SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
บทที่ 2
การใหเหตุผล
( 8 ชั่วโมง )
การใหเหตุผลเปนสาระใหมของวิชาคณิตศาสตรในชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4 – 6) ซึ่ง
เปนเนื้อหาที่มีความสําคัญ เพราะการดําเนินชีวิตของคนเราตองขึ้นอยูกับเหตุผล ไมวาจะเปนความเชื่อ
การโตแยง การตัดสินใจ ตองใชเหตุผลประกอบทั้งสิ้น อีกทั้งยังเปนพื้นฐานที่สําคัญในการหาความรู
ของศาสตรตางๆ
สาระเรื่องการใหเหตุผลที่จะกลาวถึงในหนังสือเรียนประกอบดวยเรื่อง การใหเหตุผลแบบ
อุปนัย และการใหเหตุผลแบบนิรนัย โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังตอไปนี้
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. เขาใจและใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได
2. บอกไดวาการอางเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไมโดยใชแผนภาพแทนเซต
ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน
ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ
กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย
รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
29
ขอเสนอแนะ
1. การใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการใหเหตุผลเพื่อหาขอสรุป โดยการสังเกตหรือการทดลองหลายๆ
ครั้ง ผูสอนควรเริ่มสอนจากตัวอยางที่งาย ๆ กอน เพื่อที่จะใหผูเรียนเกิดความเขาใจในความหมาย
ของการใหเหตุผลแบบอุปนัย เชน
ใหผูเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้
1, 2, 4, 8, …
ผูสอนอาจถามผูเรียนวา พจนถัดไปของแบบรูปนี้คือจํานวนใด หรือสองพจนถัดไป
ของแบบรูปนี้คือจํานวนใด เมื่อผูเรียนตอบคําถามแลวผูสอนควรใหผูเรียนแสดงเหตุผลดวยวา
คําตอบที่ผูเรียนตอบนั้นไดมาอยางไร ถาผูเรียนใหเหตุผลวาเกิดจากสังเกตแบบรูปของขอมูลที่มีอยู
ผูสอนควรจะสรุปดวยวาการสังเกตของผูเรียนเพื่อหาคําตอบนั้นเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย
2. การเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบอุปนัย นอกจากผูสอนจะยกตัวอยางการใหเหตุผลที่เกี่ยวของ
กับวิชาคณิตศาสตรแลว ผูสอนควรยกตัวอยางการใหเหตุผลที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันและ
ใหผูเรียนฝกการยกตัวอยางดวย เพื่อผูเรียนจะไดเห็นถึงความสําคัญของเนื้อหาสาระ อีกทั้งไดฝก
ทักษะกระบวนการใหเหตุผลและมีความคิดริเริ่มสรางสรรค
3. หลังจากที่ผูสอนสอนเรื่องการใหเหตุผลแบบอุปนัยแลว ผูสอนควรสรุปใหผูเรียนมีความเขาใจวา
การสรุปผลจากการสังเกตเหตุการณหรือการทดลองหลาย ๆ ครั้ง ผลสรุปที่ไดอาจจะไมจริงเสมอ
ไป ซึ่งอาจขึ้นอยูกับ ลักษณะของขอมูล ความคิดหรือประสบการณเดิมของผูใหเหตุผล เชน
น้ําฝนสังเกตเห็นไขเปดที่คุณแมซื้อมาจากตลาดมีสีขาว แลวน้ําฝนสรุปวาไขเปดทุกฟองมีสีขาว
ซึ่งเปนผลสรุปที่ผิดเพราะมีไขเปดบางฟองมีสีเทาอมเขียว
4. ในการสอนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย ผูสอนควรสอนใหผูเรียนเขาใจวา การใหเหตุผล
แบบนิรนัยนั้นเราตองยอมรับวา เหตุ เปนจริงเสมอ ถึงแมวาเหตุนั้นจะขัดกับความเปนจริงทาง
โลก ก็ตาม เชน ขอความ “ คนทุกคนเปนลิง ” “ แมวทุกตัวลอยน้ําได ”
5. การเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย หลังจากแนะนําใหผูเรียนรูจักตัวอยางของการใหเหตุผล
แบบนิรนัยแลว กอนที่ผูสอนจะสอนเรื่อง การอางเหตุผล (สําหรับเรื่องการอางเหตุผลของ
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานนี้จะมีความแตกตางจากเรื่องการอางเหตุผลที่ผูสอนเคยสอนมาใน
30
รายวิชา ค011 (หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533)
โดยการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของขอความจะใชแผนภาพแทนเซตของเวนน – ออยเลอร
ตรวจสอบ) ผูสอนควรสอนใหผูเรียนฝกการเขียนแผนภาพแทนขอความ ซึ่งเปนไปตามรูปแบบที่
กําหนดไวในหนังสือเรียนจนเกิดความเขาใจ แลวจึงสอนวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล
ของขอความ เชน
ขอความ นักเรียนทุกคนเปนคนฉลาด
ให A แทนเซตของนักเรียน
B แทนเซตของคนฉลาด
เขียนแผนภาพแทนขอความ ไดดังนี้
ขอความ ปลาบางตัวบินได
ให M แทนเซตของปลา
N แทนเซตของสัตวที่บินได
เขียนแผนภาพแทนขอความ ไดดังนี้
6. การตรวจสอบผลสรุปของขอความที่สมเหตุสมผลนั้น จะตองตรวจสอบแผนภาพทุกแผนภาพที่
เปนไปไดทุกกรณี สวนขอความที่มีผลสรุปไมสมเหตุสมผล ไมจําเปนตองวาดแผนภาพทั้งหมด
ทุกกรณี เพียงยกตัวอยางกรณีที่ผลสรุปนั้นไมสอดคลองเพียงกรณีเดียวก็พอ
กิจกรรมเสนอแนะ
ผูสอนสามารถใชกิจกรรมนี้เสริมสรางทักษะการใหเหตุผลและการแกปญหา ซึ่งอาจใช
ประกอบการเรียนการสอนไดทั้งกอนหรือหลังการเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย
(1) (2) (3)
ฟ ลฟ ล ฟ ล
A
B
M N
31
1) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ฟ ฟ ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ล ล หรือ ฟ ล ก็ได
2) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ล ล ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ฟ ฟ หรือ ฟ ล ก็ได
3) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ฟ ล ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ฟ ฟ หรือ ล ล ก็ได
มีกลองอยู 3 ใบ แตละใบมีลูกบอลอยู 2 ลูก ซึ่งอาจเปนสีฟาทั้ง 2 ลูก หรือสีเหลือง
ทั้ง 2 ลูก หรือสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก
กลองแตละใบมีปายติดดังนี้
(1) ฟ ฟ หมายถึง มีลูกบอลสีฟาอยู 2 ลูก
(2) ล ล หมายถึง มีลูกบอลสีเหลืองอยู 2 ลูก
(3) ฟ ล หมายถึง มีลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก
แตไมมีกลองใดเลยที่ติดปายตรงกับความเปนจริง เปนไปไดหรือไมวา
วิธีการดําเนินกิจกรรม
