใช
คําตอบแบบฝกหัด
1. 25o
2. 55o
3. 37o
54
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก
1. 54o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. ABC
∧
= 180 – 90 – 18 = 72o
2. AOD
∧
= ABC
∧
= 72o
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูบน
ขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน)
3. ∆ ADO เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
4. ADO
∧
= DAO
∧
= 180 72
2
−
= 54o
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. ABC
∧
= BAD
∧
= CDA
∧
= DCB
∧
= 90o
(มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา)
2. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
3. แนวคิดในการพิสูจน
1. ∆ ABC ≈ ∆ ADC (ม.ม.ด.)
2. AB = AD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง”
คําตอบในกิจกรรม
3. ได
4. ขนาดของมุมที่จุดศูนยกลางเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงเดียวกัน
18o
O B
CD
A
A
B
D
C
B
D
C
A
55
6. ได
7. ไดเชนเดียวกัน
8. จากรูป ข ได AOB
∧
= 2(ACB
∧
)
จากรูป ค ได มุมกลับ AOB = 2(ACB
∧
)
9. ใช
คําตอบแบบฝกหัด
1. 45o
2. 55o
3. แตละมุมมีขนาด 40o
4.
1) 200o
2) 160o
3) 80o
4) 180o
5) 180o
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข
1. 122.5o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. มุมกลับ AOB = 360 – 115 = 245o
2. มุมกลับ AOB = 2(ACB
∧
) = 245o
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
3. ACB
∧
= 245
2 = 122.5o
(สมบัติของการเทากัน)
B
115o
C
A
O
56
2. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก DO และ BO
1. DOB
∧
= 2(DAB
∧
) และมุมกลับ DOB = 2(DCB
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
2. 2(DAB
∧
) + 2(DCB
∧
) = DOB
∧
+ มุมกลับ DOB = 360o
3. DAB
∧
+ DCB
∧
= 180o
(สมบัติของการเทากัน)
ในทํานองเดียวกันสามารถพิสูจนไดวา ABC
∧
+ ADC
∧
= 180o
3. แนวคิดในการพิสูจน
1. BAD
∧
+ DCB
∧
= 180o
(ผลบวกของขนาดของมุม
ตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา)
2. DCB
∧
+ BCE
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
3. BCE
∧
= BAD
∧
(สมบัติของการเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “มุมในสวนโคงของวงกลม”
คําตอบในกิจกรรม
1. AOC
∧
= 2(ABC
∧
)
2. AOC
∧
= 2(ADC
∧
)
3. ABC
∧
= ADC
∧
4. มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน
5. ใช
คําตอบแบบฝกหัด
1. 62o
2. 75o
3. 29o
4. 53o
A
O
B
D
C
A
B
D
C
E
57
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ค
1. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO และ CO
1. AOC
∧
= 2(ABC
∧
) และ AOC
∧
= 2(ADC
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
2. 2(ABC
∧
) = 2(ADC
∧
) (สมบัติของการเทากัน)
3. ABC
∧
= ADC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
2. 76o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. BCD
∧
= ABC
∧
= 50o
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
2. BAD
∧
= BCD
∧
= 50o
(มุมในสวนโคงของวงกลมที่
รองรับดวยสวนโคงเดียวกันจะมีขนาดเทากัน)
3. BAC
∧
= 50 + 26 = 76o
3. 36o
4. แนวคิดในการพิสูจน
พิจารณา ∆ ABX และ ∆ CDX
1. ABX
∧
= CDX
∧
และ BAX
∧
= DCX
∧
(มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน
จะมีขนาดเทากัน)
2. AXB
∧
= CXD
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว
มุมตรงขามมีขนาดเทากัน)
A
B D
C
O
X
B
D
C
A
C
50°
26°
A
D
B
58
3. ∆ ABX ∼ ∆ CDX ----- ขอ 1
(ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเทากันเปนคู ๆ
สามคู แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเปนรูปสามเหลี่ยมที่
คลายกัน)
4. BX
DX = AX
CX (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลาย) ----- ขอ 2
5. BX CX⋅ = DX AX⋅
(สมบัติการคูณไขวของอัตราสวน) ----- ขอ 3
คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม”
1.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ
ยาวเทากัน
5) ใช
2.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ
ยาวเทากัน
5) ใช
3.
1)
(1) เทากัน
(2) เทากัน
(3) ถามุมในสวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ
ยาวเทากัน
(4) ใช
(5) แนวคิดในการพิสูจน
59
A
B
O
C
D
พิจารณา วงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ
1. ACB
∧
= EDF
∧
(กําหนดให)
2. AOB
∧
= 2(ACB
∧
) และ ERF
∧
= 2(EDF
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
3. AOB
∧
= ERF
∧
(สมบัติของการเทากัน)
4. m(AB) = m(EF)
(ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด
เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาว
เทากัน)
2) แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO, BO และ DO
1. ACB
∧
= ACD
∧
(กําหนดให)
2. AOB
∧
= 2(ACB
∧
) และ AOD
∧
= 2(ACD
∧
)
(มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ
ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง
เดียวกัน)
3. AOB
∧
= AOD
∧
(สมบัติของการเทากัน)
4. m(AB) = m(AD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่
จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม (ตอ)”
1.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด
เทากัน
A
B
O
C
E
F
R
D
60
5) ใช
2.
2) ทับกันไดสนิท
3) เทากัน
4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด
เทากัน
5) ใช
3.
1) แนวคิดในการพิสูจน
พิจารณาวงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ
ลาก AO, BO, DR และ FR
1. m(AB) = m(DF) (กําหนดให)
2. AOB
∧
= DRF
∧
(ในวงกลมที่เทากันทุกประการ
ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
3. 2(ACB
∧
) = 2(DEF
∧
) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม
จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ
วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน)
4. ACB
∧
= DEF
∧
(สมบัติของการเทากัน)
2) แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO, BO และ CO
1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให)
2. AOB
∧
= AOC
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง
ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น
จะมีขนาดเทากัน)
3. 2(ACB
∧
) = 2(ABC
∧
) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม
จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ
วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน)
4. ACB
∧
= ABC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
A
B O
C
A
B
O
C
D
F
R
E
61
คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ง
1. ABC
∧
= 95o
และ BCD
∧
= 82o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. ADC
∧
+ ABC
∧
= 180o
(ผลบวกของขนาดของ
มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ
180 องศา)
2. ABC
∧
= 180 – 85 = 95o
3. BAD
∧
+ BCD
∧
= 180o
(ผลบวกของขนาดของ
มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ
180 องศา)
4. BCD
∧
= 180 – 98 = 82o
2. ADB
∧
= 25o
และ AEB
∧
= 25o
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. ADB
∧
= ACB
∧
= 25o
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน
สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี
ขนาดเทากัน)
2. AEB
∧
= ACB
∧
= 25o
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน
สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี
ขนาดเทากัน)
3. m(DE)
แนวคิดในการใหเหตุผล
1. BAC
∧
= EAD
∧
(กําหนดให)
2. m(BC) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมใน
สวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ
มุมทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน)
B
C
A
D 98o
85o
A
D B
E
25o
C
D
B
E
C
A
62
4. BDC
∧
= 60o
และ CAD
∧
= 50o
5. ADC
∧
= 43o
และ BCD
∧
= 43o
6. AOC
∧
= 70o
และ BOD
∧
= 70o
7. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AD) = m(BC) (กําหนดให)
2. ABD
∧
= CDB
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว
เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
3. AB // CD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน)
8. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(BD) = m(BC) (กําหนดให)
2. m(ADB) = m(ACB) (สวนโคงครึ่งวงกลมของวงกลม
วงเดียวกัน ยาวเทากัน)
3. m(ADB) – m(BD) = m(ACB) – m(BC) หรือ
m(AD) = m(AC) (สมบัติของการเทากัน)
4. ACD
∧
= ADC
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง
ยาวเทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
5. AD = AC (ถามุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง
มีขนาดเทากัน แลวดานที่อยูตรงขามมุมทั้งสองนั้นจะยาว
เทากัน)
6. ∆ ADC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
9. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AX) = m(DX) (กําหนดให)
2. AOX
∧
= DOX
∧
(ในวงกลมวงเดียวกน ถาสวนโคง
ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น
จะมีขนาดเทากัน)
C
A
B
D
B
C
A
D
BC
A D
O
X
63
3. AOC
∧
= BOD
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว
มุมตรงขามมีขนาดเทากัน)
4. AOC
∧
+ AOX
∧
= BOD
∧
+ DOX
∧
(สมบัติของการเทากัน)
5. ∆ COX ≅ ∆ BOX (ด.ม.ด.)
10. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก AO, BO, CO, DO และ EO
1. AOB
∧
+ BOC
∧
+ COD
∧
+ DOE
∧
+ EOA
∧
= 360o
(มุมรอบจุดจุดหนึ่งมีขนาดเทากับ 360 องศา)
2. 2(ADB
∧
) + 2(BEC
∧
) + 2(CAD
∧
) + 2(DBE
∧
) + 2(
∧
ECA)
= 360o
(สมบัติของการเทากัน)
3. ADB
∧
+ BEC
∧
+ CAD
∧
+ DBE
∧
+ ACE
∧
= 180o
(สมบัติของการเทากัน)
4. A
∧
+ B
∧
+C
∧
+D
∧
+E
∧
= 180o
คําตอบกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม”
1.
1) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AB = CD
ดังนั้น ∆ AOB ≅ ∆ COD (ด.ด.ด.)
2) เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน
3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่
รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน
4) เทากัน เพราะ ความยาวของแตละสวนโคงเกิดจากความยาวของเสนรอบวงของวงกลม
ลบดวยความยาวที่เทากันของสวนโคงของวงกลม
5) ใช
6) ใช
B
C
A
D
E
O
64
7) แนวคิดในการพิสูจน
กําหนดให วงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ
คอรด AB และคอรด DE ยาวเทากัน
ลาก AO, BO, DR และ ER
1. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ด.ด.)
2. AOB
∧
= DRE
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม
ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
3. m(AB) = m(DE) (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ
ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ
มุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
4. m(AB)+ m(ACB) = m(DE)+ m(DFE)
(ตางก็มีความยาวเทากับความยาวของเสนรอบวงของวงกลม
ที่เทากันทุกประการ)
5. m(ACB) = m(DFE) (สมบัติของการเทากัน)
2.
1) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่
รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน
2) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AOB
∧
= COD
∧
(ด.ม.ด.)
3) AB = CD เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน
4) ใช
5) ใช
6) แนวคิดในการพิสูจน
กําหนดใหวงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ
และ m(AB) = m(DE)
ลาก AO, BO, DR และ ER
1. m(AB) = m(DE) (กําหนดให)
2. AOB
∧
= DRE
∧
(ในวงกลมที่เทากันทุกประการ
ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
3. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ม.ด.)
BA
C
O
ED
F
R
BA
C
O
ED
FR
65
4. AB = DE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม”
คําตอบแบบฝกหัด
1.
1) ยาวเทากัน
2) ตั้งฉากกันและแบงครึ่งซึ่งกันและกัน
3) แนวการสราง
1. สรางวงกลม O ใหมีรัศมียาวเทากับ 10
2 = 5 เซนติเมตร
2. ลาก AB เปนเสนผานศูนยกลาง
3. สราง XY ตั้งฉากกับ AB ที่จุด O ตัดวงกลมที่จุด C และจุด D
4. ลาก AC, BC, BD และ AD
จะได ADBC เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีเสนทแยงมุม AB ยาว 10 เซนติเมตร
A B
C
D
O 5 ซม.
Y
X
66
2.
2) เปน
3)
(1) เปน เพราะ ความยาวของแตละดานเทากับรัศมีของวงกลม
(2) 60o
เพราะ เปนขนาดของมุมภายในแตละมุมของรูปสามเหลี่ยมดานเทา
(3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน
แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน
(4) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได
สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน
(5) 60o
เพราะ FOA
∧
มีขนาดเทากับขนาดของมุมรอบจุด O ลบดวยผลบวก
ของขนาดของมุมในขอ (2) FOA
∧
= 360 – (5 × 60)
(6) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน
แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน
(7) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได
สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน
(8) เปน เพราะ ทุกดานมีความยาวเทากัน
(9) 120o
เพราะ แตละมุมมีขนาดเทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในสองมุม
ของรูปสามเหลี่ยมดานเทาที่เรียงตอกัน
(10) เปน
4)
(1) 120o
(2) 720o
คําตอบแบบฝกหัด
1) 3 มุม แตละมุมมีขนาด 120o
2) 8 มุม แตละมุมมีขนาด 45o
3) 12 มุม แตละมุมมีขนาด 30o
4) 16 มุม แตละมุมมีขนาด 22.5o
67
คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ก
1. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให)
2. AB = AC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด
วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสอง
นั้นจะยาวเทากัน)
3. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
(มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน)
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. m(AB) = m(BC) (กําหนดให)
2. AB = BC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด
วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น
จะยาวเทากัน)
3. ADB
∧
=
∧
CEB (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว
เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย
สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน)
4. ∆ ABD ≅ ∆ CBE (ม.ม.ด.)
5. BD = BE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
3. แนวการสราง
1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร
2. สราง AOB
∧
และ BOC
∧
ใหแตละมุมมีขนาด 120o
3. ลาก AB, BC และ AC
จะได ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา
C
A
B
A C
D E
O
B
O A
B
C
68
แนวคิดในการพิสูจน
1. AOB
∧
= BOC
∧
= 120o
(จากการสราง)
2. จะได AOC
∧
= 120o
(ขนาดของมุมรอบจุดจุดหนึ่งเทากับ 360 องศา)
3. m(AB) = m(BC) = m(CA) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด
เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะ
ยาวเทากัน)
4. AB = BC = CA (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได
สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน)
5. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา
4. แนวการสราง
1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร
2. ลากเสนผานศูนยกลาง AE
3. สราง PQ แบงครึ่ง AOE
∧
ตัดวงกลมที่จุด C และจุด G
จะได AOC
∧
= 90o
4. สราง XY แบงครึ่ง AOC
∧
ตัดวงกลมที่จุด B และจุด F
จะได AOB
∧
= 45o
5. สราง MN แบงครึ่ง COE
∧
ตัดวงกลมที่จุด D และจุด H
จะได COD
∧
= 45o
6. ลาก AB, BC, CD, DE, EF, FG, GH และ HA
จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา
แนวคิดในการพิสูจน
1. AOB
∧
= BOC
∧
= COD
∧
= DOE
∧
= EOF
∧
= FOG
∧
= GOH
∧
= HOA
∧
= 45o
(จากการสราง และถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามจะมีขนาดเทากัน)
2. m(AB) = m(BC) = m(CD) = m(DE) = m(EF) = m(FG) = m(GH) = m(HA)
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
C
P
D
E
F
G
H
A
B
X
N
Q
Y
M
O
69
3. AB = BC = CD = DE = EF = FG = GH = HA
(ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรด
ทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน)
4. รูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทา (มีดานยาวเทากันทุกดาน)
5. ∆ AOB, ∆ BOC, ∆ COD, ∆ DOE, ∆ EOF, ∆ FOG, ∆ GOH และ ∆ HOA
แตละรูปเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มีมุมยอดขนาด 45 องศา
6. มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วแตละรูปมีขนาดเทากับ 180 45
2
−
= 67.5 องศา
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา)
7. ABC
∧
= BCD
∧
= CDE
∧
= DEF
∧
= EFG
∧
= FGH
∧
= GHA
∧
= HAB
∧
= 67.5 × 2 = 135o
8. จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา (จากขอ 4 และขอ 7)
5. แนวการสรางและพิสูจนทําไดในทํานองเดียวกับขอ 3 จากรูปการสรางขางลางนี้ จะได
รูป ABCDEFGHIJKL เปนรูปสิบสองเหลี่ยมดานเทามุมเทา
คําตอบกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม”
1. แนวคิดในการพิสูจน
1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.)
2. AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
BA
O
X
30o
O
A
B
CD
E
F
G
H
I J
K
L
70
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ด.ด.ด.)
2. AXO
∧
= BXO
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่
เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
3. AXB
∧
= AXO
∧
+ BXO
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
4. AXO
∧
= BXO
∧
= 90o
(จากขอ 2 และขอ 3)
คําตอบแบบฝกหัด
1. 16 เซนติเมตร
2. 13 เซนติเมตร
3. 3.9 เซนติเมตร
4.
1) 21 เซนติเมตร
2) มีลักษณะเปนวงกลม
คําตอบกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง”
1. แนวคิด
1. สรางเสนตรง 1 ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB
2. สรางเสนตรง 2 ตั้งฉากและแบงครึ่ง BC
3. ใหเสนตรง 1 ตัดกับเสนตรง 2 ที่จุด O
จะไดจุด O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
BA
O
X
O
1
2
A B
C
71
2.
ถาคอรด AB และคอรด CD ขนานกัน เสนตรง 1
และ 2 ที่เปนเสนตั้งฉากและแบงครึ่งคอรดทั้งสอง
จะทับกันเปนเสนตรงเดียวกัน จึงไมสามารถหาจุดตัด
ที่เปนจุดศูนยกลางของวงกลม
คําตอบกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด”
1. สรางวงกลมผานจุด A ไดจํานวนวงกลมนับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นเปนจุดตาง ๆ
บนระนาบ
2.
สรางวงกลมผานจุด A และจุด B ไดจํานวนวงกลม
นับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นจะเรียง
อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB
3. ตัวอยางการสราง
สรางวงกลมผานจุด A, B และ C ไดวงเดียวและ
จุดศูนยกลางของวงกลมอยูที่จุดตัดของเสนตรงสองเสน
ซึ่งเปนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่งสวนของเสนตรง
สองเสนที่เชื่อมสองจุดใด ๆ ของจุด A, B และ C
A B
O1
O2
O3
A B
C
BA
D C
1
2
72
4. สรางไมได
5. สรางไมได
คําตอบกิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม”
1. 180o
เพราะ กําหนดให
2. 180o
เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุมของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ เทากับ 360 องศา
3. 180o
เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ
180 องศา
4. เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
5. ได เพราะ สมบัติของการเทากัน
คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ข
1. แนวการสรางและแนวการพิสูจน ทําไดในทํานอง
เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม”
ในหนังสือเรียนหนา 121 – 122
2. ใหจุด A, B และ C เปนตําแหนงของโรงเรียน
โรงพยาบาล และทารถประจําทาง ตามลําดับ
เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานอง
เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ใน
หนังสือเรียน หนา 121 – 122
จะไดตําแหนงที่สรางตลาดสดอยูที่จุดศูนยกลางของ
วงกลม ที่ผานจุด A, B และ C
A
B
C
O
F
E
1
2
A
B
C
E
F
O
2
1
73
3. กําหนดจุด A, B และ C บนขอบจานที่จุดเหลานี้ไมอยูใน
แนวเสนตรงเดียวกัน
เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานองเดียวกันกับ
กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ในหนังสือเรียนหนา
121 – 122
จะไดจุดศูนยกลางของจานซึ่งทําใหหาความยาวของรัศมีของ
จานได ตอจากนั้นจึงใชความยาวของรัศมีหาความยาวของ
เสนรอบจาน
4. แนวคิดในการพิสูจน
1. ODC
∧
= OEC
∧
= 90o
(กําหนดให)
2. ODC
∧
+ OEC
∧
= 180o
(จากขอ 1)
3. ODCE แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี
ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว
รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได)
5. แนวคิดในการพิสูจน
1. ให ABD
∧
มีขนาดเปน xo
2. จะได DBC
∧
= 2xo
(กําหนดให)
3. ABD
∧
= ADB
∧
= xo
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม
หนาจั่วมีขนาดเทากัน)
4. DBC
∧
= DCB
∧
= 2xo
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม
หนาจั่วมีขนาดเทากัน)
5. จะได DAB
∧
+ BCD
∧
= (180 – 2x) + 2x = 180o
6. ABCD แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี
ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว
รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได)
B
C
D
O
EA
A
(180 – 2x)o
xo 2xo
C
D
B
xo
2xo
A B
C
O
74
คําตอบกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน”
1.
1) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรด
ที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด
2) เทากัน
3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
4) เทากันทุกประการ เพราะ OEB
∧
= OFC
∧
= 90o
, OB = OC และ BE = CF (ฉ.ด.ด.)
5) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน
6) เทากัน
7) ใช
2.
1) เทากันทุกประการ เพราะ OEB
∧
= OFC
∧
= 90o
, OB = OC และ OE = OF
(ฉ.ด.ด.)
2) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน
3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
4) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช
เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด
5) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช
เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด
6) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
7) ใช
คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ค
1. 5 เซนติเมตร
2. แนวคิดในการพิสูจน
1. AD = BD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ
วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง
จะแบงครึ่งคอรด)
2. ∆ ACD ≅ ∆ BCD (ด.ม.ด.)
D BA
C
O
75
D
B
A C
O
F E
P
3. AC = BC (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
4. AC และ BC อยูหางจากจุด O เทากัน
(ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาวเทากัน แลวคอรด
ทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของวงกลมเปนระยะ
เทากัน)
3. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก OP
1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว
เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ
วงกลมเปนระยะเทากัน)
2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.)
3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน)
5. BE + EP = DF + FP (สมบัติของการเทากัน)
6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน)
4. แนวคิดในการพิสูจน
ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม ลาก OE และ OF ตั้งฉาก
กับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OP
1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว
เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ
วงกลมเปนระยะเทากัน)
2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.)
3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน)
5. EP – BE = FP – DF (สมบัติของการเทากัน)
6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน)
B
A
C
D
P
E
F
O
76
5. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F
ตามลําดับ ลาก OB และ OD
1. จาก ∆ OEB จะได OB2
= OE2
+EB2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2
= OF2
+FD2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน)
4. OB2
= OD2
(สมบัติของการเทากัน)
5. OE2
+ EB2
= OF2
+ FD2
(สมบัติของการไมเทากัน)
6. AB > CD (กําหนดให)
7. AB
2 > CD
2 (สมบัติของการไมเทากัน)
8. EB = AB
2 และ FD = CD
2 (สวนของเสนตรงซึ่งผาน
จุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช
เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด)
9. EB > FD (จากขอ 7 และขอ 8)
10. EB2
> FD2
(EB และ FD เปนจํานวนบวก)
11. OE2
< OF2
(จากขอ 5 และขอ 10)
12. OE < OF (OE และ OF เปนจํานวนบวก)
13. AB อยูใกลจุดศูนยกลางของวงกลมมากกวา CD
6. แนวคิดในการพิสูจน
สําหรับกรณีวงกลมวงหนึ่ง
ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม AB เปนคอรดที่อยูใกล
จุด O มากกวาคอรด CD ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB
และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OB และ OD
1. จาก ∆ OEB จะได OB2
= OE2
+EB2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2
= OF2
+FD2
(ทฤษฎีบทพีทาโกรัส)
3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน)
4. OB2
= OD2
(สมบัติของการเทากัน)
5. OE2
+ EB2
= OF2
+ FD2
(สมบัติของการเทากัน)
6. OE < OF (กําหนดให)
7. OE2
< OF2
(OE และ OF เปนจํานวนบวก)
D
B
A
C
O
E
F
D
B
A
C
O
E
F
77
8. EB2
> FD2
(จากขอ 5 และขอ 7)
9. EB > FD (EB และ FD เปนจํานวนบวก)
10. 2(EB) > 2(FD) (สมบัติของการไมเทากัน)
11. AB > CD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ
วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง
จะแบงครึ่งคอรด)
สําหรับกรณีวงกลมที่เทากันทุกประการ จะใชแนวคิดในการพิสูจนทํานองเดียวกัน
คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี”
1. เปน
3. ตั้งฉาก
4. ตั้งฉาก
5. ใช
คําตอบในกิจกรรม
1) PC
2) เปน
คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)”
คําตอบในกิจกรรม
1.
(1) ตั้งฉาก เพราะ ไดสรางให XY ตั้งฉากกับ OB ที่จุด A
(2) เปน เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบนวงกลม
จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น
C
B
O
D
X
Y
A
78
2.
(1) เปน
(2) 90o
เพราะ แตละมุมเปนมุมในครึ่งวงกลม R ซึ่งมุมในครึ่งวงกลม
มีขนาด 90 องศา
(3) ตั้งฉาก เพราะ OAX
∧
= 90o
และ OBX
∧
= 90o
(4) สัมผัสวงกลม O เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบน
วงกลม จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น
(5) สองจุด
(6) เทากัน เพราะ
OAX
∧
=
∧
OBX = 90o
(จากขอ (2))
OX = OX (OX เปนดานรวม)
AO = BO (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน)
จะได ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.)
ดังนั้น AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม
ที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบแบบฝกหัด (หนา 135)
1. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 1 ของ
กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน
หนา 132 – 133
2. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 2 ของ
กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน
หนา 132 – 133
P
Q
O R
X
A
B
X
O
A
P
B
A
B
O X
P
Q
R
79
3.
1) 63o
2) 117o
คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ก
1. 17 เซนติเมตร
2. 104o
3. 130o
4. 55o
5. 40o
6. 40o
7. แนวคิดในการพิสูจน
1. YAO
∧
= PBO
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
2. XY // PQ (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน)
8. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก CO และ DO
1. EX AB⊥ (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับรัศมีของ
วงกลมที่จุดสัมผัส)
2. EXB
∧
= 90o
(จากขอ 1)
3. CYX
∧
= EXB
∧
= 90o
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
4. ∆ CYO ≅ ∆ DYO (ฉ.ด.ด.)
5. COY
∧
= DOY
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม
ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
A B
O
P
Y Q
X
A B
O
C DY
E
X
80
6. m(CE) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่
จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
9. แนวคิดในการพิสูจน
1. BAC
∧
+ CAY
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
2. ACB
∧
= 90o
(มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา)
3. CAY
∧
+ AYB
∧
= 90o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม
ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา)
4. BAC
∧
+ CAY
∧
= CAY
∧
+ AYB
∧
= 90o
(สมบัติของการเทากัน)
5. BAC
∧
= AYB
∧
(สมบัติของการเทากัน)
10. แนวคิดในการพิสูจน
1. ABO
∧
= ACO
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
2. OA = OA (OA เปนดานรวม)
3. AB = AC (สวนของเสนตรงที่ลากมาจากจุดจุดหนึ่ง
ภายนอกวงกลมมาสัมผัสวงกลมวงเดียวกัน จะยาวเทากัน)
4. ∆ ABO ≅ ∆ ACO (ฉ.ด.ด.)
5. AOB
∧
= AOC
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่
เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
11. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก BO และ CO
1. AOB
∧
= AOC
∧
(จากการพิสูจนในขอ 10)
2. BOD
∧
+ AOB
∧
= COD
∧
+ AOC
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
3. BOD
∧
= COD
∧
(สมบัติของการเทากัน)
A
B
O
C
YX
B
C
O
A
A
B
OD
C
81
4. m(BD) = m(CD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่
จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่
จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน)
5. BD = CD (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองคอรดตัด
วงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น
จะยาวเทากัน)
12. แนวคิดในการพิสูจน
ลาก BO และ CO
1. ∆ BOC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
(มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน)
2. AOB
∧
= AOC
∧
(จากการพิสูจนในขอ 10)
3. OD ที่แบงครึ่งมุมยอดของ ∆ OBC จะตั้งฉากและแบงครึ่ง
BC (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว)
คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู”
เครื่องหมายกาชาดมีพื้นที่ r2
1
7 2−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ตารางหนวย
แนวคิด ลาก DX ตัด OA ที่จุด E จะได
ODE เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ให DE = a จะได OE = a, DX = QX = 2a
จาก ∆ ODE จะได a2
+ a2
=
2
r
4
2a2
=
2
r
4
A
B
O D
C
A
B
C
O
D
Y
XQP
r a E
r
2 a
82
a = r
2 2
หนวย
ฉะนั้น DX = QX = 2a = r
2
หนวย
พื้นที่ของรูปกาชาด = (PY)(DX) + (PQ + XY)(DX) ตารางหนวย
= (DX)(PY + PQ + XY) ตารางหนวย
และจะไดวา PY = 2 2
2 r a− (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลม
และตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง
จะแบงครึ่งคอรดนั้น)
PQ + XY = 2 2
2 r a 2a− −
ดังนั้นพื้นที่ของรูปกาชาด = 2a( )2 2 2 2
+2 r a 2 r a 2a− − −
= 2a( )2 2
4 r a 2a− −
= r
2
2
2 r r4 r 8 2
− −
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2 2
7r4r r
8 22
−
⎛ ⎞
⋅⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
4r r 7 r
22 2 2
−
⎛ ⎞
⋅⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2 2
4 7 r r
4 2−
= r2
1
7 2−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ตารางหนวย
คําตอบกิจกรรม “นารู”
14 องศา
83
คําตอบกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม”
คําตอบแบบฝกหัด
1.
แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม
“วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน
หนา 141
2.
แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม
“วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน
หนา 141
6
D
O
CB
A
108
O
Q R
P
C
D
84
จากรูป
ให CE = x หนวย และ BF = y หนวย
y = 6 – x -------- 1
8 – y = 10 – x -------- 2
จะได 8 – (6 – x) = 10 – x
2 + x = 10 – x
2x = 8
x = 4
แทน x ใน 1 จะได
y = 6 – 4
y = 2
เนื่องจากรัศมีของวงกลม O เทากับ y หนวย ( BEOF เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส)
ดังนั้น รัศมีของวงกลม O เทากับ 2 หนวย
คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด”
1.
1) 90o
2) 90o
3) 90o
4) เทากัน
5) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน
6) เทากัน เพราะ ADB
∧
= ACB
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคงของวงกลมที่
รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน)
2. แนวคิดในการพิสูจน
ลากเสนผานศูนยกลาง AD และลาก CD
1. ACD
∧
= 90o
(มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา)
2. ADC
∧
+ CAD
∧
= 90o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม
ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา)
B
C
X YA
D
10 – x
B C
A
D
F
E
O x
y
x6 – x
8 – y
85
3. CAD
∧
+ CAY
∧
= 90o
(เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ
รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส)
4. ADC
∧
+ CAD
∧
= CAD
∧
+ CAY
∧
(สมบัติของการเทากัน)
5. ADC
∧
= CAY
∧
(สมบัติของการเทากัน)
6. ADC
∧
= ABC
∧
(ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคง
ของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาด
เทากัน)
7. CAY
∧
= ABC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
8. ในทํานองเดียวกัน เมื่อลาก BD จะพิสูจนไดวา
BAX
∧
= ACB
∧
คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ข
1. BAC
∧
= 65o
และ ACB
∧
= 80o
2. 44o
3. ADC
∧
= 55o
, ABC
∧
= 125o
และ DCB
∧
= 38o
4. 6 หนวย (แนวคิดของการหาคําตอบทํานองเดียวกันกับแนวคิดของการหาคําตอบขอ 2 ของกิจกรรม
“วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม”)
5. 17 เซนติเมตร
แนวคิด
x = 5 – y จะได y = 5 – x
เนื่องจาก BC = 14 – x + 8 – y
จะได BC = 14 – x + 8 – (5 – x)
BC = 17 เซนติเมตร
B O
C
D
Ax
y
y
(14 – x)
(14 – x)
8 – y
8 – y
(5 – y)
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3

