SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
1




แผนการจัดการเรียนรู Backward Design
             หนวยที่ 1
 สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
2

                                             แผนการจัดการเรียนรู
                                                 หนวยที่ 1
                                        เรื่อง สมบัติของจํานวนนับ

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร                                            ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
วิชา คณิตศาสตร                                                           เวลาเรียน 12 ชั่วโมง
หนวยการเรียนรูที่ 1 สมบัติของจํานวนนับ                                  ปการศึกษา 2555
ผูสอน นางสาวประยูร วงศาสนธิ์



1. สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ

2. มาตรฐานการเรียนรู ค 1.4
          เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช

3. ตัวชี้วัด
               ค 1.4 ม1/1 นําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหา

4. สาระสําคัญ
            จํานวนนับหรือจํานวนธรรมชาติใดที่หารจํานวนนับใด ๆ ไดลงตัว คือไดผลหารเปนจํานวนเต็มจะ
เรียกจํานวนนับนั้นวา ตัวประกอบ

               4.1 ดานความรู
                  1. ตัวประกอบ
                  2. การหาตัวประกอบ
                  3. ตัวประกอบเฉพาะ
                  4. การแยกตัวประกอบเฉพาะของจํานวนที่กําหนดให
                  5. การหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแต 2 จํานวน
                  6. 1. หาตัวประกอบรวมของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
3

               7. หาตัวประกอบรวมมากที่สุดของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
               8. หา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
               9. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได
               10. ใชความรูเกี่ยวกับ ค.ร.น. แกปญหาได
               11. บอกความหมายของ ค.ร.น. ของจํานวนนับได
               12. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับได
                13. หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได
               14. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แกปญหาได
            4.2 ดานทักษะกระบวนการ
               1. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา
               2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน
สถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม
               3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม
            4.3 ดานคุณลักษณะ
               ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

5. กระบวนการจัดการเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )


          1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน
          2 ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสูตรคูณแมตางๆ พรอมประเมินผลความแมนยํา
ความรวดเร็วในการบอกผลคูณ โดยครูสุมเรียกนักเรียนใหตอบเปนรายบุคคล เชน ผลคูณของจํานวน 4 × 7,
9 × 8 เปนเทาไร เปนตน
           3 นักเรียนจับคูชวยกันทําใบงาน แลวใหสับเปลี่ยนคูกันตรวจคําตอบ โดยครูเรียกให นักเรียนตอบ
คําถามคนละหนึ่งขอ ถานักเรียนคนใดบอกคําตอบไมถูกตอง หรือตอบไมครบตามจํานวน ครูจะชวยแนะนํา
โดยใชการซักถามเพื่อใหนักเรียนคิดทบทวนและใหคําตอบใหม อีกครั้ง หรืออาจจะใหนักเรียนคนอื่นชวยตอบ
แทน
          4. เมื่อเฉลยคําตอบครบทุกขอ นักเรียนแตละคนรับใบกิจกรรมของตนเองคืน ครูสนทนาซักถาม
ประกอบคําอธิบายเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูระบบในการทํางาน ดังนี้
4

            4.1 นักเรียนคนไหนเขียนรูปการคูณของจํานวนนับโดยไมไดมีการจัดเรียงคาจากนอยไปมาก หรือ
เรียงคาจากมากไปนอย เพราะเหตุใด และการเขียนจํานวนแบบไมเปนระบบอยางนี้ ทําใหเกิดผลเสียกับนักเรียน
หรือไมอยางไร
            4.2 นักเรียนคนไหนเขียนคําตอบบางขอไมครบตามจํานวน เพราะเหตุใด
            4.3 นักเรียนคนไหนเขียนรูปการคูณของจํานวนนับโดยเรียงคาจากนอยไปมาก และการเขียนใน
ลักษณะนี้เกิดผลดีกับการทํางานของนักเรียนหรือไมอยางไร
            4.4 ครูและนักเรียนชวยกันสรุปขอผิดพลาด ขอควรปรับปรุงวิธีการแกไข และการทํางานที่มีระบบ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 2 เรื่อง ตัวประกอบ (2) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
            5. ครูนํากิจกรรม ในใบงานมาเปนตัวอยางโดยใชการถาม-ตอบประกอบคําอธิบาย เพื่อใหนักเรียน
เกิดแนวคิดเกี่ยวกับตัวประกอบของจํานวนนับ ดังนี้
                5.1 1, 2, 3, 4 และ 6 เปนจํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวใชหรือไม
                5.2 จํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 เปน
จํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 12 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 4, 6 หรือ 12 วา ตัวประกอบของ 12 และเรียก 1, 2, 3, 4,
6 และ 12 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 12
                5.3 จํานวนนับทั้งหมดที่หาร 18 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
เปนจํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 18 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 6, 9 หรือ 18 วา ตัวประกอบของ 18 และเรียก 1, 2,
3, 6, 9 และ 18 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 18
               5.4 คําวาตัวประกอบกับตัวประกอบทั้งหมดของจํานวนนับใดๆ แตกตางกันอยางไร จงอธิบาย
           6. ครูบอกบทนิยามของคําวา ตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือ จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้น
ไดลงตัว
             7. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะแลวชวยกันเฉลยแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 3 เรื่อง การหาตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
       1. ครูใหนักเรียนทบทวนการหารเปนตัวอยางโดยใชการถาม-ตอบประกอบคําอธิบาย เพื่อใหนักเรียน
เกิดแนวคิดเกี่ยวกับตัวประกอบของจํานวนนับ ดังนี้
           1.1 1, 2, 3, 4 และ 6 เปนจํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวใชหรือไม

          1.2 จํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 เปน
จํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 12 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 4, 6 หรือ 12 วา ตัวประกอบของ 12 และเรียก 1, 2, 3, 4,
6 และ 12 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 12
5

            1.3 จํานวนนับทั้งหมดที่หาร 18 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
เปนจํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 18 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 6, 9 หรือ 18 วา ตัวประกอบของ 18 และเรียก 1, 2,
3, 6, 9 และ 18 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 18
        2. ครูใหนักเรียนทําใบงานที่1 หาจํานวนนับ โดยเรียกนักเรียนใหหาตัวประกอบ ทั้งหมดของจํานวน
นับคนละหนึ่งขอ
        3. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน คละความสามารถกัน และใหนักเรียนที่มีความสามารถระดับ
เดียวกันอยูกลุมเดียวกัน ทํากิจกรรม ตะแกรงรอนจํานวนนับรวมกัน ซึ่งครูจะแจกใบงาน ที่กําหนดไวให
นักเรียนแตละกลุม ดังนี้
        ขอที่ 1 สําหรับนักเรียนคนที่ 1 ของทุกกลุม
        ขอที่ 2 สําหรับนักเรียนคนที่ 2 ของทุกกลุม
        ขอที่ 3 สําหรับนักเรียนคนที่ 3 ของทุกกลุม
        ขอที่ 4 สําหรับนักเรียนคนที่ 4 ของทุกกลุม
        นักเรียนทุกคนในกลุมจะตองสลับหนาที่กัน ดังนี้ คือ อานคําสั่ง เสนอวิธีคิด หาคําตอบ และตรวจทาน
คําตอบ
      4. นักเรียนแตละกลุมเลือกตัวแทนกลุม มานําเสนอผลงานกลุม รายงานหนาที่และความรับผิดชอบของ
สมาชิกในกลุม สิ่งมีประโยชนที่ไดรับจากการทํางานเปนกลุมในครั้งนี้และสิ่งที่ตองปรับปรุง


กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 3 เรื่อง การหาตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
         1. จากกิจกรรม ใบงาน ครูใชการถาม-ตอบ ประกอบคําอธิบาย เพื่อใหนักเรียนฝกสังเกต สํารวจ คนหา
แลวสรุปความสัมพันธ หรือลักษณะพิเศษขอ งจํานวนนับที่มีจํานวนตัวประกอบเทากัน (จํานวนที่อยูในชอง
เดียวกัน) ดังนี้
             1.1. จํานวนนับในชองที่ 1 เปนจํานวนคี่ใชหรือไม เพราะเหตุใดใหยกตัวอยางสนับสนุนหรือ
ตัวอยางคาน
             1.2. จํานวนนับในชองที่ 1 เรียกวาจํานวนอะไร
             1.3) จํานวนนับ เชน 4 = 2 × 2, 9 = 3 × 3 หรือ 25 = 5 × 5 และอื่นๆ จะเปนจํานวนที่เขียนใน
รูปการคูณของตัวเองไดอยูในชองที่เทาไรบาง
             1.4) นักเรียนคิดวา จํานวนนับ เชน 16 = 4 × 4 และ 81 = 9 × 9 เปนจํานวนนับที่มีลักษณะอยาง
เดียวกันกับจํานวนนับในขอ 3 หรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบาย
             1.5) เมื่อจํานวนนับเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จํานวนนับในชองตางๆ จะเพิ่มขึ้นดวยหรือไม อยางไร จงอธิบาย
หรือยกตัวอยางคัดคาน
6

           1.6) นักเรียนสามารถบอกจํานวนที่ 2 และ 3 ในชองที่ 6 และ 9 ไดหรือไม ถาบอกไดจงอธิบายวิธีคิด
หรือขอสังเกต
           1.7) จงบอกจํานวนที่ 3 และ 4 ในชองที่ 4 พรอมบอกวิธีคิด ถานักเรียนสามารถหาคาได
           1.8) จํานวนนับที่ 5 และ 6 ในชองที่ 3 เปนจํานวนใด จงบอกวิธีคิด