ผูสอนใหผูเรียนทดลองหยิบลูกบอล 1 ลูก จากกลองใดก็ไดที่ผูสอนเตรียมไวใหแลวชวย
กันหาขอสรุปวา ลูกบอลที่อยูในกลองที่เหลือควรจะเปนสีใด เมื่อผูเรียนไดคําตอบแลวผูสอนจึงใหผู
เรียนออกมาแสดงเหตุผล จากนั้นผูสอนและผูเรียนจึงคอยสรุปที่มาของคําตอบอีกครั้ง หรือผูสอนใช
คําถามเพื่อแนะนําใหผูเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองดังนี้
1. ผูเรียนสามารถสรุปขอมูลใดไดบางจากสิ่งที่โจทยกําหนดให
คําตอบ เนื่องจากไมมีกลองใดที่ติดปายตรงกับความเปนจริง สรุปไดวา
ถาหยิบลูกบอลจากกลองใดก็ไดมา 1 ลูก แลวสามารถบอกไดวา ที่ถูกตองแลวกลองใด
ควรจะมีลูกบอลสีอะไร และจะตองหยิบลูกบอลจากกลองใดจึงจะไดคําตอบที่ถูกตอง
เมื่อทราบคําตอบแลว ใหติดปายที่ถูกตองดวย
(1) (2) (3)
ฟ ลฟ ล ฟ ล
32
ฟ ล ฟ ฟ
ล ล ฟ ล
2. ถาหยิบลูกบอลจากกลองที่ (1) หรือ (2) จะบอกไดหรือไมวา ลูกบอลอีกลูกในกลอง
ควรเปนสีใด (ใหผูเรียนแสดงเหตุผล)
3. ถาใหผูเรียนหยิบลูกบอลจากกลองที่ (3) ซึ่งมีปาย ฟ ล ติดไว
ถาผูเรียนหยิบไดลูกบอลสีฟา ฟ ความจริงแลวกลองนี้จะตองมีลูกบอลสีใด
คําตอบ จากคําตอบของขอที่ 1. จะไดวากลองนี้ควรจะมีลูกบอลสีฟา 2 ลูก
หยิบไดลูกบอลสีฟา
ปายผิด ปายที่ถูกตอง
4. เมื่อหาไดแลววา กลองที่มีปาย ฟ ล ที่ถูกตอง จะตองเปน ฟ ฟ อีก 2 กลองที่เหลือ
ควรจะมีลูกบอลสีใดบาง
(1) (2)
คําตอบ กลองที่เหลือในภาพขางบนจะตองเปนกลองที่มี
(1) ลูกบอลสีเหลือง 2 ลูก ล ล
และ (2) ลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก ฟ ล
จากขอสรุปขอที่ 1. กลองที่มีปาย ล ล จะตองไมใชกลองที่มีลูกบอลสีเหลือง
2 ลูก เพราะปายที่ติดไวผิด
ดังนั้น ที่ถูกตองแลว กลองที่ติดปาย ล ล จะตองมีลูกบอลสีฟา 1 ลูก
และสีเหลือง 1 ลูก
ปายผิด ปายที่ถูกตอง
ฟ ฟ ล ล
33
ฟ ฟ ล ล
จากขอสรุปขางตนและขอสรุปขอที่ 1. จะไดกลองที่เหลือที่มีปาย ฟ ฟ จะตองมีลูกบอลสี
เหลือง 2 ลูก
ปายผิด ปายที่ถูกตอง
สรุปผลดังนี้
5. ครูใหผูเรียนชวยกันสรุปคําตอบในกรณีที่ผูเรียนหยิบไดลูกบอลสีเหลืองจากกลองที่มีปาย
ฟ ล และใหหาวากลองที่เหลือจะตองมีลูกบอลสีอะไรบาง และติดปายใหมใหถูกตอง
แบบทดสอบประจําบท
แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล
ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง การใหเหตุผล ผูสอนสามารถเลือกและปรับ
แบบทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียนได
ฟ
ฟ ฟ ล ฟ ล ล
ลฟ ฟ ฟลล
34
ตัวอยางแบบทดสอบ
1. จงใชวิธีการใหเหตุผลเพื่อหาคําตอบตอไปนี้
1) จงเขียนคําตอบในชองวาง พรอมทั้งอธิบายเหตุผลที่ใชในการหาคําตอบและพิจารณาวา
เปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย
11 × 11 = 121
11 × 12 = 132
11 × 13 = 143
11 × 14 = ___
11 × 15 = ___
11 × 16 = ___
11 × 17 = ___
11 × 18 = ___
2) จงหาวาจํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยูในแถวที่ 5 ถึงแถวที่ 10 มีจํานวนเทาไร พรอมทั้งอธิบาย