More Related Content

What's hot

การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามการคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามkroojaja
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่Beerza Kub
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนpeter dontoom
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1guychaipk
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรหลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรKidty Nunta
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 

What's hot (20)

การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนามการคูณพหุนามด้วยพหุนาม
การคูณพหุนามด้วยพหุนาม
 
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
หน่วยที่ 2 เรื่อง บ้านน่าอยู่
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศนเฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
เฉลยแบบทดสอบภาษาอังกฤษ กศน
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
หน่วยที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต ม.1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 7 โจทย์ปัญหาการลบเศษส่วน
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรหลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 

Viewers also liked (8)

ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
Math resources trigonometric_formulas
Math resources trigonometric_formulasMath resources trigonometric_formulas
Math resources trigonometric_formulas
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
ฟังก์ชันตรีโกณมติ 2014
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 

Similar to Add m3-2-chapter3

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5guest48c93e
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 

Similar to Add m3-2-chapter3 (20)

Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1Add m3-2-chapter1
Add m3-2-chapter1
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
3pitagorus
3pitagorus3pitagorus
3pitagorus
 
testM3-midterm1
testM3-midterm1testM3-midterm1
testM3-midterm1
 
Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5Geometer Chapter 5
Geometer Chapter 5
 
231213
231213231213
231213
 
Learning management plan 7
Learning management plan 7Learning management plan 7
Learning management plan 7
 