      2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ
กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 5 เรื่อง ตัวประกอบเฉพาะ ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
      1. ครูใหนักเรียนทบทวนการหาตัวประกอบของจํานวนนับใด ๆ เชน
             - ตัวประกอบของ 6 คือ 1, 2, 3, 6
             - ตัวประกอบของ 10 คือ 1, 2, 5, 10
             - ตัวประกอบของ 13 คือ 1, 13

    2. ครูใหนักเรียนหาตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ เชน 2, 3, 5, 7, 13โดยสุมใหนักเรียนแสดงวิธีทํา
บนกระดาน
    3. ครูใหนักเรียนพิจารณาจํานวนตัวประกอบของจํานวนนับบนกระดาน แลวตั้งคําถามเชน

             - จํานวนนับบนกระดาน แตละจํานวนมีตัวประกอบเทาไร
             - ตัวประกอบของจํานวนนับแตละจํานวนมีความสัมพันธกับจํานวนนับนั้นอยางไร

      4. ครูอธิบายวาจํานวนนับที่มีตัวประกอบ ในลักษณะบนกระดาน เรียกวา จํานวนเฉพาะ
      5. ครูยกตัวอยาง ตัวประกอบของ 12 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 12 บนกระดาน แลวตั้งคําถามเชน

             - ตัวประกอบของ 12 จํานวนใดเปนจํานวนเฉพาะ

      6. ครูอธิบายเพิ่มเติม เชน 2 และ 3 เรียกวาตัวประกอบเฉพาะของ 12
      7. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปบทเรียน เรื่องตัวประกอบเฉพาะ
      8. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 6 เรื่อง การแยกตัวประกอบเฉพาะ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
      1. ครูยกตัวอยางจํานวนที่เขียนอยูในรูปการคูณของจํานวนเฉพาะไดเชน

                   8     =      2x2x2
7

                   15     =      2x3x5
                   25     =      5x5

      2. ครูอธิบายเพิ่มเติม วา การเขียนจํานวนนับใหอยูในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะเราเรียกวา การ
แยกตัวประกอบของจํานวนนับ
      3. ครูแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหแตละกลุมศึกษาวิธีการแยกตัวประกอบของจํานวนนับ

             - กลุมที่ 1 การแยกตัวประกอบโดยใชแผนภาพตนไม
             - กลุมที่ 2 การแยกประกอบโดยการเขียนใหอยูในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ
             - กลุมที่ 3 การแยกประกอบโดยใชวิธีการหารสั้น

       4. แตละกลุมสงตัวแทน แสดงวิธีการแยกตัวประกอบของจํานวนนับบนกระดานตามหัวขอที่ไดรับ
มอบหมาย นักเรียนกลุมอื่น ๆ ที่เหลือตั้งใจฟงและทําการซักถาม ครูใหคําแนะนําและอธิบายเพิ่มเติมจนนักเรียน
เขาใจวิธีการแยกตัวประกอบทั้ง 3 วิธี
       5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 7 เรื่อง การแยกตัวประกอบเฉพาะ (2) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
      1. ครูใหนักเรียนทบทวนการแยกตัวประกอบจากชั่วโมงที่ผานมา

      2. ครูกําหนดจํานวน แลวใหนักเรียนเขียนใหอยูในรูปผลคูณของจํานวนเฉพาะ เชน 8, 12, 26, 45

      3. ครูใหตัวอยางการแยกตัวประกอบทั้งการตั้งหารและแผนภูมิตนไมโดยใชการถาม-ตอบประกอบการ

อธิบาย

      4. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหและอภิปรายวาวิธีแยกตัวประกอบทั้งสองวิธีนี้ วิธีใดดีกวา

กัน เพราะเหตุใด ครูสรุปประเด็นสําคัญที่ นักเรียนยังไมไดกลาวถึง

      5. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปขั้นตอนการแยกตัวประกอบโดยใชวิธีการตางๆ

      6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ
8

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 8 เรื่อง การหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแต 2 จํานวน ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
               1. ทบทวนการหาตัวประกอบของจํานวนนับ เชน
                             ตัวประกอบของ 15 คือ 1, 3, 5, 15
                             ตัวประกอบของ 30 คือ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15, 30
               2. กําหนดจํานวนนับสองจํานวน ใหนักเรียนชวยกันหาตัวประกอบ เชน
                       ตัวประกอบของ 18 คือ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18
                       ตัวประกอบของ 24 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24
               3. แลวใหพิจารณาวามีจํานวนใดเปนตัวหารรวม หรือตัวประกอบรวมของ 18 และ 24 บาง ซึ่งจะ
ไดวา ตัวหารรวมหรือตัวประกอบรวมของ 18 และ 24 คือ 1, 2, 3, 6 ตัวหารรวม หรือตัวประกอบรวมที่มากที่สุด
คือ 6 จึงเรียก 6 วา ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ของ 18 และ 24
               4. ใหนักเรียนอภิปรายกันถึงวิธีในการหาตัวหารรวมมาก ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวน โดยครู
ชวยสรุปและยกตัวอยางประกอบ ใหนักเรียนชวยกันหา ห.ร.ม.

                  (1) การหา ห.ร.ม. โดยการพิจารณาตัวประกอบ เชน
                      ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 16 และ 24
                             วิธีคิด เนื่องจากตัวประกอบของ 16 คือ 1, 2, 4, 8 และ 16
                                     ตัวประกอบของ             24 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24
                                     จะไดตัวประกอบรวมของ 16 และ 24 คือ 1, 2, 4 และ 8
                                     ตัวประกอบรวมที่มากที่สุดของ 16 และ 24 คือ 8
                             ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16 และ 24 คือ 8

                  (2) การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ เชน
                      ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 30
                             วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 24 และ 30 ไดดังนี้
                                                  24     =      2 × 2× 2× 3
                                                  30     =      2 × 3 ×5
                                       ตัวประกอบรวมของ 24 และ 30 คือ 2, 3 และ 2 × 3
                                       ตัวประกอบรวมของ 24 และ 30 ที่มากที่สุดคือ 2 × 3 = 6
                               ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24 และ 30 คือ 6
9



                   (3) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการตั้งหาร เชน
                       ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 18, 27 และ 36
                              วิธีทํา       3 ) 18 17 36
                                            3 ) 6 9 12
                                              2     3 4
                              ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18, 27, และ 36 คือ 3 × 3 = 9

            5. ใหนักเรียนชวยกันสรุปขั้นตอน และขอสังเกตตางๆ ในการหา ห.ร.ม. แตละวิธี แลวกําหนด
จํานวนนับ 2 หรือ 3 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ห.ร.ม. อีก 2 - 3 ตัวอยาง
            6. แบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4 - 5 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกไปรับใบงาน เรื่อง
การหา ห .ร.ม. กลุมละ 5 ขอ ใหสมาชิกในกลุมอภิปรายรวมกัน แลวแสดงวิธีทํา โดยวิธีใดวิธีหนึ่งในแตละขอ
แลวนําผลงานสงที่ครู
            7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 9 เรื่อง การใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. แกโจทยปญหา (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
        1. ทบทวนการหา ห.ร.ม.
        2. กําหนดโจทยปญหาที่ตองใชความรูเกี่ยวกับการหา ห .ร.ม. ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหโจทยวา
กําหนดอะไรใหบาง ใหหาอะไร จะหาคําตอบไดอยางไร แลวชวยกันแสดงวิธีทํา โดยครูเปนผูถามนําและเขียน
แสดงวิธีทําบนกระดานดําไปตามลําดับจนเสร็จสมบูรณ 2 - 3 ขอ เชน
         ตัวอยางที่ 1 จงหาจํานวนที่มากที่สุดที่หาร 1,504 ไดลงตัว แตหาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1
             วิธีทํา จํานวนที่หาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 คือจํานวนที่หาร (1,697 - 1) หรือ 1,696 ไดลงตัว
                       ดังนั้น จํานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 1,504 ไดลงตัว แตหาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 ก็คือ
                       ห.ร.ม. ของ 1,504 และ 1,696
                       หา ห.ร.ม. ของ 1,504 และ 1,696 ไดดังนี้
                                  2 ) 1,504 1,696
                                         2 ) 752 848
                                         2 ) 376 424
                                         2 ) 188 212
                                          2 ) 94 106
                                              47 53
                   จะได ห.ร.ม. ของ 1,504 และ 1,696 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 32
10

                   ดังนั้น จํานวนที่มากที่สุดที่หาร 1,504 ไดลงตัว แตหาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 คือ 32

          ตัวอยางที่ 2 กระดาษแข็งกวาง 63 เซนติเมตร ยาว 90 เซนติเมตร ตองการตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่
ใหญที่สุด ใหมีขนาดเทาๆ กัน โดยไมเหลือเศษเลย จะตองตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีดานยาวดานละ
กี่เซนติเมตร และไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดดังกลาวกี่แผน
              วิธีทํา หา ห.ร.ม. ของ 63 และ 90 ดังนี้
                        63 = 3 × 3 × 7
                        90 = 3 × 3 × 2 × 5
              ห.ร.ม. ของ 63 และ 90 คือ 3 × 3 = 9
              ดังนั้น จะตองตัดกระดาษแข็งเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีดานยาวดานละ 9 เซนติเมตร
              จึงจะไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีขนาดใหญที่สุดและกระดาษไมเหลือเลย
              ตัดกระดาษตามแนวกวางได                63 ÷ 9       = 7                     สวนเทาๆ กัน
              ตัดกระดาษตามแนวยาวได                  90 ÷ 9       = 10                    สวนเทาๆ กัน
              ดังนั้น จะไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใหญที่สุดขนาด 9 × 9 ตารางเซนติเมตรจํานวนทั้งหมด
                                                7 × 10         = 70 แผน