เหตุผลที่ใชในการหาคําตอบและพิจารณาวาเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย
2. จงหาจํานวน c จากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให โดยใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย
1) -5, 5, -5, 5, c
2) 4, 2, 0, -2, c
3) 6, 12, 18, 24, c
4) 64, 32, 16, 8, c
5) -17, -12, -7, -2, c
3. ถาจํานวนเต็มที่เปนจํานวนคี่ หมายถึง จํานวนที่หารดวย 2 ไมลงตัว
ทานใชเหตุผลแบบใดในการหาขอสรุปวา 11 เปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่
แถวที่ (1) มี 1 รูป
แถวที่ (2) มี 3 รูป
แถวที่ (3) มี......รูป
แถวที่ (5) มี......รูป
แถวที่ (4) มี......รูป
35
4. จงยกตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยมาอยางละ 1 ตัวอยาง ตามที่ทานเขาใจ
5. จงยกตัวอยางเหตุการณในชีวิตประจําวัน ที่ทําใหทานหรือคนในครอบครัว หรือคนรูจักเคยใช
การใหเหตุผลแบบอุปนัย หรือ นิรนัยมาชวยในการหาขอสรุปเพื่อชวยในการตัดสินใจ
6. เหตุ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา
2. งูไมมีขา
ขอสรุป งูเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
จงหาวาขอสรุปขางตนสมเหตุสมผลหรือไม โดยใชแผนภาพแทนเซต
7. จงตรวจสอบวาผลสรุปตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม โดยใชแผนภาพ
1) เหตุ 1. คนที่ชอบดูภาพยนตรทุกคนไมชอบดูการแขงขันกีฬา
2. อภิรดีชอบดูภาพยนตร
ผล อภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา
2) เหตุ 1. คนที่คาขายทุกคนเปนคนขยัน
2. คนที่ขยันเปนคนรวย
ผล คนที่คาขายเปนคนรวย
8. สมมติวา ทานพบวา เพื่อนของทานทุกคนที่ตั้งใจเรียนจะไมคุยระหวางเรียน สุภิตา เปนเพื่อน
ในชั้นเรียนของทานที่ไมคุยระหวางเรียน ทานจะสรุปไดหรือไมวาสุภิตาเปนคนตั้งใจเรียน
จงอธิบายวิธีการหาขอสรุปโดยใชแผนภาพแทนเซต
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
1. 1) โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย จะได
11 × 11 = 121 เหตุผล จากผลลัพธของการคูณของสามสมการ
11 × 12 = 132 แรก เลขโดดในหลักหนวยของผลลัพธคือเลขโดด
11 × 13 = 143 ในหลักหนวยของตัวคูณ เลขโดดในหลักสิบ
11 × 14 = 154 ของผลลัพธจะมากกวาเลขโดดในหลักหนวยอยู 1
11 × 15 = 165 และเลขโดดในหลักรอยคือ 1
11 × 16 = 176
11 × 17 = 187
11 × 18 = 198
36
2)
เหตุผล
แถวที่ 1 มีรูปสามเหลี่ยม 1 รูป
แถวที่ 2 มีรูปสามเหลี่ยม 3 รูป
แถวที่ 3 มีรูปสามเหลี่ยม 5 รูป
แถวที่ 4 มีรูปสามเหลี่ยม 7 รูป
ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยูในแถวที่ 5 จะตองมากกวาจํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยู
ในแถวที่ 4 อยู 2 ซึ่งเทากับ 7 + 2 หรือ 9 รูป
สรุปวา แถวที่ 5 จะตองมีรูปสามเหลี่ยม 9 รูป
แถวที่ 6, 7, 8, 9 และ 10 จะมีรูปสามเหลี่ยม 11, 13, 15, 17 และ 19 รูป ตามลําดับ