trigo1.pdf
trigo1.pdftrigo1.pdf
trigo1.pdf
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Add m3-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 วงกลม (21 ชั่วโมง) 3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง) 3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง) 3.3 คอรด (7 ชั่วโมง) 3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง) เนื้อหาในบทนี้มีจุดมุงหมายใหนักเรียนรูจักสมบัติของวงกลมในรูปของทฤษฎีบท ในการพิสูจน ทฤษฎีบทอาศัยความรูพื้นฐานที่นักเรียนเคยเรียนมาแลวเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม เสนขนาน รูปสามเหลี่ยมคลาย และทฤษฎีบทเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยม สาระที่เสนอไว สวนใหญอยูในรูปของกิจกรรมที่ใหนักเรียนศึกษาสมบัติของวงกลม เพื่อนําไปสูทฤษฎีบทซึ่งบางทฤษฎีบท ไดมีการพิสูจนไว บางทฤษฎีบทไมไดแสดงการพิสูจนแตมีคําถามที่นําไปสูการพิสูจนได และบาง ทฤษฎีบทก็ใหนักเรียนยอมรับโดยไมมีการพิสูจน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ใหนักเรียนเห็นการนําสมบัติ ของวงกลมไปใชในการสรางและใชแกปญหาที่กําหนดได การจัดการเรียนการสอนที่อยูในรูปของกิจกรรม ครูควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อฝกให นักเรียนมีความสามารถในการสรางขอความคาดการณเกี่ยวกับสมบัติทางเรขาคณิต สําหรับการพิสูจน ทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมใหอยูในดุลพินิจของครูวาควรใหนักเรียนพิสูจน หรือใหนักเรียนยอมรับ ทฤษฎีบทนั้นไปใชอางอิงไดโดยไมจําเปนตองพิสูจนอยางเปนทางการก็ได การเขียนเหตุผลอางอิงในแตละขั้นตอนของการพิสูจน ครูอาจใหนักเรียนเขียนเหตุผลเหลานั้นอยาง สมบูรณหรือเขียนอยางยอที่ไดสาระครบถวนก็ได สําหรับแนวคิดในการใหเหตุผลที่แสดงไวในสวนเฉลย คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด ไดเขียนไวในลักษณะรวบลัดขั้นตอน ถาครูเนนการเขียนพิสูจนอยาง เปนระบบ ควรใหนักเรียนเขียนขั้นตอนเพิ่มเติมตามเหตุและผลที่ควรจะเปน อยางไรก็ตามแนวคิดที่ใหไว ในสวนเฉลยเปนเพียงแนวคิดหนึ่งในการหาคําตอบ นักเรียนอาจมีแนวคิดที่แตกตางก็ได สําหรับแบบฝกหัด มีทั้งอยูในแตละกิจกรรมและอยูในชุดแบบฝกหัด ครูควรเลือกใหนักเรียนทําตามความเหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรียนและเวลา ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ใชสมบัติเกี่ยวกับวงกลมในการใหเหตุผลและแกปญหาที่กําหนดใหได
  • 2. 46 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 วงกลม (1 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถระบุสวนตาง ๆ ที่กําหนดใหเกี่ยวกับวงกลมได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับวงกลมที่ปรากฏอยูในสิ่งแวดลอมรอบตัว อาจใหนักเรียน ชวยกันยกตัวอยางวัสดุหรือสิ่งที่มีลักษณะเปนวงกลม เพื่อโยงไปสูความหมายของวงกลม เมื่อกลาวถึง วงกลมซึ่งเปนรูปเรขาคณิตรูปหนึ่ง จะเรียกชื่อวาวงกลมโดยไมมีคําวารูปนําหนาเหมือนชื่อรูปเรขาคณิต อื่น ๆ เชน รูปสามเหลี่ยม หรือรูปสี่เหลี่ยม 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อแนะนําสวนตาง ๆ ของวงกลม ครูควรแนะนําทีละ ชุด โดยแนะนําชุดที่เปนเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน คอรด เสนสัมผัส วงกลม แลวตรวจสอบความเขาใจโดยใหนักเรียนทํากิจกรรม “บอกไดไหม” ตอจากนั้นจึงแนะนําชุดของ มุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวงกลม เชน มุมที่จุดศูนยกลาง มุมในสวนโคงของวงกลม และใชกิจกรรม “ยังบอกไดไหม” ตรวจสอบความเขาใจอีกครั้ง สําหรับความหมายของสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลาง หรือรองรับมุมในสวนโคงของวงกลมไมไดใหความหมายไวเปนกิจลักษณะ ครูควรอธิบายและชี้ใหเห็นวา สวนโคงดังกลาวมีจุดปลายอยูบนแขนทั้งสองของมุมที่กลาวถึง เชน BAC ∧ เปนมุมในสวนโคงของวงกลม ซึ่งมี BC อยูตรงขามมุม เปนสวนโคงที่รองรับมุม BAC ∧ สังเกตไดวา จุด B และจุด C อยูบนวงกลม จุด B อยูบนแขน AB และจุด C อยูบนแขน AC 3. การทบทวนและแนะนําเกี่ยวกับสวนตาง ๆ ของวงกลมในหัวขอนี้ มีเจตนาเพียงเพื่อให นักเรียนเขาใจและเปนพื้นฐานในการศึกษาสาระในหัวขอตอ ๆ ไป ครูไมควรนําสาระในหัวขอนี้ไปวัดผล B C A
  • 3. 47 3.2 มุมที่จุดศูนยกลางและมุมในสวนโคงของวงกลม (6 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับมุมที่จุดศูนยกลางและ มุมในสวนโคงของวงกลมไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สาระสวนใหญในหัวขอนี้เสนอไวในรูปของกิจกรรมเชนกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม” ครูควรใหนักเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมจริง ๆ และเขียนขอความคาดการณที่นักเรียนคนพบจากกิจกรรม สําหรับการพิสูจนยืนยันขอความคาดการณในกิจกรรมนี้ไดกลาวไวในรูปของทฤษฏีบท ครูอาจให นักเรียนชวยกันบอกแนวคิดในการพิสูจนบนกระดานดํา และบอกเหตุผลโดยใชการอธิบายดวยวาจาแทน การเขียน หลังจากนั้นจึงใหนักเรียนศึกษารายละเอียดของการพิสูจนในหนังสือเรียนอีกครั้งก็ได 2. สําหรับตัวอยางที่ 1 แสดงใหนักเรียนเห็นวาโจทยปญหาเกี่ยวกับการคํานวณหาขนาดของมุม ที่กําหนดให ถาตองการแสดงเหตุผลประกอบจะทําไดอยางไร สําหรับโจทยปญหาที่ใหหาขนาดของมุมที่กําหนดใหในทุก ๆ เรื่องของบทนี้ ในกรณีที่ไม ตองแสดงเหตุผล ครูอาจแนะนําใหนักเรียนเขียนขนาดของมุมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการคํานวณหาคําตอบไว ในรูป เพื่อครูจะไดตรวจสอบรองรอยการคิดคํานวณและการนําสมบัติของวงกลมมาใชวาถูกตองหรือไม เชน กําหนดให AB เปนเสนผานศูนยกลางของวงกลม O และ ACO ∧ = 35o จงหาขนาดของ OBC ∧ จากรูป จะเห็นแนวคิดของนักเรียนที่มีรองรอยของขนาดของมุม ตาง ๆ ที่เกี่ยวของกันตามสมบัติทางเรขาคณิตที่นํามาใช ซึ่งจะ ทําใหได OBC ∧ = 55o 3. การดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในกิจกรรมอื่น ๆ เชนกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง” หรือ “มุมในสวนโคงของวงกลม” ก็อาจจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในทํานองเดียวกับกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม” สําหรับการพิสูจนวาขอความคาดการณ “มุมที่จุดศูนยกลาง จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน” ถาครูเห็นสมควรใหนักเรียนพิสูจน ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ในกรณีที่มุมใน สวนโคงมีลักษณะเปนดังรูป ก และรูป ค ดังนี้ 35o C O A B 55o 55o
  • 4. 48 ลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด E จะได 1 ∧ = 2 ∧ + 3 ∧ = 2(2 ∧ ) --------- 1 4 ∧ = 5 ∧ + 6 ∧ = 2(5 ∧ ) --------- 2 จาก 1 + 2 จะได 1 ∧ + 4 ∧ = 2(2 ∧ +5 ∧ ) ดังนั้น ในรูป ก AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) และในรูป ค มุมกลับ AOB = 2(ACB ∧ ) ในกรณีที่มุมในสวนโคงมีลักษณะดังรูป ข ครูอาจแนะนําแนวคิดในการพิสูจน ดังนี้ โดยลาก CO ใหตัดวงกลมที่จุด D จะได 1 ∧ = 2 ∧ + 3 ∧ = 2(2 ∧ ) ------ 1 1 ∧ + 4 ∧ = (2 ∧ +5 ∧ )+ 6 ∧ = 2(2 ∧ +5 ∧ ) = 2(2 ∧ )+ 2(5 ∧ ) ------ 2 จาก 2 – 1 จะได 4 ∧ = 2(5 ∧ ) ดังนั้น AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) 4. สําหรับแบบฝกหัด 3.2 ข ขอ 2 เปนสมบัติที่ครูควรใหนักเรียนพิสูจน และแนะนําให นักเรียนจดจําทฤษฎีบทนี้ไปใชในการใหเหตุผลอางอิงตอไป สําหรับแบบฝกหัดขอ 3 หลังจากพิสูจนขอความดังกลาวแลว ครูควรใหนักเรียนสรุปเปน สมบัติของวงกลมที่สามารถนําไปใชอางอิงไดเชนกัน อาจใหจดบันทึกเปนทฤษฎีบทดังนี้ ในวงกลมวงหนึ่ง ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมออกไป ขนาดของ มุมภายนอกจะเทากับขนาดของมุมภายในที่อยูตรงขาม A B O C 2 5 641 3 E รูป ก 1 A E B C O 4 6 523 รูป ค (ขนาดของมุมภายนอกของ รูปสามเหลี่ยมเทากับผลบวก ของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิด ของมุมภายนอกนั้น) (เหตุผลเชนเดียว กันกับขางตน) OD B3 A 1 4 2 5 6 C รูป ข
  • 5. 49 3.3 คอรด (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับคอรดและสวนโคงของ วงกลมไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. สาระในกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม” เสนอไวในรูปคําถามซึ่งมีคําตอบนําไปสู การใหเหตุผลเพื่อการพิสูจนยืนยันทฤษฎีบทที่เกี่ยวของได ครูอาจใหนักเรียนสํารวจ ตอบคําถามและ ชวยกันสรุปเปนขอความคาดการณ แลวใหนักเรียนพิสูจนทฤษฎีบทนั้นเปนการบานก็ได 2. สําหรับกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม” มีเจตนาใหนักเรียนไดนํา ความรูเกี่ยวกับความสัมพันธของมุมที่จุดศูนยกลาง สวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางและคอรดมาใชใน การสรางรูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาบางรูปแนบในวงกลมและการใหเหตุผลยืนยัน ครูอาจใหนักเรียน รวมกันอภิปรายหาขอสรุปเพื่อตอบคําถามหลังกิจกรรมการสราง 3. สําหรับกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม” การพิสูจนในกิจกรรมขอ 1 และ ขอ 2 ทําไดงาย ครูอาจใหนักเรียนพิสูจนเปนการบานและนํามาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนอีกครั้งก็ได 4. การพิสูจนสมบัติของวงกลมเกี่ยวกับจุดศูนยกลางของวงกลมที่อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและ แบงครึ่งคอรดของวงกลมคอนขางเขาใจยาก ครูควรนํามาอภิปรายในชั้นเรียนและชี้ใหนักเรียนเห็นวา สมบัติดังกลาวนี้มีประโยชนในการนําไปใชแกปญหาเกี่ยวกับการหาตําแหนงของจุดศูนยกลางของวงกลม ในกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ตอไป สําหรับกิจกรรมการหาจุดศูนยกลางของวงกลมที่กําหนดคอรดสองคอรดขนานกัน ครูอาจ เพิ่มเติมความรูโดยใชคําถามใหนักเรียนคิดวา ในกรณีเชนนี้ในทางปฏิบัติจะทําอยางไรจึงจะทราบตําแหนง ของจุดศูนยกลางของวงกลม คําตอบของนักเรียนอาจเปนดังนี้ จากรูปที่มี AB // CD และ EF ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB และ CD อาจลาก AD แลวสรางเสนตรง ตั้งฉากและแบงครึ่ง AD จะไดจุดตัดของเสนตรง กับ EF เปนจุดศูนยกลางของวงกลม F AB C D E