                   ตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีดานยาว ดานละ ๙ เซนติเมตร
    ตอบ
                   จึงจะไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดใหญที่สุด จํานวน ๗๐ แผน

                                 315
          ตัวอยางที่ 3 จงทํา         ใหเปนเศษสวนอยางต่ํา
                                1,875
             วิธีทํา การทําเศษสวนใหเปนเศษสวนอยางต่ํา ตองหาจํานวนนับที่หารทั้งตัวเศษและตัวสวน
ไดลงตัวมาหารทั้งตัวเศษและตัวสวน และจํานวนนับที่มากที่สุดที่หารทั้งตัวเศษ และตัวสวนไดลงตัวก็คือ
ห.ร.ม. ของ 315 และ 1,875
                   หา ห.ร.ม. ของ 315 และ 1,875
                                      3 ) 315 1,875
                                      5 ) 105 625
                                           21 125
              ห.ร.ม. ของ 315 และ 1,875 คือ 3 × 5 = 15
                                             315       315 ÷ 15   21
              ดังนั้น เศษสวนอยางต่ําของ         คือ           =
                                            1,875     1,875 ÷ 15 125
11

                                            ๒๑
                            ตอบ
                                           ๑๒๕
           3. แบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกไปรับใบงานเรื่อง ห.ร.ม.
กลุมละ 1 ชุด (ใหวิเคราะหโจทยปญหาที่ใชความรูเกี่ยวกับ ห .ร.ม. พรอมทั้งแสดงวิธีทําและหาคําตอบ กลุมละ
1 - 2 ขอ) ครูกําหนดเวลาพอสมควร เสร็จแลวนําผลงานสงที่ครู
           4. ครูเลือกโจทยปญหาที่นาสนใจ หรือที่เปนปญหาบางขอ ใหกลุมที่รับผิดชอบออกมาเสนอวิธีการ
คิดและแสดงวิธีทํา ใหกลุมอื่นๆ รวมกันอภิปรายและตรวจสอบความถูกตอง
         5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 10 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการพิจารณาจากพหุคูณและโดยการแยกตัวประกอบ
(1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
          1. ทบทวนเรื่องตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ และการหา ห.ร.ม.
          2. ใหนักเรียนหาจํานวนนับที่มี 2 เปนตัวประกอบซึ่งจะได 2, 4, 6, 8, 10, ... แลวแนะนําวา 2, 4, 6, 8,
10, ... เปนพหุคูณของ 2 แลวใหนักเรียนหาจํานวนที่เปนพหุคูณของ 3, 4, 5 แลวอภิปรายเพื่อชวยกันสรุปวา
จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กําหนดใหลงตัว เรียกวา พหุคูณของจํานวนนับที่กําหนดใหนั้น เชน
              2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, ...    เปนพหุคูณของ 2
              3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27 ...    เปนพหุคูณของ 3
              4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, ...      เปนพหุคูณของ                                     4
          3. แนะนําใหนักเรียนรูจักพหุคูณรวม โดยชวยกันพิจารณาพหุคูณของ 2 และ 3 วามี 6, 12, 18, ... เปน
พหุคูณของทั้ง 2 และ 3 จึงเรียก 6, 12, 18, ... วาเปนพหุคูณรวมของ 2 และ 3 และพหุคณรวมที่นอยที่สุดของ 2
                                                                                       ู
และ 3 เรียกวา ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ดังนั้น ค.ร.น. ของ 2 และ 3 คือ 6 ใหนักเรียนชวยกันหาพหุคูณรวม และ
ค.ร.น. ของ 3 กับ 4 และ 2 กับ 4
          4. สอนการหา ค .ร.น. ของจํานวนนับโดยพิจารณาจากพหุคูณ โดยกําหนดจํานวนนับ 2 จํานวน ให
นักเรียนหา ค.ร.น. 2 - 3 ขอ
         ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 6 และ 15 โดยพิจารณาจากพหุคูณ
         วิธีทํา หาพหุคูณของ 6 และ 15 ดังนี้
                  พหุคูณของ 6 คือ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, ...
                  พหุคูณของ 15 คือ 15, 30, 45, 60, ...
                  พหุคูณรวมของ 6 และ 15 คือ 30, 60, ...
                  พหุคูณรวมของ 6 และ 15 ที่มีคานอยที่สุดคือ 30
                  ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6 และ 15 คือ 30
                        ตอบ ๓๐
12

         5. สอนการหา ค.ร.น. ของจํานวนนับโดยการแยกตัวประกอบ ดังนี้
              (1) ใหนักเรียนพิจารณาการหา ค .ร.น. ในขอ 4.4 วามีวิธีการหา ค .ร.น. ใหสะดวก รวดเร็วขึ้น
อยางไร ชวยกันเสนอแนะ และแสดงวิธีทําบนกระดาน เชน หา ค .ร.น. ของ 6 และ 15 อาจใชวิธีการแยกตัว
ประกอบดังนี้
                                6 = 2 × 3
                                15 = 3 × 5
               ค.ร.น. ของ 6 และ 15 ก็คือจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มี 6 และ 15 เปนตัวประกอบ หรือ พหุคูณรวม
ที่นอยที่สุดของ 6 และ 15
               ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6 และ 15 คือ 3 × 2 × 5 = 30
               (2) กําหนดจํานวนนับ 2 หรือ 3 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ค .ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ
อีก 2 - 3 ขอ
               (3) ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการ และขอสังเกตตางๆ ในการหา ค.ร.น. ของจํานวนนับเปนขอๆ
           6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 11 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารและความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม.
และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )

         1. ทบทวนความหมายของ ค.ร.น. และการหา ค.ร.น. โดยการพิจารณาจากพหุคูณ และโดยการแยกตัว
ประกอบ
        2. สอนการหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารดังนี้
              (1) ใหนักเรียนหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 โดยวิธีที่เคยเรียนมาแลว
              (2) แนะนําและแสดงขั้นตอนการหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหารวา ใหหาตัวประกอบรวมเฉพาะของ
จํานวนเหลานั้นทุกจํานวนหรือหาตัวประกอบรวมเฉพาะของจํานวนอยางนอยสองจํานวนมาหาร ถาหารจํานวน
ใดไมลงตัว ใหเขียนจํานวนนั้นไวคงเดิม จนไมสามารถหาตัวประกอบรวมไดอีกแลว จึงนําตัวหารทุกตัวและ
ผลหารขั้นสุดทายทุกตัวมาคูณกัน ผลคูณที่ไดคือ ค.ร.น. ของจํานวนเหลานั้น เชน
                                   2 ) 18, 30, 36
                                     3 ) 9, 15, 18
                                     3 ) 3, 5, 6
                                         1 5 2
                      ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 คือ 2 × 3 × 3 × 1 × 5 × 2
                      หรือ 2 × 3 × 3 × 5 × 2 หรือ 180
13

              (3) ใหนักเรียนฝกหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารอีก 2 ขอ ดังนี้
                  ขอ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 24 และ 40 (ตอบ 120)
                  ขอ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 28, 35 และ 42 (ตอบ 420)
         3. ใหนักเรียนอภิปรายถึงการหา ค .ร.น. โดยการตั้งหาร แลวชวยกันสรุปขั้นตอนของการหา ค .ร.น.
โดยวิธีการตั้งหาร
         4. กําหนดจํานวนนับ 3 หรือ 4 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ค.ร.น. และตรวจสอบคําตอบอีก 1 ขอ
         5. ใหนักเรียนชวยกันหาความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใดๆ
โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมละ 4 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารับใบงาน เรื่องความสัมพันธระหวาง
ห.ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ใหสมาชิกกลุม แบงงานกันทําแลวบันทึกผล อภิปราย สรุ ป
ความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน และทดสอบความสัมพันธที่ได แลวทํา
แบบบันทึกผลสงที่ครูกลุมละ 1 ชุด
         6. ครูนํานักเรียนอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง
         7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ

กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 12 เรื่อง การแกปญหาโจทยโดยใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง )
          1. ทบทวนความหมายของ ค.ร.น. และการหา ค.ร.น. โดยการพิจารณาจากพหุคูณ และโดยการแยกตัว
ประกอบ
        2. สอนการหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารดังนี้
              (1) ใหนักเรียนหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 โดยวิธีที่เคยเรียนมาแลว
              (2) แนะนําและแสดงขั้นตอนการหา ค .ร.น. โดยวิธีตั้งหารวา ใหหาตัวประกอบรวมเฉพาะของ
จํานวนเหลานั้นทุกจํานวนหรือหาตัวประกอบรวมเฉพาะของจํานวนอยางนอยสองจํานวนมาหาร ถาหารจํานวน
ใดไมลงตัว ใหเขียนจํานวนนั้นไวคงเดิม จนไมสามารถหาตัวป ระกอบรวมไดอีกแลว จึงนําตัวหารทุกตัวและ
ผลหารขั้นสุดทายทุกตัวมาคูณกัน ผลคูณที่ไดคือ ค.ร.น. ของจํานวนเหลานั้น เชน
                                   2 ) 18, 30, 36
                                     3 ) 9, 15, 18
                                     3 ) 3, 5, 6
                                         1 5 2
                        ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 คือ 2 × 3 × 3 × 1 × 5 × 2
                        หรือ 2 × 3 × 3 × 5 × 2 หรือ 180
               (3) ใหนักเรียนฝกหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารอีก 2 ขอ ดังนี้
                        ขอ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 24 และ 40 (ตอบ 120)
                        ขอ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 28, 35 และ 42 (ตอบ 420)
14



         3. ใหนักเรียนอภิปรายถึงการหา ค .ร.น. โดยการตั้งหาร แลวชวยกันสรุปขั้นตอนของการหา ค .ร.น.
โดยวิธีการตั้งหาร
         4. กําหนดจํานวนนับ 3 หรือ 4 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ค.ร.น. และตรวจสอบคําตอบอีก 1 ขอ
         5. ใหนักเรียนชวยกันหาความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใดๆ
โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมละ 4 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารับใบงาน เรื่องความสัมพันธระหวาง
ห.ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ใหสมาชิกกลุม แบงงานกันทําแลวบันทึกผล อภิปราย สรุป
ความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน และทดสอบความสัมพันธที่ได แลวทํา
แบบบันทึกผลสงที่ครูกลุมละ 1 ชุด
         6. ครูนํานักเรียนอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง
         7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ
         8. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน
15

6. สื่ออุปกรณและแหลงเรียนรู
 –               แบบฝกเสริมทักษะ
 –               บัตรภาพ
 –               ของจริง
 –               สถานการณ
 –               ตัวอยางโจทยปญหา
 –               แบบทดสอบกอน–หลังเรียน
 –               หนังสือเรียน เอกสารความรู
 –               อุปกรณในการวาดภาพ
16

7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู
            7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด

 เปาหมายการเรียนรู                  วิธีการวัด                       เครื่องมือวัด
สาระสําคัญ              1. ทดสอบประเมินผลกอนเรียน            1. แบบทดสอบประเมินผลกอน
จํานวนนับหรือ                                                 เรียน
                        2. ศึกษาตัวอยาง/แถบประโยค            2. แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุม
จํานวนธรรมชาติใดที่
                                                              3. แบบประเมินใบงาน
หารจํานวนนับใด ๆ
                        3. ทําใบงาน /แบบฝกทักษะ              4. แบบผลงาน/ชิ้นงาน
ไดลงตัว คือไดผลหาร    4. แตงประโยคและหาคําตอบ
เปนจํานวนเต็มจะ
เรียกจํานวนนับนั้นวา
ตัวประกอบ

ค 1.4 ม1/1 นํา          1. ตรวจใบงาน                          – แบบประเมินใบงาน/แบบ
ความรูและสมบัติ        2. การอธิบายบทนิยามของคําวา ตัว      ฝกทักษะ
เกี่ยวกับจํานวนเต็มไป   ประกอบของจํานวนนับใดๆ                 – แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
ใชในการแกปญหา        3. ตรวจแบบฝกทักษะ                    – แบบสังเกตพฤติกรรมความ
                        4. สังเกตการทํากิจกรรม ตะแกรงรอน     สนใจรายบุคคล
                        จํานวนนับรวมกัน                      – แบบประเมินการนําเสนอ
                        5. การนําเสนอผลงานกลุม               ผลงาน
                        6. การหาตัวประกอบของจํานวน            – แบบประเมินการปฏิบัติงาน
                        ตอไปนี้ เชน 2, 3, 5, 7, 13โดยสุม   กลุม
                        7. การอธิบายและยกตัวอยาง ตัว         – แบบประเมินพฤติกรรมดาน
                        ประกอบของ 12                          การปฏิบัติตน
                        8. การศึกษาวิธีการแยกตัวประกอบของ     – แบบทดสอบประเมินผล
                        จํานวนนับ                             หลังเรียน
                        9. การศึกษาใหตัวอยางการแยกตัว
                        ประกอบทั้งการตั้งหารและแผนภูมิ
                        ตนไมโดยใชการถาม-ตอบประกอบ
17

 เปาหมายการเรียนรู                วิธีการวัด                      เครื่องมือวัด
                       10. การอภิปรายสรุปขั้นตอนการ
                       แยกตัวประกอบโดยใชวิธีการตางๆ
                       11. การอภิปรายถึงการหา ค.ร.น. โดย
                       การตั้งหาร
                       12. การหา ค.ร.น. และตรวจสอบ
                       คําตอบ
                       13. การหาความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม.
                       และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน
                       ใดๆ




คุณลักษณะ
ทํางานเปนระเบียบ    1. รายงานการสังเกต                      1. แบบประเมินพฤติกรรม
เรียบรอย รอบคอบ                                             ดานการปฏิบัติตน
และมีความเชื่อมั่นใน 2. สังเกตพฤติกรรมดานคุณธรรม            2. แบบประเมินพฤติกรรม
ตนเอง                พื้นฐาน                                 ดานคุณธรรมพื้นฐาน
18

7.2 เกณฑการวัด
       7.2.1 ขอสอบปรนัย เลือกคําตอบไดถูกขอละ 1 คะแนน
       7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุม
          1. การกําหนด / เปาหมายรวมกัน
          2. การแบงหนาที่รับผิดชอบ
          3. การปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย
          4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน
       7.2.3 แบบประเมินการนําเสนอผลงาน
          1. เนื้อหา
          2. กลวิธีการนําเสนอ
          3. ขั้นตอนการนําเสนอ
          4. การใชภาษา
          5. ตอบคําถาม/เวลา
       7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด
          1. ความคิดรวบยอด
          2. ความคิดรอง
          3. ความคิดยอย
          4. การเชื่อมโยงความคิด
          5. ความสวยงาม
       7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
          1. ความตั้งใจ
          2. ความรวมมือ
          3. ความมีวินัย
          4. คุณภาพของผลงาน
          5. การนําเสนอผลงาน
       7.2.6 แบบประเมินใบงาน/แบบฝกทักษะ
          1. การสรุปเปนองคความรู
          2. เนื้อหาถูกตอง ครบถวน
          3. การบันทึกขอมูล
          4. การอภิปราย
          5. การสนทนาซักถาม
19



7.2.7 แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงาน
   1. ความคิดสรางสรรค
   2. ความประณีตสวยงาม
   3 ความสะอาด
   4 ความแข็งแรงคงทน
   5. ทํางานเสร็จทันเวลา
7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะหโจทยปญหา
   1. คําตอบเปนคําตอบในเชิงบวกได 1 คะแนน
   2. คําตอบเปนคําตอบในเชิงลบได 0 คะแนน
7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมดานการปฏิบัติตน
   1. ความกระตือรือรน
   2. ความรวมมือ
   3. ความรับผิดชอบ
   4. การเคารพกติกา
   5. ความกลาแสดงออก
7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรมพื้นฐาน
   1. ความขยัน
   2. ความประหยัด
   3. ความซื่อสัตย
   4. ความมีวินัย
   5. ความสุภาพ
   6. ความสะอาด
   7. ความสามัคคี
   8. ความมีน้ําใจ
20

           7.3 เกณฑการผาน
              7.3.1 เกณฑการผานรายบุคคล
                 7.3.1.1 นักเรียนไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ของคะแนนเต็ม
                 7.3.1.2 นักเรียนไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 2 ขึ้นไปจาก 3 ระดับคุณภาพของการ
ประเมินหรือ ไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน
              7.3.2 เกณฑการผานรายกลุม
                 7.3.2.1 จํานวนนักเรียนรอยละ 80 ไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ของคะแนนเต็ม
                 7.3.2.2 จํานวนนักเรียนรอยละ 80 ไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 2 ขึ้นไปจาก 3 ระดับ
คุณภาพของการประเมินหรือ ไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน
21

8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู
           8..1 ผลการจัดการเรียนรู ( นักเรียนทั้งหมด 33 คน )
               นักเรียนผานเกณฑการประเมินระดับดี........คน คิดเปนรอยละ...........
               นักเรียนผานเกณฑการประเมินระดับปานกลาง.......คน คิดเปนรอยละ.................
               นักเรียนไมผานเกณฑการประเมินระดับปรับปรุง ........คน คิดเปนรอยละ.............

                      8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหวางเรียน
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
                      8.3 ปญหาและอุปสรรคระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
                      8.4 การปรับปรุงและพัฒนา
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................




                                                                                     ลงชื่อ………………………………………
                                                                                           (นางสาวประยูร วงศาสนธิ์ )
                                                                                                   ครู คศ. 1
22


9. ความเห็นของผูบริหารโรงเรียน
                      ..................………………………………………………………………………............................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................