  • 6. 50 5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด” มีเจตนาใหเปนกิจกรรมสํารวจ ครูควรให นักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง เพื่อใหไดขอสรุปที่สําคัญตามที่เสนอไวทายกิจกรรมนี้ 6. กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนเห็นการนําความรูจาก กิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” ไปใชในการสรางวงกลมลอมรูปสามเหลี่ยม ครูอาจตั้งคําถามแลวให นักเรียนชวยกันสรางและใหเหตุผลรวมกันในชั้นเรียนก็ได 7. กิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม” เปนกิจกรรมที่ตองการใหนักเรียนทราบทฤษฎีบท ของวงกลมที่นาสนใจอีกทฤษฎีบทหนึ่งซึ่งเปนบทกลับของทฤษฎีบทที่กลาววา “ผลบวกของขนาดของ มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา” ครูควรนํามาอธิบายและชี้ใหเห็นวาแนวคิด ในการพิสูจนจะแตกตางจากแนวการพิสูจนที่นักเรียนคุนเคย คือใหเหตุผลเพื่อแสดงวาผลที่ตองการเปนจริง แตในการพิสูจนบทกลับนี้จะพิสูจนโดยสมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปนเท็จ แลวใหเหตุผลจนเกิดขอ ขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดใหหรือสิ่งที่ทราบวาเปนจริง จึงไดขอสรุปวา ที่สมมติใหผลที่ตองการพิสูจนเปน เท็จนั้นเปนไปไมได ดังนั้นผลที่ตองการจึงเปนจริง การพิสูจนลักษณะนี้เปนการพิสูจนทางออม 8. สําหรับกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน” หลังจากครูใหนักเรียนตอบคําถามและชวยกันสรุป คําตอบที่จะนําไปสูการพิสูจนแลว ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนอีกครั้งเปนการบานดวยก็ได 9. สําหรับแบบฝกหัด 3.3 ค ขอ 6 หลังจากนักเรียนพิสูจนแลว ครูควรแนะนําใหนักเรียน ทราบวา เราสามารถนําสมบัตินี้ไปใชอางอิงในการใหเหตุผลตอไปได 3.4 เสนสัมผัสวงกลม (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถนําทฤษฎีบทหรือสมบัติของวงกลมที่เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมี ครูควรนําทฤษฏีบทที่ เปนประโยคเงื่อนไขและบทกลับของประโยคเงื่อนไขทั้งสองประโยคมาอธิบายและทําความเขาใจแนวการ พิสูจน เนื่องจากแนวการพิสูจนบทกลับเปนการพิสูจนทางออมซึ่งอาจเปนเรื่องที่เขาใจยากสําหรับนักเรียน บางคน 2. สําหรับสาระเกี่ยวกับการสรางเสนสัมผัสวงกลมแสดงใหเห็นการสราง 2 แบบคือ แบบ กําหนดจุดสัมผัสบนวงกลมมาใหและกําหนดจุดภายนอกวงกลมมาให ซึ่งเปนความรูที่นักเรียนควรทราบ ครูอาจใหนักเรียนเขียนการพิสูจนยืนยันการสรางดวย ทั้งนี้เพราะในแบบฝกหัดที่กําหนดใหสรางเสนสัมผัส ไมไดใหมีการพิสูจน 3. สําหรับกิจกรรม “ลองคิดดู” มีเจตนาใหนักเรียนไดฝกคิดวิเคราะหและใชความรูทาง เรขาคณิต พีชคณิตและการวัดมาเชื่อมโยงในการแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนคิดและนําเสนอแนวคิดบน ปายนิเทศก็ได
  • 7. 51 4. สําหรับกิจกรรม “นารู” มีเจตนาใหเปนความรูเพิ่มเติมและใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง ความรูโดยนําสมบัติของวงกลมมาใชในการอธิบายทางภูมิศาสตรเกี่ยวกับการกําหนดตําแหนงของเสนรุง ครูอาจใหนักเรียนศึกษาดวยตนเองก็ได 5. สําหรับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการนําความรู เกี่ยวกับเสนสัมผัสวงกลมและรัศมีมาใชในการวิเคราะหการสรางวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูอาจเขียนรูปที่ตองการสรางอยางคราว ๆ ซึ่งเปนรูป ที่มีวงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยมกอน แลวใชคําถามใหนักเรียนคิดวิเคราะหยอนจากผลที่ตองการไปสู จุดเริ่มตนของการสราง ดังตัวอยางคําถามตอไปนี้ 1) ถาจุด D, E และ F เปนจุดสัมผัสของวงกลม แลว OD, OE และ OF ตอง เกี่ยวของกับวงกลม O อยางไรบาง [แตละสวนของเสนตรงเปนรัศมีของวงกลม O มีความยาวเทากัน และตั้งฉากกับกับเสนสัมผัส] 2) ถาตองการใหมีผลวา OD = OE เหตุที่จะทําใหเกิดผลดังกลาว ควรไดจากความรู เรื่องใด [ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม] 3) ถาใชความรูเกี่ยวกับความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม สิ่งที่จะใชเปนเงื่อนไข ในการพิจารณา 3 ประการนาจะมีอะไรบาง [BD = BE, BO = BO และ DBO ∧ = EBO ∧ ] 4) จากเงื่อนไข 3 ประการในขอ 3) มีสิ่งใดที่นักเรียนคิดวายังบอกไมไดวามีความเทากัน หรือไม [ขนาดของ DBO ∧ และขนาดของ EBO ∧ ] 5) นักเรียนสามารถสรางให DBO ∧ = EBO ∧ ไดหรือไม [ได โดยการสรางเสนแบง ครึ่งมุม] จากคําถาม 5 ขอขางตน นักเรียนควรเห็นแลววาทําไมการสรางวงกลมแนบในรูป สามเหลี่ยมจึงตองอาศัยการแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยม จากนั้นครูจึงใชคําถามตอเนื่อง เชน E O F A CB D
  • 8. 52 6) ถาสรางเฉพาะเสนแบงครึ่งมุม ABC ∧ มุมเดียวจะหาจุดศูนยกลางของวงกลมไดหรือไม [ไมได] 7) นักเรียนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของรูปสามเหลี่ยมกี่มุม จึงจะไดตําแหนงของ จุดศูนยกลางของวงกลม [2 มุม] 8) จําเปนตองสรางเสนแบงครึ่งมุมของมุมที่สามอีกหรือไม เพราะเหตุใด [ไมจําเปน เพราะจากการสรางเสนแบงครึ่งมุม 2 มุมก็สามารถพิสูจนไดแลววา DO = EO = FO และ DO, EO, FO แตละเสนจะตั้งฉากกับดานทั้งสามของ รูปสามเหลี่ยม ทําใหสรุปไดวาจุด E, F และ G เปนจุดสัมผัสของวงกลม] 6. ทฤษฎีบทในกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด” เปนอีกทฤษฏีบทหนึ่งที่มีการนําไปใชมาก หลังจากนักเรียนตอบคําถามขอ 1 แลว ครูควรใหนักเรียนพิสูจนเปนทฤษฎีบทโดยทํากิจกรรมขอ 2 ดวย 7. สําหรับกิจกรรม “ไกลแคไหน” มีเจตนาใหเห็นการนําความรูเรื่องเสนสัมผัสไปใชเพื่อ เชื่อมโยงกับความรูทางภูมิศาสตรอีกกิจกรรมหนึ่ง ครูอาจใหนักเรียนศึกษาและทําเปนการบานก็ได แต ควรไดมีการอภิปรายกันถึงสถานการณปญหาที่ตองการใหเห็นแนวคิดในการหาสูตรการคํานวณ เพื่อใชใน การคํานวณระยะทางในทางภูมิศาสตรโดยประมาณ ครูไมควรนําเรื่องนี้ไปวัดผล 8. สําหรับกิจกรรม “ระยะรอบโลก” เปนอีกกิจกรรมหนึ่งที่ตองการใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง ความรูทางคณิตศาสตรกับภูมิศาสตร ตองการจุดประกายใหนักเรียนเห็นความสามารถของนักคณิตศาสตร ในอดีตที่มีความคิดสรางสรรค เปนคนชางสังเกต ใฝรู และมีความพยายามในการแกปญหา นวนิยายเรื่อง 80 วันรอบโลกเสนอไวในกิจกรรมนี้เพื่อเสริมกิจกรรมใหนาสนใจ ภาพยนตร เรื่องนี้สนุก ตื่นเตน ครูอาจหาภาพยนตรเรื่องนี้มาใหนักเรียนชมก็ได คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “บอกไดไหม” 1. 1) หลายเสนนับไมถวน 2) ไมเปน เพราะรัศมีของวงกลมตัดวงกลมที่จุดจุดเดียว 3) หลายเสนนับไมถวน 4) ได 5) หลายเสนนับไมถวน 6) ไมได
  • 9. 53 2. 1) AC 2) AO, BO และ CO 3) AC, BC, CD และ DH 4) AC 5) EF 6) CF 7) ABC และ ADC คําตอบกิจกรรม “ยังบอกไดไหม” 1. AOB, BOC, AOC, ∧ ∧ ∧ มุมกลับ AOB และมุมกลับ BOC 2. ADC ∧ 3. BAC, BAD, CAD, ADB, ADC, BDC, ACD ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ ∧ และ ABD ∧ 4. AB, BC, ABC, ADC, ADB หรือ ACB, BAC หรือ BDC 5. ABC 6. BC, BD, CD, AB, AC และ AD คําตอบกิจกรรม “มุมในครึ่งวงกลม” คําตอบในกิจกรรม 4. 90o 5. ใช คําตอบแบบฝกหัด 1. 25o 2. 55o 3. 37o
  • 10. 54 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ก 1. 54o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. ABC ∧ = 180 – 90 – 18 = 72o 2. AOD ∧ = ABC ∧ = 72o (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูบน ขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน) 3. ∆ ADO เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว 4. ADO ∧ = DAO ∧ = 180 72 2 − = 54o 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. ABC ∧ = BAD ∧ = CDA ∧ = DCB ∧ = 90o (มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา) 2. ABCD เปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก 3. แนวคิดในการพิสูจน 1. ∆ ABC ≈ ∆ ADC (ม.ม.ด.) 2. AB = AD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบกิจกรรม “มุมที่จุดศูนยกลาง” คําตอบในกิจกรรม 3. ได 4. ขนาดของมุมที่จุดศูนยกลางเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงเดียวกัน 18o O B CD A A B D C B D C A
  • 11. 55 6. ได 7. ไดเชนเดียวกัน 8. จากรูป ข ได AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) จากรูป ค ได มุมกลับ AOB = 2(ACB ∧ ) 9. ใช คําตอบแบบฝกหัด 1. 45o 2. 55o 3. แตละมุมมีขนาด 40o 4. 1) 200o 2) 160o 3) 80o 4) 180o 5) 180o คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ข 1. 122.5o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. มุมกลับ AOB = 360 – 115 = 245o 2. มุมกลับ AOB = 2(ACB ∧ ) = 245o (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 3. ACB ∧ = 245 2 = 122.5o (สมบัติของการเทากัน) B 115o C A O
  • 12. 56 2. แนวคิดในการพิสูจน ลาก DO และ BO 1. DOB ∧ = 2(DAB ∧ ) และมุมกลับ DOB = 2(DCB ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 2. 2(DAB ∧ ) + 2(DCB ∧ ) = DOB ∧ + มุมกลับ DOB = 360o 3. DAB ∧ + DCB ∧ = 180o (สมบัติของการเทากัน) ในทํานองเดียวกันสามารถพิสูจนไดวา ABC ∧ + ADC ∧ = 180o 3. แนวคิดในการพิสูจน 1. BAD ∧ + DCB ∧ = 180o (ผลบวกของขนาดของมุม ตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา) 2. DCB ∧ + BCE ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) 3. BCE ∧ = BAD ∧ (สมบัติของการเทากัน) คําตอบกิจกรรม “มุมในสวนโคงของวงกลม” คําตอบในกิจกรรม 1. AOC ∧ = 2(ABC ∧ ) 2. AOC ∧ = 2(ADC ∧ ) 3. ABC ∧ = ADC ∧ 4. มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน 5. ใช คําตอบแบบฝกหัด 1. 62o 2. 75o 3. 29o 4. 53o A O B D C A B D C E
  • 13. 57 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ค 1. แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO และ CO 1. AOC ∧ = 2(ABC ∧ ) และ AOC ∧ = 2(ADC ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 2. 2(ABC ∧ ) = 2(ADC ∧ ) (สมบัติของการเทากัน) 3. ABC ∧ = ADC ∧ (สมบัติของการเทากัน) 2. 76o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. BCD ∧ = ABC ∧ = 50o (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) 2. BAD ∧ = BCD ∧ = 50o (มุมในสวนโคงของวงกลมที่ รองรับดวยสวนโคงเดียวกันจะมีขนาดเทากัน) 3. BAC ∧ = 50 + 26 = 76o 3. 36o 4. แนวคิดในการพิสูจน พิจารณา ∆ ABX และ ∆ CDX 1. ABX ∧ = CDX ∧ และ BAX ∧ = DCX ∧ (มุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน) 2. AXB ∧ = CXD ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว มุมตรงขามมีขนาดเทากัน) A B D C O X B D C A C 50° 26° A D B
  • 14. 58 3. ∆ ABX ∼ ∆ CDX ----- ขอ 1 (ถารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีขนาดของมุมเทากันเปนคู ๆ สามคู แลวรูปสามเหลี่ยมสองรูปนั้นเปนรูปสามเหลี่ยมที่ คลายกัน) 4. BX DX = AX CX (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมคลาย) ----- ขอ 2 5. BX CX⋅ = DX AX⋅ (สมบัติการคูณไขวของอัตราสวน) ----- ขอ 3 คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม” 1. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ ยาวเทากัน 5) ใช 2. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถามุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ ยาวเทากัน 5) ใช 3. 1) (1) เทากัน (2) เทากัน (3) ถามุมในสวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมทั้งสองนั้นจะ ยาวเทากัน (4) ใช (5) แนวคิดในการพิสูจน
  • 15. 59 A B O C D พิจารณา วงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ 1. ACB ∧ = EDF ∧ (กําหนดให) 2. AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) และ ERF ∧ = 2(EDF ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 3. AOB ∧ = ERF ∧ (สมบัติของการเทากัน) 4. m(AB) = m(EF) (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาว เทากัน) 2) แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO, BO และ DO 1. ACB ∧ = ACD ∧ (กําหนดให) 2. AOB ∧ = 2(ACB ∧ ) และ AOD ∧ = 2(ACD ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของ ขนาดของมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคง เดียวกัน) 3. AOB ∧ = AOD ∧ (สมบัติของการเทากัน) 4. m(AB) = m(AD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่ จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) คําตอบกิจกรรม “มุมและสวนโคงที่รองรับมุม (ตอ)” 1. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด เทากัน A B O C E F R D
  • 16. 60 5) ใช 2. 2) ทับกันไดสนิท 3) เทากัน 4) ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาด เทากัน 5) ใช 3. 1) แนวคิดในการพิสูจน พิจารณาวงกลม O และวงกลม R ที่เทากันทุกประการ ลาก AO, BO, DR และ FR 1. m(AB) = m(DF) (กําหนดให) 2. AOB ∧ = DRF ∧ (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 3. 2(ACB ∧ ) = 2(DEF ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน) 4. ACB ∧ = DEF ∧ (สมบัติของการเทากัน) 2) แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO, BO และ CO 1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให) 2. AOB ∧ = AOC ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น จะมีขนาดเทากัน) 3. 2(ACB ∧ ) = 2(ABC ∧ ) (มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลม จะมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุมในสวนโคงของ วงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน) 4. ACB ∧ = ABC ∧ (สมบัติของการเทากัน) A B O C A B O C D F R E
  • 17. 61 คําตอบแบบฝกหัด 3.2 ง 1. ABC ∧ = 95o และ BCD ∧ = 82o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. ADC ∧ + ABC ∧ = 180o (ผลบวกของขนาดของ มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา) 2. ABC ∧ = 180 – 85 = 95o 3. BAD ∧ + BCD ∧ = 180o (ผลบวกของขนาดของ มุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา) 4. BCD ∧ = 180 – 98 = 82o 2. ADB ∧ = 25o และ AEB ∧ = 25o แนวคิดในการใหเหตุผล 1. ADB ∧ = ACB ∧ = 25o (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี ขนาดเทากัน) 2. AEB ∧ = ACB ∧ = 25o (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมใน สวนโคงของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมี ขนาดเทากัน) 3. m(DE) แนวคิดในการใหเหตุผล 1. BAC ∧ = EAD ∧ (กําหนดให) 2. m(BC) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมใน สวนโคงของวงกลมมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ มุมทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน) B C A D 98o 85o A D B E 25o C D B E C A
  • 18. 62 4. BDC ∧ = 60o และ CAD ∧ = 50o 5. ADC ∧ = 43o และ BCD ∧ = 43o 6. AOC ∧ = 70o และ BOD ∧ = 70o 7. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AD) = m(BC) (กําหนดให) 2. ABD ∧ = CDB ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 3. AB // CD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน) 8. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(BD) = m(BC) (กําหนดให) 2. m(ADB) = m(ACB) (สวนโคงครึ่งวงกลมของวงกลม วงเดียวกัน ยาวเทากัน) 3. m(ADB) – m(BD) = m(ACB) – m(BC) หรือ m(AD) = m(AC) (สมบัติของการเทากัน) 4. ACD ∧ = ADC ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคง ยาวเทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 5. AD = AC (ถามุมสองมุมของรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง มีขนาดเทากัน แลวดานที่อยูตรงขามมุมทั้งสองนั้นจะยาว เทากัน) 6. ∆ ADC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว 9. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AX) = m(DX) (กําหนดให) 2. AOX ∧ = DOX ∧ (ในวงกลมวงเดียวกน ถาสวนโคง ยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวยสวนโคงนั้น จะมีขนาดเทากัน) C A B D B C A D BC A D O X
  • 19. 63 3. AOC ∧ = BOD ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว มุมตรงขามมีขนาดเทากัน) 4. AOC ∧ + AOX ∧ = BOD ∧ + DOX ∧ (สมบัติของการเทากัน) 5. ∆ COX ≅ ∆ BOX (ด.ม.ด.) 10. แนวคิดในการพิสูจน ลาก AO, BO, CO, DO และ EO 1. AOB ∧ + BOC ∧ + COD ∧ + DOE ∧ + EOA ∧ = 360o (มุมรอบจุดจุดหนึ่งมีขนาดเทากับ 360 องศา) 2. 2(ADB ∧ ) + 2(BEC ∧ ) + 2(CAD ∧ ) + 2(DBE ∧ ) + 2( ∧ ECA) = 360o (สมบัติของการเทากัน) 3. ADB ∧ + BEC ∧ + CAD ∧ + DBE ∧ + ACE ∧ = 180o (สมบัติของการเทากัน) 4. A ∧ + B ∧ +C ∧ +D ∧ +E ∧ = 180o คําตอบกิจกรรม “คอรดและสวนโคงของวงกลม” 1. 1) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AB = CD ดังนั้น ∆ AOB ≅ ∆ COD (ด.ด.ด.) 2) เทากัน เพราะ มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน 3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่ รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน 4) เทากัน เพราะ ความยาวของแตละสวนโคงเกิดจากความยาวของเสนรอบวงของวงกลม ลบดวยความยาวที่เทากันของสวนโคงของวงกลม 5) ใช 6) ใช B C A D E O
  • 20. 64 7) แนวคิดในการพิสูจน กําหนดให วงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ คอรด AB และคอรด DE ยาวเทากัน ลาก AO, BO, DR และ ER 1. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ด.ด.) 2. AOB ∧ = DRE ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 3. m(AB) = m(DE) (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับ มุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) 4. m(AB)+ m(ACB) = m(DE)+ m(DFE) (ตางก็มีความยาวเทากับความยาวของเสนรอบวงของวงกลม ที่เทากันทุกประการ) 5. m(ACB) = m(DFE) (สมบัติของการเทากัน) 2. 1) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่ รองรับดวยสวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน 2) เทากันทุกประการ เพราะ AO = CO, BO = DO และ AOB ∧ = COD ∧ (ด.ม.ด.) 3) AB = CD เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน 4) ใช 5) ใช 6) แนวคิดในการพิสูจน กําหนดใหวงกลม O และวงกลม R เทากันทุกประการ และ m(AB) = m(DE) ลาก AO, BO, DR และ ER 1. m(AB) = m(DE) (กําหนดให) 2. AOB ∧ = DRE ∧ (ในวงกลมที่เทากันทุกประการ ถาสวนโคงยาวเทากัน แลวมุมที่จุดศูนยกลางที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 3. ∆ AOB ≅ ∆ DRE (ด.ม.ด.) BA C O ED F R BA C O ED FR
  • 21. 65 4. AB = DE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบกิจกรรม “รูปหลายเหลี่ยมดานเทามุมเทาแนบในวงกลม” คําตอบแบบฝกหัด 1. 1) ยาวเทากัน 2) ตั้งฉากกันและแบงครึ่งซึ่งกันและกัน 3) แนวการสราง 1. สรางวงกลม O ใหมีรัศมียาวเทากับ 10 2 = 5 เซนติเมตร 2. ลาก AB เปนเสนผานศูนยกลาง 3. สราง XY ตั้งฉากกับ AB ที่จุด O ตัดวงกลมที่จุด C และจุด D 4. ลาก AC, BC, BD และ AD จะได ADBC เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีเสนทแยงมุม AB ยาว 10 เซนติเมตร A B C D O 5 ซม. Y X
  • 22. 66 2. 2) เปน 3) (1) เปน เพราะ ความยาวของแตละดานเทากับรัศมีของวงกลม (2) 60o เพราะ เปนขนาดของมุมภายในแตละมุมของรูปสามเหลี่ยมดานเทา (3) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน (4) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน (5) 60o เพราะ FOA ∧ มีขนาดเทากับขนาดของมุมรอบจุด O ลบดวยผลบวก ของขนาดของมุมในขอ (2) FOA ∧ = 360 – (5 × 60) (6) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน (7) เทากัน เพราะ ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน (8) เปน เพราะ ทุกดานมีความยาวเทากัน (9) 120o เพราะ แตละมุมมีขนาดเทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในสองมุม ของรูปสามเหลี่ยมดานเทาที่เรียงตอกัน (10) เปน 4) (1) 120o (2) 720o คําตอบแบบฝกหัด 1) 3 มุม แตละมุมมีขนาด 120o 2) 8 มุม แตละมุมมีขนาด 45o 3) 12 มุม แตละมุมมีขนาด 30o 4) 16 มุม แตละมุมมีขนาด 22.5o