                                                                          ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ
                                                                                    ( นายสมยศ เพ็ชรวงษา )
                                                                            ผูอํานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมิต

More Related Content

What's hot

แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okJirathorn Buenglee
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดSuphot Chaichana
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมันPreecha Yeednoi
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับsayunwanlor
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...Anima หนูรุ้ง
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan seriesseelopa
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 

What's hot (20)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik okแผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
แผนการสอนแบบสืบสอบ Pik ok
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุดชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
ชุดที่ื 5-สสวท.-ล่าสุด
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับแผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
แผนการสอนเรื่องสมบัติของจำนวนนับ
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ประกอบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง เลขย...
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
นวัตกรรมเลขยกกำลังชุดที่ 1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Viewers also liked

สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับApichaya Savetvijit
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดmaneewaan
 
เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ warijung2012
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการkanjana2536
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannkru_ann
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 

Viewers also liked (11)

สมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับสมบัติของจำนวนนับ
สมบัติของจำนวนนับ
 
สื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวดสื่อคณิตประกวด
สื่อคณิตประกวด
 
เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ เอกสารประกอบ สมการ
เอกสารประกอบ สมการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 

Similar to แผนการเรียนรู้1

Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 

Similar to แผนการเรียนรู้1 (20)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