  • 23. 67 คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ก 1. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AB) = m(AC) (กําหนดให) 2. AB = AC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสอง นั้นจะยาวเทากัน) 3. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน) 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. m(AB) = m(BC) (กําหนดให) 2. AB = BC (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัด วงกลม ทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น จะยาวเทากัน) 3. ADB ∧ = ∧ CEB (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาสวนโคงยาว เทากัน แลวมุมในสวนโคงของวงกลมที่รองรับดวย สวนโคงนั้นจะมีขนาดเทากัน) 4. ∆ ABD ≅ ∆ CBE (ม.ม.ด.) 5. BD = BE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 3. แนวการสราง 1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร 2. สราง AOB ∧ และ BOC ∧ ใหแตละมุมมีขนาด 120o 3. ลาก AB, BC และ AC จะได ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา C A B A C D E O B O A B C
  • 24. 68 แนวคิดในการพิสูจน 1. AOB ∧ = BOC ∧ = 120o (จากการสราง) 2. จะได AOC ∧ = 120o (ขนาดของมุมรอบจุดจุดหนึ่งเทากับ 360 องศา) 3. m(AB) = m(BC) = m(CA) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาด เทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่จุดศูนยกลางนั้นจะ ยาวเทากัน) 4. AB = BC = CA (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหได สวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน) 5. ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา 4. แนวการสราง 1. สรางวงกลม O โดยใชรัศมียาวพอสมควร 2. ลากเสนผานศูนยกลาง AE 3. สราง PQ แบงครึ่ง AOE ∧ ตัดวงกลมที่จุด C และจุด G จะได AOC ∧ = 90o 4. สราง XY แบงครึ่ง AOC ∧ ตัดวงกลมที่จุด B และจุด F จะได AOB ∧ = 45o 5. สราง MN แบงครึ่ง COE ∧ ตัดวงกลมที่จุด D และจุด H จะได COD ∧ = 45o 6. ลาก AB, BC, CD, DE, EF, FG, GH และ HA จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา แนวคิดในการพิสูจน 1. AOB ∧ = BOC ∧ = COD ∧ = DOE ∧ = EOF ∧ = FOG ∧ = GOH ∧ = HOA ∧ = 45o (จากการสราง และถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามจะมีขนาดเทากัน) 2. m(AB) = m(BC) = m(CD) = m(DE) = m(EF) = m(FG) = m(GH) = m(HA) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) C P D E F G H A B X N Q Y M O
  • 25. 69 3. AB = BC = CD = DE = EF = FG = GH = HA (ในวงกลมวงเดียวกัน ถาคอรดสองคอรดตัดวงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรด ทั้งสองนั้นจะยาวเทากัน) 4. รูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทา (มีดานยาวเทากันทุกดาน) 5. ∆ AOB, ∆ BOC, ∆ COD, ∆ DOE, ∆ EOF, ∆ FOG, ∆ GOH และ ∆ HOA แตละรูปเปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วที่มีมุมยอดขนาด 45 องศา 6. มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วแตละรูปมีขนาดเทากับ 180 45 2 − = 67.5 องศา (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา) 7. ABC ∧ = BCD ∧ = CDE ∧ = DEF ∧ = EFG ∧ = FGH ∧ = GHA ∧ = HAB ∧ = 67.5 × 2 = 135o 8. จะไดรูป ABCDEFGH เปนรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา (จากขอ 4 และขอ 7) 5. แนวการสรางและพิสูจนทําไดในทํานองเดียวกับขอ 3 จากรูปการสรางขางลางนี้ จะได รูป ABCDEFGHIJKL เปนรูปสิบสองเหลี่ยมดานเทามุมเทา คําตอบกิจกรรม “คอรดกับจุดศูนยกลางของวงกลม” 1. แนวคิดในการพิสูจน 1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.) 2. AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) BA O X 30o O A B CD E F G H I J K L
  • 26. 70 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ด.ด.ด.) 2. AXO ∧ = BXO ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่ เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 3. AXB ∧ = AXO ∧ + BXO ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) 4. AXO ∧ = BXO ∧ = 90o (จากขอ 2 และขอ 3) คําตอบแบบฝกหัด 1. 16 เซนติเมตร 2. 13 เซนติเมตร 3. 3.9 เซนติเมตร 4. 1) 21 เซนติเมตร 2) มีลักษณะเปนวงกลม คําตอบกิจกรรม “หาจุดศูนยกลาง” 1. แนวคิด 1. สรางเสนตรง 1 ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB 2. สรางเสนตรง 2 ตั้งฉากและแบงครึ่ง BC 3. ใหเสนตรง 1 ตัดกับเสนตรง 2 ที่จุด O จะไดจุด O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม BA O X O 1 2 A B C
  • 27. 71 2. ถาคอรด AB และคอรด CD ขนานกัน เสนตรง 1 และ 2 ที่เปนเสนตั้งฉากและแบงครึ่งคอรดทั้งสอง จะทับกันเปนเสนตรงเดียวกัน จึงไมสามารถหาจุดตัด ที่เปนจุดศูนยกลางของวงกลม คําตอบกิจกรรม “วงกลมผานจุดที่กําหนด” 1. สรางวงกลมผานจุด A ไดจํานวนวงกลมนับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นเปนจุดตาง ๆ บนระนาบ 2. สรางวงกลมผานจุด A และจุด B ไดจํานวนวงกลม นับไมถวน และจุดศูนยกลางของวงกลมเหลานั้นจะเรียง อยูบนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่ง AB 3. ตัวอยางการสราง สรางวงกลมผานจุด A, B และ C ไดวงเดียวและ จุดศูนยกลางของวงกลมอยูที่จุดตัดของเสนตรงสองเสน ซึ่งเปนเสนตรงที่ตั้งฉากและแบงครึ่งสวนของเสนตรง สองเสนที่เชื่อมสองจุดใด ๆ ของจุด A, B และ C A B O1 O2 O3 A B C BA D C 1 2
  • 28. 72 4. สรางไมได 5. สรางไมได คําตอบกิจกรรม “รูปสี่เหลี่ยมแนบในวงกลม” 1. 180o เพราะ กําหนดให 2. 180o เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุมของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ เทากับ 360 องศา 3. 180o เพราะ ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมที่แนบในวงกลมเทากับ 180 องศา 4. เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 5. ได เพราะ สมบัติของการเทากัน คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ข 1. แนวการสรางและแนวการพิสูจน ทําไดในทํานอง เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ในหนังสือเรียนหนา 121 – 122 2. ใหจุด A, B และ C เปนตําแหนงของโรงเรียน โรงพยาบาล และทารถประจําทาง ตามลําดับ เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานอง เดียวกันกับกิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ใน หนังสือเรียน หนา 121 – 122 จะไดตําแหนงที่สรางตลาดสดอยูที่จุดศูนยกลางของ วงกลม ที่ผานจุด A, B และ C A B C O F E 1 2 A B C E F O 2 1
  • 29. 73 3. กําหนดจุด A, B และ C บนขอบจานที่จุดเหลานี้ไมอยูใน แนวเสนตรงเดียวกัน เมื่อใชแนวการสราง และแนวการพิสูจนในทํานองเดียวกันกับ กิจกรรม “จุดศูนยกลางวงลอม” ในหนังสือเรียนหนา 121 – 122 จะไดจุดศูนยกลางของจานซึ่งทําใหหาความยาวของรัศมีของ จานได ตอจากนั้นจึงใชความยาวของรัศมีหาความยาวของ เสนรอบจาน 4. แนวคิดในการพิสูจน 1. ODC ∧ = OEC ∧ = 90o (กําหนดให) 2. ODC ∧ + OEC ∧ = 180o (จากขอ 1) 3. ODCE แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได) 5. แนวคิดในการพิสูจน 1. ให ABD ∧ มีขนาดเปน xo 2. จะได DBC ∧ = 2xo (กําหนดให) 3. ABD ∧ = ADB ∧ = xo (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม หนาจั่วมีขนาดเทากัน) 4. DBC ∧ = DCB ∧ = 2xo (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยม หนาจั่วมีขนาดเทากัน) 5. จะได DAB ∧ + BCD ∧ = (180 – 2x) + 2x = 180o 6. ABCD แนบในวงกลมได (ถารูปสี่เหลี่ยมใด ๆ มี ผลบวกของขนาดของมุมตรงขามเทากับสองมุมฉาก แลว รูปสี่เหลี่ยมนั้นแนบในวงกลมวงหนึ่งได) B C D O EA A (180 – 2x)o xo 2xo C D B xo 2xo A B C O
  • 30. 74 คําตอบกิจกรรม “คอรดที่ยาวเทากัน” 1. 1) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรด ที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด 2) เทากัน 3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 4) เทากันทุกประการ เพราะ OEB ∧ = OFC ∧ = 90o , OB = OC และ BE = CF (ฉ.ด.ด.) 5) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน 6) เทากัน 7) ใช 2. 1) เทากันทุกประการ เพราะ OEB ∧ = OFC ∧ = 90o , OB = OC และ OE = OF (ฉ.ด.ด.) 2) เทากัน เพราะ ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน 3) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 4) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด 5) เทากัน เพราะ สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด 6) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 7) ใช คําตอบแบบฝกหัด 3.3 ค 1. 5 เซนติเมตร 2. แนวคิดในการพิสูจน 1. AD = BD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด) 2. ∆ ACD ≅ ∆ BCD (ด.ม.ด.) D BA C O
  • 31. 75 D B A C O F E P 3. AC = BC (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 4. AC และ BC อยูหางจากจุด O เทากัน (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาวเทากัน แลวคอรด ทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของวงกลมเปนระยะ เทากัน) 3. แนวคิดในการพิสูจน ลาก OP 1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ วงกลมเปนระยะเทากัน) 2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.) 3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน) 5. BE + EP = DF + FP (สมบัติของการเทากัน) 6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน) 4. แนวคิดในการพิสูจน ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม ลาก OE และ OF ตั้งฉาก กับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OP 1. OE = OF (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองเสนยาว เทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้นจะอยูหางจากจุดศูนยกลางของ วงกลมเปนระยะเทากัน) 2. ∆ OEP ≅ ∆ OFP (ฉ.ด.ด.) 3. EP = FP (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 4. BE = DF (ตางก็ยาวเปนครึ่งหนึ่งของคอรดที่ยาวเทากัน) 5. EP – BE = FP – DF (สมบัติของการเทากัน) 6. BP = DP (สมบัติของการเทากัน) B A C D P E F O