แผนการเรียนรู้1

  • 1. 1 แผนการจัดการเรียนรู Backward Design หนวยที่ 1 สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ
  • 2. 2 แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 1 เรื่อง สมบัติของจํานวนนับ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 วิชา คณิตศาสตร เวลาเรียน 12 ชั่วโมง หนวยการเรียนรูที่ 1 สมบัติของจํานวนนับ ปการศึกษา 2555 ผูสอน นางสาวประยูร วงศาสนธิ์ 1. สาระที่ 1 จํานวนและการดําเนินการ 2. มาตรฐานการเรียนรู ค 1.4 เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช 3. ตัวชี้วัด ค 1.4 ม1/1 นําความรูและสมบัติเกี่ยวกับจํานวนเต็มไปใชในการแกปญหา 4. สาระสําคัญ จํานวนนับหรือจํานวนธรรมชาติใดที่หารจํานวนนับใด ๆ ไดลงตัว คือไดผลหารเปนจํานวนเต็มจะ เรียกจํานวนนับนั้นวา ตัวประกอบ 4.1 ดานความรู 1. ตัวประกอบ 2. การหาตัวประกอบ 3. ตัวประกอบเฉพาะ 4. การแยกตัวประกอบเฉพาะของจํานวนที่กําหนดให 5. การหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแต 2 จํานวน 6. 1. หาตัวประกอบรวมของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได
  • 3. 3 7. หาตัวประกอบรวมมากที่สุดของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได 8. หา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวนขึ้นไปได 9. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได 10. ใชความรูเกี่ยวกับ ค.ร.น. แกปญหาได 11. บอกความหมายของ ค.ร.น. ของจํานวนนับได 12. หา ค.ร.น. ของจํานวนนับได 13. หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับที่กําหนดใหได 14. ใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. แกปญหาได 4.2 ดานทักษะกระบวนการ 1. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา 2. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรและเทคโนโลยีในการแกปญหาใน สถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม 3. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม 4.3 ดานคุณลักษณะ ทํางานเปนระเบียบเรียบรอย รอบคอบ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง 5. กระบวนการจัดการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน 2 ครูสนทนาและซักถามนักเรียนเกี่ยวกับสูตรคูณแมตางๆ พรอมประเมินผลความแมนยํา ความรวดเร็วในการบอกผลคูณ โดยครูสุมเรียกนักเรียนใหตอบเปนรายบุคคล เชน ผลคูณของจํานวน 4 × 7, 9 × 8 เปนเทาไร เปนตน 3 นักเรียนจับคูชวยกันทําใบงาน แลวใหสับเปลี่ยนคูกันตรวจคําตอบ โดยครูเรียกให นักเรียนตอบ คําถามคนละหนึ่งขอ ถานักเรียนคนใดบอกคําตอบไมถูกตอง หรือตอบไมครบตามจํานวน ครูจะชวยแนะนํา โดยใชการซักถามเพื่อใหนักเรียนคิดทบทวนและใหคําตอบใหม อีกครั้ง หรืออาจจะใหนักเรียนคนอื่นชวยตอบ แทน 4. เมื่อเฉลยคําตอบครบทุกขอ นักเรียนแตละคนรับใบกิจกรรมของตนเองคืน ครูสนทนาซักถาม ประกอบคําอธิบายเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนไดเรียนรูระบบในการทํางาน ดังนี้
  • 4. 4 4.1 นักเรียนคนไหนเขียนรูปการคูณของจํานวนนับโดยไมไดมีการจัดเรียงคาจากนอยไปมาก หรือ เรียงคาจากมากไปนอย เพราะเหตุใด และการเขียนจํานวนแบบไมเปนระบบอยางนี้ ทําใหเกิดผลเสียกับนักเรียน หรือไมอยางไร 4.2 นักเรียนคนไหนเขียนคําตอบบางขอไมครบตามจํานวน เพราะเหตุใด 4.3 นักเรียนคนไหนเขียนรูปการคูณของจํานวนนับโดยเรียงคาจากนอยไปมาก และการเขียนใน ลักษณะนี้เกิดผลดีกับการทํางานของนักเรียนหรือไมอยางไร 4.4 ครูและนักเรียนชวยกันสรุปขอผิดพลาด ขอควรปรับปรุงวิธีการแกไข และการทํางานที่มีระบบ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 2 เรื่อง ตัวประกอบ (2) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 5. ครูนํากิจกรรม ในใบงานมาเปนตัวอยางโดยใชการถาม-ตอบประกอบคําอธิบาย เพื่อใหนักเรียน เกิดแนวคิดเกี่ยวกับตัวประกอบของจํานวนนับ ดังนี้ 5.1 1, 2, 3, 4 และ 6 เปนจํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวใชหรือไม 5.2 จํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 เปน จํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 12 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 4, 6 หรือ 12 วา ตัวประกอบของ 12 และเรียก 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 12 5.3 จํานวนนับทั้งหมดที่หาร 18 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 เปนจํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 18 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 6, 9 หรือ 18 วา ตัวประกอบของ 18 และเรียก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 5.4 คําวาตัวประกอบกับตัวประกอบทั้งหมดของจํานวนนับใดๆ แตกตางกันอยางไร จงอธิบาย 6. ครูบอกบทนิยามของคําวา ตัวประกอบของจํานวนนับใดๆ คือ จํานวนนับที่หารจํานวนนับนั้น ไดลงตัว 7. ใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะแลวชวยกันเฉลยแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 3 เรื่อง การหาตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูใหนักเรียนทบทวนการหารเปนตัวอยางโดยใชการถาม-ตอบประกอบคําอธิบาย เพื่อใหนักเรียน เกิดแนวคิดเกี่ยวกับตัวประกอบของจํานวนนับ ดังนี้ 1.1 1, 2, 3, 4 และ 6 เปนจํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวใชหรือไม 1.2 จํานวนนับที่หาร 12 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 เปน จํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 12 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 4, 6 หรือ 12 วา ตัวประกอบของ 12 และเรียก 1, 2, 3, 4, 6 และ 12 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 12
  • 5. 5 1.3 จํานวนนับทั้งหมดที่หาร 18 ไดลงตัวมีกี่จํานวน และเปนจํานวนใดบาง 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 เปนจํานวนนับทั้งหมดซึ่งหาร 18 ไดลงตัว จึงเรียก 1, 2, 3, 6, 9 หรือ 18 วา ตัวประกอบของ 18 และเรียก 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 วา ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 2. ครูใหนักเรียนทําใบงานที่1 หาจํานวนนับ โดยเรียกนักเรียนใหหาตัวประกอบ ทั้งหมดของจํานวน นับคนละหนึ่งขอ 3. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน คละความสามารถกัน และใหนักเรียนที่มีความสามารถระดับ เดียวกันอยูกลุมเดียวกัน ทํากิจกรรม ตะแกรงรอนจํานวนนับรวมกัน ซึ่งครูจะแจกใบงาน ที่กําหนดไวให นักเรียนแตละกลุม ดังนี้ ขอที่ 1 สําหรับนักเรียนคนที่ 1 ของทุกกลุม ขอที่ 2 สําหรับนักเรียนคนที่ 2 ของทุกกลุม ขอที่ 3 สําหรับนักเรียนคนที่ 3 ของทุกกลุม ขอที่ 4 สําหรับนักเรียนคนที่ 4 ของทุกกลุม นักเรียนทุกคนในกลุมจะตองสลับหนาที่กัน ดังนี้ คือ อานคําสั่ง เสนอวิธีคิด หาคําตอบ และตรวจทาน คําตอบ 4. นักเรียนแตละกลุมเลือกตัวแทนกลุม มานําเสนอผลงานกลุม รายงานหนาที่และความรับผิดชอบของ สมาชิกในกลุม สิ่งมีประโยชนที่ไดรับจากการทํางานเปนกลุมในครั้งนี้และสิ่งที่ตองปรับปรุง กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 3 เรื่อง การหาตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. จากกิจกรรม ใบงาน ครูใชการถาม-ตอบ ประกอบคําอธิบาย เพื่อใหนักเรียนฝกสังเกต สํารวจ คนหา แลวสรุปความสัมพันธ หรือลักษณะพิเศษขอ งจํานวนนับที่มีจํานวนตัวประกอบเทากัน (จํานวนที่อยูในชอง เดียวกัน) ดังนี้ 1.1. จํานวนนับในชองที่ 1 เปนจํานวนคี่ใชหรือไม เพราะเหตุใดใหยกตัวอยางสนับสนุนหรือ ตัวอยางคาน 1.2. จํานวนนับในชองที่ 1 เรียกวาจํานวนอะไร 1.3) จํานวนนับ เชน 4 = 2 × 2, 9 = 3 × 3 หรือ 25 = 5 × 5 และอื่นๆ จะเปนจํานวนที่เขียนใน รูปการคูณของตัวเองไดอยูในชองที่เทาไรบาง 1.4) นักเรียนคิดวา จํานวนนับ เชน 16 = 4 × 4 และ 81 = 9 × 9 เปนจํานวนนับที่มีลักษณะอยาง เดียวกันกับจํานวนนับในขอ 3 หรือไม เพราะเหตุใด จงอธิบาย 1.5) เมื่อจํานวนนับเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จํานวนนับในชองตางๆ จะเพิ่มขึ้นดวยหรือไม อยางไร จงอธิบาย หรือยกตัวอยางคัดคาน
  • 6. 6 1.6) นักเรียนสามารถบอกจํานวนที่ 2 และ 3 ในชองที่ 6 และ 9 ไดหรือไม ถาบอกไดจงอธิบายวิธีคิด หรือขอสังเกต 1.7) จงบอกจํานวนที่ 3 และ 4 ในชองที่ 4 พรอมบอกวิธีคิด ถานักเรียนสามารถหาคาได 1.8) จํานวนนับที่ 5 และ 6 ในชองที่ 3 เปนจํานวนใด จงบอกวิธีคิด 2. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 5 เรื่อง ตัวประกอบเฉพาะ ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูใหนักเรียนทบทวนการหาตัวประกอบของจํานวนนับใด ๆ เชน - ตัวประกอบของ 6 คือ 1, 2, 3, 6 - ตัวประกอบของ 10 คือ 1, 2, 5, 10 - ตัวประกอบของ 13 คือ 1, 13 2. ครูใหนักเรียนหาตัวประกอบของจํานวนตอไปนี้ เชน 2, 3, 5, 7, 13โดยสุมใหนักเรียนแสดงวิธีทํา บนกระดาน 3. ครูใหนักเรียนพิจารณาจํานวนตัวประกอบของจํานวนนับบนกระดาน แลวตั้งคําถามเชน - จํานวนนับบนกระดาน แตละจํานวนมีตัวประกอบเทาไร - ตัวประกอบของจํานวนนับแตละจํานวนมีความสัมพันธกับจํานวนนับนั้นอยางไร 4. ครูอธิบายวาจํานวนนับที่มีตัวประกอบ ในลักษณะบนกระดาน เรียกวา จํานวนเฉพาะ 5. ครูยกตัวอยาง ตัวประกอบของ 12 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 12 บนกระดาน แลวตั้งคําถามเชน - ตัวประกอบของ 12 จํานวนใดเปนจํานวนเฉพาะ 6. ครูอธิบายเพิ่มเติม เชน 2 และ 3 เรียกวาตัวประกอบเฉพาะของ 12 7. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปบทเรียน เรื่องตัวประกอบเฉพาะ 8. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 6 เรื่อง การแยกตัวประกอบเฉพาะ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูยกตัวอยางจํานวนที่เขียนอยูในรูปการคูณของจํานวนเฉพาะไดเชน 8 = 2x2x2
  • 7. 7 15 = 2x3x5 25 = 5x5 2. ครูอธิบายเพิ่มเติม วา การเขียนจํานวนนับใหอยูในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะเราเรียกวา การ แยกตัวประกอบของจํานวนนับ 3. ครูแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหแตละกลุมศึกษาวิธีการแยกตัวประกอบของจํานวนนับ - กลุมที่ 1 การแยกตัวประกอบโดยใชแผนภาพตนไม - กลุมที่ 2 การแยกประกอบโดยการเขียนใหอยูในรูปการคูณของตัวประกอบเฉพาะ - กลุมที่ 3 การแยกประกอบโดยใชวิธีการหารสั้น 4. แตละกลุมสงตัวแทน แสดงวิธีการแยกตัวประกอบของจํานวนนับบนกระดานตามหัวขอที่ไดรับ มอบหมาย นักเรียนกลุมอื่น ๆ ที่เหลือตั้งใจฟงและทําการซักถาม ครูใหคําแนะนําและอธิบายเพิ่มเติมจนนักเรียน เขาใจวิธีการแยกตัวประกอบทั้ง 3 วิธี 5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 7 เรื่อง การแยกตัวประกอบเฉพาะ (2) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ครูใหนักเรียนทบทวนการแยกตัวประกอบจากชั่วโมงที่ผานมา 2. ครูกําหนดจํานวน แลวใหนักเรียนเขียนใหอยูในรูปผลคูณของจํานวนเฉพาะ เชน 8, 12, 26, 45 3. ครูใหตัวอยางการแยกตัวประกอบทั้งการตั้งหารและแผนภูมิตนไมโดยใชการถาม-ตอบประกอบการ อธิบาย 4. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหและอภิปรายวาวิธีแยกตัวประกอบทั้งสองวิธีนี้ วิธีใดดีกวา กัน เพราะเหตุใด ครูสรุปประเด็นสําคัญที่ นักเรียนยังไมไดกลาวถึง 5. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปขั้นตอนการแยกตัวประกอบโดยใชวิธีการตางๆ 6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ
  • 8. 8 กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 8 เรื่อง การหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับตั้งแต 2 จํานวน ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ทบทวนการหาตัวประกอบของจํานวนนับ เชน ตัวประกอบของ 15 คือ 1, 3, 5, 15 ตัวประกอบของ 30 คือ 1, 2, 3, 5, 6, 10, 15, 30 2. กําหนดจํานวนนับสองจํานวน ใหนักเรียนชวยกันหาตัวประกอบ เชน ตัวประกอบของ 18 คือ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 ตัวประกอบของ 24 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24 3. แลวใหพิจารณาวามีจํานวนใดเปนตัวหารรวม หรือตัวประกอบรวมของ 18 และ 24 บาง ซึ่งจะ ไดวา ตัวหารรวมหรือตัวประกอบรวมของ 18 และ 24 คือ 1, 2, 3, 6 ตัวหารรวม หรือตัวประกอบรวมที่มากที่สุด คือ 6 จึงเรียก 6 วา ตัวหารรวมมาก (ห.ร.ม.) ของ 18 และ 24 4. ใหนักเรียนอภิปรายกันถึงวิธีในการหาตัวหารรวมมาก ของจํานวนนับตั้งแตสองจํานวน โดยครู ชวยสรุปและยกตัวอยางประกอบ ใหนักเรียนชวยกันหา ห.ร.ม. (1) การหา ห.ร.ม. โดยการพิจารณาตัวประกอบ เชน ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 16 และ 24 วิธีคิด เนื่องจากตัวประกอบของ 16 คือ 1, 2, 4, 8 และ 16 ตัวประกอบของ 24 คือ 1, 2, 3, 4, 6, 8, 12 และ 24 จะไดตัวประกอบรวมของ 16 และ 24 คือ 1, 2, 4 และ 8 ตัวประกอบรวมที่มากที่สุดของ 16 และ 24 คือ 8 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 16 และ 24 คือ 8 (2) การหา ห.ร.ม. โดยการแยกตัวประกอบ เชน ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 24 และ 30 วิธีทํา แยกตัวประกอบของ 24 และ 30 ไดดังนี้ 24 = 2 × 2× 2× 3 30 = 2 × 3 ×5 ตัวประกอบรวมของ 24 และ 30 คือ 2, 3 และ 2 × 3 ตัวประกอบรวมของ 24 และ 30 ที่มากที่สุดคือ 2 × 3 = 6 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 24 และ 30 คือ 6
  • 9. 9 (3) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการตั้งหาร เชน ตัวอยาง จงหา ห.ร.ม. ของ 18, 27 และ 36 วิธีทํา 3 ) 18 17 36 3 ) 6 9 12 2 3 4 ดังนั้น ห.ร.ม. ของ 18, 27, และ 36 คือ 3 × 3 = 9 5. ใหนักเรียนชวยกันสรุปขั้นตอน และขอสังเกตตางๆ ในการหา ห.ร.ม. แตละวิธี แลวกําหนด จํานวนนับ 2 หรือ 3 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ห.ร.ม. อีก 2 - 3 ตัวอยาง 6. แบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 4 - 5 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกไปรับใบงาน เรื่อง การหา ห .ร.ม. กลุมละ 5 ขอ ใหสมาชิกในกลุมอภิปรายรวมกัน แลวแสดงวิธีทํา โดยวิธีใดวิธีหนึ่งในแตละขอ แลวนําผลงานสงที่ครู 7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 9 เรื่อง การใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. แกโจทยปญหา (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ทบทวนการหา ห.ร.ม. 2. กําหนดโจทยปญหาที่ตองใชความรูเกี่ยวกับการหา ห .ร.ม. ใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหโจทยวา กําหนดอะไรใหบาง ใหหาอะไร จะหาคําตอบไดอยางไร แลวชวยกันแสดงวิธีทํา โดยครูเปนผูถามนําและเขียน แสดงวิธีทําบนกระดานดําไปตามลําดับจนเสร็จสมบูรณ 2 - 3 ขอ เชน ตัวอยางที่ 1 จงหาจํานวนที่มากที่สุดที่หาร 1,504 ไดลงตัว แตหาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 วิธีทํา จํานวนที่หาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 คือจํานวนที่หาร (1,697 - 1) หรือ 1,696 ไดลงตัว ดังนั้น จํานวนนับที่มากที่สุดที่หาร 1,504 ไดลงตัว แตหาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 ก็คือ ห.ร.ม. ของ 1,504 และ 1,696 หา ห.ร.ม. ของ 1,504 และ 1,696 ไดดังนี้ 2 ) 1,504 1,696 2 ) 752 848 2 ) 376 424 2 ) 188 212 2 ) 94 106 47 53 จะได ห.ร.ม. ของ 1,504 และ 1,696 คือ 2 × 2 × 2 × 2 × 2 = 32
  • 10. 10 ดังนั้น จํานวนที่มากที่สุดที่หาร 1,504 ไดลงตัว แตหาร 1,697 แลวเหลือเศษ 1 คือ 32 ตัวอยางที่ 2 กระดาษแข็งกวาง 63 เซนติเมตร ยาว 90 เซนติเมตร ตองการตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่ ใหญที่สุด ใหมีขนาดเทาๆ กัน โดยไมเหลือเศษเลย จะตองตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีดานยาวดานละ กี่เซนติเมตร และไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดดังกลาวกี่แผน วิธีทํา หา ห.ร.ม. ของ 63 และ 90 ดังนี้ 63 = 3 × 3 × 7 90 = 3 × 3 × 2 × 5 ห.ร.ม. ของ 63 และ 90 คือ 3 × 3 = 9 ดังนั้น จะตองตัดกระดาษแข็งเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีดานยาวดานละ 9 เซนติเมตร จึงจะไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีขนาดใหญที่สุดและกระดาษไมเหลือเลย ตัดกระดาษตามแนวกวางได 63 ÷ 9 = 7 สวนเทาๆ กัน ตัดกระดาษตามแนวยาวได 90 ÷ 9 = 10 สวนเทาๆ กัน ดังนั้น จะไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใหญที่สุดขนาด 9 × 9 ตารางเซนติเมตรจํานวนทั้งหมด 7 × 10 = 70 แผน ตัดกระดาษเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ที่มีดานยาว ดานละ ๙ เซนติเมตร ตอบ จึงจะไดกระดาษรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดใหญที่สุด จํานวน ๗๐ แผน 315 ตัวอยางที่ 3 จงทํา ใหเปนเศษสวนอยางต่ํา 1,875 วิธีทํา การทําเศษสวนใหเปนเศษสวนอยางต่ํา ตองหาจํานวนนับที่หารทั้งตัวเศษและตัวสวน ไดลงตัวมาหารทั้งตัวเศษและตัวสวน และจํานวนนับที่มากที่สุดที่หารทั้งตัวเศษ และตัวสวนไดลงตัวก็คือ ห.ร.ม. ของ 315 และ 1,875 หา ห.ร.ม. ของ 315 และ 1,875 3 ) 315 1,875 5 ) 105 625 21 125 ห.ร.ม. ของ 315 และ 1,875 คือ 3 × 5 = 15 315 315 ÷ 15 21 ดังนั้น เศษสวนอยางต่ําของ คือ = 1,875 1,875 ÷ 15 125
  • 11. 11 ๒๑ ตอบ ๑๒๕ 3. แบงนักเรียนออกเปนกลุม กลุมละ 3 - 4 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกไปรับใบงานเรื่อง ห.ร.ม. กลุมละ 1 ชุด (ใหวิเคราะหโจทยปญหาที่ใชความรูเกี่ยวกับ ห .ร.ม. พรอมทั้งแสดงวิธีทําและหาคําตอบ กลุมละ 1 - 2 ขอ) ครูกําหนดเวลาพอสมควร เสร็จแลวนําผลงานสงที่ครู 4. ครูเลือกโจทยปญหาที่นาสนใจ หรือที่เปนปญหาบางขอ ใหกลุมที่รับผิดชอบออกมาเสนอวิธีการ คิดและแสดงวิธีทํา ใหกลุมอื่นๆ รวมกันอภิปรายและตรวจสอบความถูกตอง 5. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 10 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการพิจารณาจากพหุคูณและโดยการแยกตัวประกอบ (1) ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ทบทวนเรื่องตัวประกอบ การแยกตัวประกอบ และการหา ห.ร.ม. 2. ใหนักเรียนหาจํานวนนับที่มี 2 เปนตัวประกอบซึ่งจะได 2, 4, 6, 8, 10, ... แลวแนะนําวา 2, 4, 6, 8, 10, ... เปนพหุคูณของ 2 แลวใหนักเรียนหาจํานวนที่เปนพหุคูณของ 3, 4, 5 แลวอภิปรายเพื่อชวยกันสรุปวา จํานวนนับที่หารดวยจํานวนนับที่กําหนดใหลงตัว เรียกวา พหุคูณของจํานวนนับที่กําหนดใหนั้น เชน 2, 4, 6, 8, 10, 12, 14, 16, 18, ... เปนพหุคูณของ 2 3, 6, 9, 12, 15, 18, 21, 24, 27 ... เปนพหุคูณของ 3 4, 8, 12, 16, 20, 24, 28, 32, ... เปนพหุคูณของ 4 3. แนะนําใหนักเรียนรูจักพหุคูณรวม โดยชวยกันพิจารณาพหุคูณของ 2 และ 3 วามี 6, 12, 18, ... เปน พหุคูณของทั้ง 2 และ 3 จึงเรียก 6, 12, 18, ... วาเปนพหุคูณรวมของ 2 และ 3 และพหุคณรวมที่นอยที่สุดของ 2 ู และ 3 เรียกวา ตัวคูณรวมนอย (ค.ร.น.) ดังนั้น ค.ร.น. ของ 2 และ 3 คือ 6 ใหนักเรียนชวยกันหาพหุคูณรวม และ ค.ร.น. ของ 3 กับ 4 และ 2 กับ 4 4. สอนการหา ค .ร.น. ของจํานวนนับโดยพิจารณาจากพหุคูณ โดยกําหนดจํานวนนับ 2 จํานวน ให นักเรียนหา ค.ร.น. 2 - 3 ขอ ตัวอยาง จงหา ค.ร.น. ของ 6 และ 15 โดยพิจารณาจากพหุคูณ วิธีทํา หาพหุคูณของ 6 และ 15 ดังนี้ พหุคูณของ 6 คือ 6, 12, 18, 24, 30, 36, 42, 48, 54, 60, ... พหุคูณของ 15 คือ 15, 30, 45, 60, ... พหุคูณรวมของ 6 และ 15 คือ 30, 60, ... พหุคูณรวมของ 6 และ 15 ที่มีคานอยที่สุดคือ 30 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6 และ 15 คือ 30 ตอบ ๓๐
  • 12. 12 5. สอนการหา ค.ร.น. ของจํานวนนับโดยการแยกตัวประกอบ ดังนี้ (1) ใหนักเรียนพิจารณาการหา ค .ร.น. ในขอ 4.4 วามีวิธีการหา ค .ร.น. ใหสะดวก รวดเร็วขึ้น อยางไร ชวยกันเสนอแนะ และแสดงวิธีทําบนกระดาน เชน หา ค .ร.น. ของ 6 และ 15 อาจใชวิธีการแยกตัว ประกอบดังนี้ 6 = 2 × 3 15 = 3 × 5 ค.ร.น. ของ 6 และ 15 ก็คือจํานวนนับที่นอยที่สุดที่มี 6 และ 15 เปนตัวประกอบ หรือ พหุคูณรวม ที่นอยที่สุดของ 6 และ 15 ดังนั้น ค.ร.น. ของ 6 และ 15 คือ 3 × 2 × 5 = 30 (2) กําหนดจํานวนนับ 2 หรือ 3 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ค .ร.น. โดยการแยกตัวประกอบ อีก 2 - 3 ขอ (3) ใหนักเรียนชวยกันสรุปวิธีการ และขอสังเกตตางๆ ในการหา ค.ร.น. ของจํานวนนับเปนขอๆ 6. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 11 เรื่อง การหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารและความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ทบทวนความหมายของ ค.ร.น. และการหา ค.ร.น. โดยการพิจารณาจากพหุคูณ และโดยการแยกตัว ประกอบ 2. สอนการหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารดังนี้ (1) ใหนักเรียนหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 โดยวิธีที่เคยเรียนมาแลว (2) แนะนําและแสดงขั้นตอนการหา ค.ร.น. โดยวิธีตั้งหารวา ใหหาตัวประกอบรวมเฉพาะของ จํานวนเหลานั้นทุกจํานวนหรือหาตัวประกอบรวมเฉพาะของจํานวนอยางนอยสองจํานวนมาหาร ถาหารจํานวน ใดไมลงตัว ใหเขียนจํานวนนั้นไวคงเดิม จนไมสามารถหาตัวประกอบรวมไดอีกแลว จึงนําตัวหารทุกตัวและ ผลหารขั้นสุดทายทุกตัวมาคูณกัน ผลคูณที่ไดคือ ค.ร.น. ของจํานวนเหลานั้น เชน 2 ) 18, 30, 36 3 ) 9, 15, 18 3 ) 3, 5, 6 1 5 2 ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 คือ 2 × 3 × 3 × 1 × 5 × 2 หรือ 2 × 3 × 3 × 5 × 2 หรือ 180