  • 32. 76 5. แนวคิดในการพิสูจน ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OB และ OD 1. จาก ∆ OEB จะได OB2 = OE2 +EB2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2 = OF2 +FD2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน) 4. OB2 = OD2 (สมบัติของการเทากัน) 5. OE2 + EB2 = OF2 + FD2 (สมบัติของการไมเทากัน) 6. AB > CD (กําหนดให) 7. AB 2 > CD 2 (สมบัติของการไมเทากัน) 8. EB = AB 2 และ FD = CD 2 (สวนของเสนตรงซึ่งผาน จุดศูนยกลางของวงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใช เสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด) 9. EB > FD (จากขอ 7 และขอ 8) 10. EB2 > FD2 (EB และ FD เปนจํานวนบวก) 11. OE2 < OF2 (จากขอ 5 และขอ 10) 12. OE < OF (OE และ OF เปนจํานวนบวก) 13. AB อยูใกลจุดศูนยกลางของวงกลมมากกวา CD 6. แนวคิดในการพิสูจน สําหรับกรณีวงกลมวงหนึ่ง ให O เปนจุดศูนยกลางของวงกลม AB เปนคอรดที่อยูใกล จุด O มากกวาคอรด CD ลาก OE และ OF ตั้งฉากกับ AB และ CD ที่จุด E และจุด F ตามลําดับ ลาก OB และ OD 1. จาก ∆ OEB จะได OB2 = OE2 +EB2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 2. จาก ∆ OFD จะ ได OD2 = OF2 +FD2 (ทฤษฎีบทพีทาโกรัส) 3. OB = OD (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน) 4. OB2 = OD2 (สมบัติของการเทากัน) 5. OE2 + EB2 = OF2 + FD2 (สมบัติของการเทากัน) 6. OE < OF (กําหนดให) 7. OE2 < OF2 (OE และ OF เปนจํานวนบวก) D B A C O E F D B A C O E F
  • 33. 77 8. EB2 > FD2 (จากขอ 5 และขอ 7) 9. EB > FD (EB และ FD เปนจํานวนบวก) 10. 2(EB) > 2(FD) (สมบัติของการไมเทากัน) 11. AB > CD (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของ วงกลมและตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรด) สําหรับกรณีวงกลมที่เทากันทุกประการ จะใชแนวคิดในการพิสูจนทํานองเดียวกัน คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี” 1. เปน 3. ตั้งฉาก 4. ตั้งฉาก 5. ใช คําตอบในกิจกรรม 1) PC 2) เปน คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” คําตอบในกิจกรรม 1. (1) ตั้งฉาก เพราะ ไดสรางให XY ตั้งฉากกับ OB ที่จุด A (2) เปน เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบนวงกลม จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น C B O D X Y A
  • 34. 78 2. (1) เปน (2) 90o เพราะ แตละมุมเปนมุมในครึ่งวงกลม R ซึ่งมุมในครึ่งวงกลม มีขนาด 90 องศา (3) ตั้งฉาก เพราะ OAX ∧ = 90o และ OBX ∧ = 90o (4) สัมผัสวงกลม O เพราะ เสนตรงที่ตั้งฉากกับรัศมีของวงกลมที่จุดจุดหนึ่งบน วงกลม จะเปนเสนสัมผัสวงกลมที่จุดนั้น (5) สองจุด (6) เทากัน เพราะ OAX ∧ = ∧ OBX = 90o (จากขอ (2)) OX = OX (OX เปนดานรวม) AO = BO (รัศมีของวงกลมเดียวกันยาวเทากัน) จะได ∆ AOX ≅ ∆ BOX (ฉ.ด.ด.) ดังนั้น AX = BX (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบแบบฝกหัด (หนา 135) 1. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 1 ของ กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน หนา 132 – 133 2. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับในขอ 2 ของ กิจกรรม “เสนสัมผัสวงกลมและรัศมี (ตอ)” ในหนังสือเรียน หนา 132 – 133 P Q O R X A B X O A P B A B O X P Q R
  • 35. 79 3. 1) 63o 2) 117o คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ก 1. 17 เซนติเมตร 2. 104o 3. 130o 4. 55o 5. 40o 6. 40o 7. แนวคิดในการพิสูจน 1. YAO ∧ = PBO ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 2. XY // PQ (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน) 8. แนวคิดในการพิสูจน ลาก CO และ DO 1. EX AB⊥ (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับรัศมีของ วงกลมที่จุดสัมผัส) 2. EXB ∧ = 90o (จากขอ 1) 3. CYX ∧ = EXB ∧ = 90o (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) 4. ∆ CYO ≅ ∆ DYO (ฉ.ด.ด.) 5. COY ∧ = DOY ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยม ที่เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) A B O P Y Q X A B O C DY E X
  • 36. 80 6. m(CE) = m(DE) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่ จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) 9. แนวคิดในการพิสูจน 1. BAC ∧ + CAY ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 2. ACB ∧ = 90o (มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา) 3. CAY ∧ + AYB ∧ = 90o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา) 4. BAC ∧ + CAY ∧ = CAY ∧ + AYB ∧ = 90o (สมบัติของการเทากัน) 5. BAC ∧ = AYB ∧ (สมบัติของการเทากัน) 10. แนวคิดในการพิสูจน 1. ABO ∧ = ACO ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 2. OA = OA (OA เปนดานรวม) 3. AB = AC (สวนของเสนตรงที่ลากมาจากจุดจุดหนึ่ง ภายนอกวงกลมมาสัมผัสวงกลมวงเดียวกัน จะยาวเทากัน) 4. ∆ ABO ≅ ∆ ACO (ฉ.ด.ด.) 5. AOB ∧ = AOC ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่ เทากันทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) 11. แนวคิดในการพิสูจน ลาก BO และ CO 1. AOB ∧ = AOC ∧ (จากการพิสูจนในขอ 10) 2. BOD ∧ + AOB ∧ = COD ∧ + AOC ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) 3. BOD ∧ = COD ∧ (สมบัติของการเทากัน) A B O C YX B C O A A B OD C
  • 37. 81 4. m(BD) = m(CD) (ในวงกลมวงเดียวกัน ถามุมที่ จุดศูนยกลางมีขนาดเทากัน แลวสวนโคงที่รองรับมุมที่ จุดศูนยกลางนั้นจะยาวเทากัน) 5. BD = CD (ในวงกลมวงหนึ่ง ถาคอรดสองคอรดตัด วงกลมทําใหไดสวนโคงยาวเทากัน แลวคอรดทั้งสองนั้น จะยาวเทากัน) 12. แนวคิดในการพิสูจน ลาก BO และ CO 1. ∆ BOC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (มีดานประกอบมุมยอดยาวเทากัน) 2. AOB ∧ = AOC ∧ (จากการพิสูจนในขอ 10) 3. OD ที่แบงครึ่งมุมยอดของ ∆ OBC จะตั้งฉากและแบงครึ่ง BC (สมบัติของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว) คําตอบกิจกรรม “ลองคิดดู” เครื่องหมายกาชาดมีพื้นที่ r2 1 7 2− ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ตารางหนวย แนวคิด ลาก DX ตัด OA ที่จุด E จะได ODE เปนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ให DE = a จะได OE = a, DX = QX = 2a จาก ∆ ODE จะได a2 + a2 = 2 r 4 2a2 = 2 r 4 A B O D C A B C O D Y XQP r a E r 2 a
  • 38. 82 a = r 2 2 หนวย ฉะนั้น DX = QX = 2a = r 2 หนวย พื้นที่ของรูปกาชาด = (PY)(DX) + (PQ + XY)(DX) ตารางหนวย = (DX)(PY + PQ + XY) ตารางหนวย และจะไดวา PY = 2 2 2 r a− (สวนของเสนตรงซึ่งผานจุดศูนยกลางของวงกลม และตั้งฉากกับคอรดที่ไมใชเสนผานศูนยกลาง จะแบงครึ่งคอรดนั้น) PQ + XY = 2 2 2 r a 2a− − ดังนั้นพื้นที่ของรูปกาชาด = 2a( )2 2 2 2 +2 r a 2 r a 2a− − − = 2a( )2 2 4 r a 2a− − = r 2 2 2 r r4 r 8 2 − − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 2 7r4r r 8 22 − ⎛ ⎞ ⋅⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 4r r 7 r 22 2 2 − ⎛ ⎞ ⋅⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 2 4 7 r r 4 2− = r2 1 7 2− ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ตารางหนวย คําตอบกิจกรรม “นารู” 14 องศา
  • 39. 83 คําตอบกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” คําตอบแบบฝกหัด 1. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน หนา 141 2. แนวการสราง ทําไดในทํานองเดียวกันกับกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม” ในหนังสือเรียน หนา 141 6 D O CB A 108 O Q R P C D
  • 40. 84 จากรูป ให CE = x หนวย และ BF = y หนวย y = 6 – x -------- 1 8 – y = 10 – x -------- 2 จะได 8 – (6 – x) = 10 – x 2 + x = 10 – x 2x = 8 x = 4 แทน x ใน 1 จะได y = 6 – 4 y = 2 เนื่องจากรัศมีของวงกลม O เทากับ y หนวย ( BEOF เปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส) ดังนั้น รัศมีของวงกลม O เทากับ 2 หนวย คําตอบกิจกรรม “เสนสัมผัสและคอรด” 1. 1) 90o 2) 90o 3) 90o 4) เทากัน 5) เทากัน เพราะ สมบัติของการเทากัน 6) เทากัน เพราะ ADB ∧ = ACB ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคงของวงกลมที่ รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาดเทากัน) 2. แนวคิดในการพิสูจน ลากเสนผานศูนยกลาง AD และลาก CD 1. ACD ∧ = 90o (มุมในครึ่งวงกลมมีขนาด 90 องศา) 2. ADC ∧ + CAD ∧ = 90o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุม ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา) B C X YA D 10 – x B C A D F E O x y x6 – x 8 – y
  • 41. 85 3. CAD ∧ + CAY ∧ = 90o (เสนสัมผัสวงกลม จะตั้งฉากกับ รัศมีของวงกลมที่จุดสัมผัส) 4. ADC ∧ + CAD ∧ = CAD ∧ + CAY ∧ (สมบัติของการเทากัน) 5. ADC ∧ = CAY ∧ (สมบัติของการเทากัน) 6. ADC ∧ = ABC ∧ (ในวงกลมวงเดียวกัน มุมในสวนโคง ของวงกลมที่รองรับดวยสวนโคงเดียวกัน จะมีขนาด เทากัน) 7. CAY ∧ = ABC ∧ (สมบัติของการเทากัน) 8. ในทํานองเดียวกัน เมื่อลาก BD จะพิสูจนไดวา BAX ∧ = ACB ∧ คําตอบแบบฝกหัด 3.4 ข 1. BAC ∧ = 65o และ ACB ∧ = 80o 2. 44o 3. ADC ∧ = 55o , ABC ∧ = 125o และ DCB ∧ = 38o 4. 6 หนวย (แนวคิดของการหาคําตอบทํานองเดียวกันกับแนวคิดของการหาคําตอบขอ 2 ของกิจกรรม “วงกลมแนบในรูปสามเหลี่ยม”) 5. 17 เซนติเมตร แนวคิด x = 5 – y จะได y = 5 – x เนื่องจาก BC = 14 – x + 8 – y จะได BC = 14 – x + 8 – (5 – x) BC = 17 เซนติเมตร B O C D Ax y y (14 – x) (14 – x) 8 – y 8 – y (5 – y)