  • 13. 13 (3) ใหนักเรียนฝกหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารอีก 2 ขอ ดังนี้ ขอ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 24 และ 40 (ตอบ 120) ขอ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 28, 35 และ 42 (ตอบ 420) 3. ใหนักเรียนอภิปรายถึงการหา ค .ร.น. โดยการตั้งหาร แลวชวยกันสรุปขั้นตอนของการหา ค .ร.น. โดยวิธีการตั้งหาร 4. กําหนดจํานวนนับ 3 หรือ 4 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ค.ร.น. และตรวจสอบคําตอบอีก 1 ขอ 5. ใหนักเรียนชวยกันหาความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใดๆ โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมละ 4 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารับใบงาน เรื่องความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ใหสมาชิกกลุม แบงงานกันทําแลวบันทึกผล อภิปราย สรุ ป ความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน และทดสอบความสัมพันธที่ได แลวทํา แบบบันทึกผลสงที่ครูกลุมละ 1 ชุด 6. ครูนํานักเรียนอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง 7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ กิจกรรมการเรียนรูครั้งที่ 12 เรื่อง การแกปญหาโจทยโดยใชความรูเกี่ยวกับ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ( เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ) 1. ทบทวนความหมายของ ค.ร.น. และการหา ค.ร.น. โดยการพิจารณาจากพหุคูณ และโดยการแยกตัว ประกอบ 2. สอนการหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารดังนี้ (1) ใหนักเรียนหา ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 โดยวิธีที่เคยเรียนมาแลว (2) แนะนําและแสดงขั้นตอนการหา ค .ร.น. โดยวิธีตั้งหารวา ใหหาตัวประกอบรวมเฉพาะของ จํานวนเหลานั้นทุกจํานวนหรือหาตัวประกอบรวมเฉพาะของจํานวนอยางนอยสองจํานวนมาหาร ถาหารจํานวน ใดไมลงตัว ใหเขียนจํานวนนั้นไวคงเดิม จนไมสามารถหาตัวป ระกอบรวมไดอีกแลว จึงนําตัวหารทุกตัวและ ผลหารขั้นสุดทายทุกตัวมาคูณกัน ผลคูณที่ไดคือ ค.ร.น. ของจํานวนเหลานั้น เชน 2 ) 18, 30, 36 3 ) 9, 15, 18 3 ) 3, 5, 6 1 5 2 ค.ร.น. ของ 18, 30 และ 36 คือ 2 × 3 × 3 × 1 × 5 × 2 หรือ 2 × 3 × 3 × 5 × 2 หรือ 180 (3) ใหนักเรียนฝกหา ค.ร.น. โดยการตั้งหารอีก 2 ขอ ดังนี้ ขอ 1 จงหา ค.ร.น. ของ 24 และ 40 (ตอบ 120) ขอ 2 จงหา ค.ร.น. ของ 28, 35 และ 42 (ตอบ 420)
  • 14. 14 3. ใหนักเรียนอภิปรายถึงการหา ค .ร.น. โดยการตั้งหาร แลวชวยกันสรุปขั้นตอนของการหา ค .ร.น. โดยวิธีการตั้งหาร 4. กําหนดจํานวนนับ 3 หรือ 4 จํานวน ใหนักเรียนชวยกันหา ค.ร.น. และตรวจสอบคําตอบอีก 1 ขอ 5. ใหนักเรียนชวยกันหาความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวนใดๆ โดยแบงนักเรียนออกเปนกลุมละ 4 คน ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมารับใบงาน เรื่องความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค .ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ใหสมาชิกกลุม แบงงานกันทําแลวบันทึกผล อภิปราย สรุป ความสัมพันธระหวาง ห .ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน และทดสอบความสัมพันธที่ได แลวทํา แบบบันทึกผลสงที่ครูกลุมละ 1 ชุด 6. ครูนํานักเรียนอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง 7. ครูใหนักเรียนทําแบบฝกทักษะ 8. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน
  • 15. 15 6. สื่ออุปกรณและแหลงเรียนรู – แบบฝกเสริมทักษะ – บัตรภาพ – ของจริง – สถานการณ – ตัวอยางโจทยปญหา – แบบทดสอบกอน–หลังเรียน – หนังสือเรียน เอกสารความรู – อุปกรณในการวาดภาพ
  • 16. 16 7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู 7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด เปาหมายการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือวัด สาระสําคัญ 1. ทดสอบประเมินผลกอนเรียน 1. แบบทดสอบประเมินผลกอน จํานวนนับหรือ เรียน 2. ศึกษาตัวอยาง/แถบประโยค 2. แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุม จํานวนธรรมชาติใดที่ 3. แบบประเมินใบงาน หารจํานวนนับใด ๆ 3. ทําใบงาน /แบบฝกทักษะ 4. แบบผลงาน/ชิ้นงาน ไดลงตัว คือไดผลหาร 4. แตงประโยคและหาคําตอบ เปนจํานวนเต็มจะ เรียกจํานวนนับนั้นวา ตัวประกอบ ค 1.4 ม1/1 นํา 1. ตรวจใบงาน – แบบประเมินใบงาน/แบบ ความรูและสมบัติ 2. การอธิบายบทนิยามของคําวา ตัว ฝกทักษะ เกี่ยวกับจํานวนเต็มไป ประกอบของจํานวนนับใดๆ – แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงาน ใชในการแกปญหา 3. ตรวจแบบฝกทักษะ – แบบสังเกตพฤติกรรมความ 4. สังเกตการทํากิจกรรม ตะแกรงรอน สนใจรายบุคคล จํานวนนับรวมกัน – แบบประเมินการนําเสนอ 5. การนําเสนอผลงานกลุม ผลงาน 6. การหาตัวประกอบของจํานวน – แบบประเมินการปฏิบัติงาน ตอไปนี้ เชน 2, 3, 5, 7, 13โดยสุม กลุม 7. การอธิบายและยกตัวอยาง ตัว – แบบประเมินพฤติกรรมดาน ประกอบของ 12 การปฏิบัติตน 8. การศึกษาวิธีการแยกตัวประกอบของ – แบบทดสอบประเมินผล จํานวนนับ หลังเรียน 9. การศึกษาใหตัวอยางการแยกตัว ประกอบทั้งการตั้งหารและแผนภูมิ ตนไมโดยใชการถาม-ตอบประกอบ
  • 17. 17 เปาหมายการเรียนรู วิธีการวัด เครื่องมือวัด 10. การอภิปรายสรุปขั้นตอนการ แยกตัวประกอบโดยใชวิธีการตางๆ 11. การอภิปรายถึงการหา ค.ร.น. โดย การตั้งหาร 12. การหา ค.ร.น. และตรวจสอบ คําตอบ 13. การหาความสัมพันธระหวาง ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนนับสองจํานวน ใดๆ คุณลักษณะ ทํางานเปนระเบียบ 1. รายงานการสังเกต 1. แบบประเมินพฤติกรรม เรียบรอย รอบคอบ ดานการปฏิบัติตน และมีความเชื่อมั่นใน 2. สังเกตพฤติกรรมดานคุณธรรม 2. แบบประเมินพฤติกรรม ตนเอง พื้นฐาน ดานคุณธรรมพื้นฐาน
  • 18. 18 7.2 เกณฑการวัด 7.2.1 ขอสอบปรนัย เลือกคําตอบไดถูกขอละ 1 คะแนน 7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุม 1. การกําหนด / เปาหมายรวมกัน 2. การแบงหนาที่รับผิดชอบ 3. การปฏิบัติหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย 4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน 7.2.3 แบบประเมินการนําเสนอผลงาน 1. เนื้อหา 2. กลวิธีการนําเสนอ 3. ขั้นตอนการนําเสนอ 4. การใชภาษา 5. ตอบคําถาม/เวลา 7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด 1. ความคิดรวบยอด 2. ความคิดรอง 3. ความคิดยอย 4. การเชื่อมโยงความคิด 5. ความสวยงาม 7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 1. ความตั้งใจ 2. ความรวมมือ 3. ความมีวินัย 4. คุณภาพของผลงาน 5. การนําเสนอผลงาน 7.2.6 แบบประเมินใบงาน/แบบฝกทักษะ 1. การสรุปเปนองคความรู 2. เนื้อหาถูกตอง ครบถวน 3. การบันทึกขอมูล 4. การอภิปราย 5. การสนทนาซักถาม
  • 19. 19 7.2.7 แบบประเมินผลงาน/ชิ้นงาน 1. ความคิดสรางสรรค 2. ความประณีตสวยงาม 3 ความสะอาด 4 ความแข็งแรงคงทน 5. ทํางานเสร็จทันเวลา 7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะหโจทยปญหา 1. คําตอบเปนคําตอบในเชิงบวกได 1 คะแนน 2. คําตอบเปนคําตอบในเชิงลบได 0 คะแนน 7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมดานการปฏิบัติตน 1. ความกระตือรือรน 2. ความรวมมือ 3. ความรับผิดชอบ 4. การเคารพกติกา 5. ความกลาแสดงออก 7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมดานคุณธรรมพื้นฐาน 1. ความขยัน 2. ความประหยัด 3. ความซื่อสัตย 4. ความมีวินัย 5. ความสุภาพ 6. ความสะอาด 7. ความสามัคคี 8. ความมีน้ําใจ
  • 20. 20 7.3 เกณฑการผาน 7.3.1 เกณฑการผานรายบุคคล 7.3.1.1 นักเรียนไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ของคะแนนเต็ม 7.3.1.2 นักเรียนไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 2 ขึ้นไปจาก 3 ระดับคุณภาพของการ ประเมินหรือ ไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน 7.3.2 เกณฑการผานรายกลุม 7.3.2.1 จํานวนนักเรียนรอยละ 80 ไดคะแนนไมนอยกวารอยละ 60 ของคะแนนเต็ม 7.3.2.2 จํานวนนักเรียนรอยละ 80 ไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 2 ขึ้นไปจาก 3 ระดับ คุณภาพของการประเมินหรือ ไดระดับคุณภาพตั้งแตระดับ 3 ขึ้นไปจาก 5 ระดับคุณภาพของการประเมิน
  • 21. 21 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู 8..1 ผลการจัดการเรียนรู ( นักเรียนทั้งหมด 33 คน ) นักเรียนผานเกณฑการประเมินระดับดี........คน คิดเปนรอยละ........... นักเรียนผานเกณฑการประเมินระดับปานกลาง.......คน คิดเปนรอยละ................. นักเรียนไมผานเกณฑการประเมินระดับปรับปรุง ........คน คิดเปนรอยละ............. 8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหวางเรียน ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... 8.3 ปญหาและอุปสรรคระหวางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... 8.4 การปรับปรุงและพัฒนา ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………………………… (นางสาวประยูร วงศาสนธิ์ ) ครู คศ. 1
  • 22. 22 9. ความเห็นของผูบริหารโรงเรียน ..................………………………………………………………………………............................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................. ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ ( นายสมยศ เพ็ชรวงษา ) ผูอํานวยการโรงเรียนวัดพวงนิมิต