2. โดยการใหเหตุผลแบบอุปนัย จะได
แบบรูป เหตุผลแบบอุปนัย
1) -5, 5, -5, 5, -5
2) 4, 2, 0, -2, - 4
3) 6, 12, 18, 24, 30
4) 64, 32, 16, 8, 4
5) -17, -12, -7, -2, 3
พิจารณาจากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให พบวา
จํานวนที่อยูในลําดับที่ 1, 3 จะเทากับ -5
ดังนั้น c อยูในลําดับที่ 5 จึงควรมีคาเทากับ -5
จํานวนแตละจํานวนไดจากจํานวนที่อยูขางหนาลบดวย 2
ดังนั้น c = –2 –2 หรือ - 4
จํานวนแตละจํานวนไดจากจํานวนที่อยูขางหนาบวกดวย 6
ดังนั้น c = 24 + 6 = 30
จํานวนแตละจํานวนไดจากการนําจํานวนที่อยูขางหนามาหารดวย 2
ดังนั้น c = 8 ÷ 2 หรือ 4
จํานวนแตละจํานวนไดจากการนําจํานวนที่อยูขางหนาบวกดวย 5
ดังนั้น c = –2 + 5 = 3
หมายเหตุ การใหเหตุผลอาจแตกตางจากตัวอยางของคําตอบขางตนได
แถวที่ (1)มี 1 รูป
แถวที่ (2)มี 3 รูป
แถวที่ (3)มี 5 รูป
แถวที่ (4)มี 7 รูป
แถวที่ (5) มี 9 รูป
เพิ่ม 2 รูป
เพิ่ม 2 รูป
เพิ่ม 2 รูป
37
3. ถาจํานวนเต็มที่เปนจํานวนคี่ หมายถึง จํานวนที่หารดวย 2 ไมลงตัว
เนื่องจาก 11 ÷ 2 ไดผลลัพธเทากับ 5 เศษ 1
ดังนั้น 11 หารดวย 2 ไมลงตัว สรุปไดวา 11 เปนจํานวนคี่
การสรุปวา 11 เปนจํานวนคี่เปนการสรุปโดยอางอิงสิ่งที่ยอมรับวาเปนจริง
ดังนั้น การสรุปขางตนจึงเปนการสรุปโดยใชเหตุผลแบบนิรนัย
4. ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย
41
– 1 = 3 หรือ 3 × 1
42
– 1 = 15 หรือ 3 × 5
43
– 1 = 63 หรือ 3 × 21
44
– 1 = 255 หรือ 3 × 75
45
– 1 = 1023 หรือ 3 × 341
จะเห็นวา จํานวนที่อยูทางดานขวาของเครื่องหมาย = จะมี 3 เปนตัวประกอบทุกจํานวน
จากตัวอยางขางตน ใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยสรุปไดวา จํานวนที่มีคาเทากับ 46
– 1
จะมี 3 เปนตัวประกอบ นั่นคือ 46
– 1 = 4,095 หรือ 3 × 1,365
ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย
เหตุ 1. คนทุกคนตองการมีเพื่อน
2. อั้มเปนคน
ผล อั้มตองการมีเพื่อน
5. ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย
เพื่อนบานที่เคยเปนโรคเกี่ยวกับกระดูกหลายคนไปพบแพทยที่รักษาโรคกระดูกที่โรงพยาบาล
แหงหนึ่งแลว ทุกคนบอกวาหมอรักษาไดผลดี ฉันจึงตัดสินใจพาคุณยายซึ่งเปนโรคเกี่ยวกับกระดูก
ไปพบแพทยที่รักษาโรคกระดูกที่โรงพยาบาลแหงนั้น
ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย
ขณะนี้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําสําหรับเงินตนไมเกิน 500,000 บาท เทากับ 2.75% ตอป
ถาฉันนําเงิน 1 แสนบาทไปฝากในบัญชีฝากประจํา จะไดรับดอกเบี้ย 2,750 บาท เมื่อฝากครบ 1 ป
(ถาธนาคารไมเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย)
38
6. เหตุ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา
2. งูไมมีขา
ขอสรุป งูเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
ให A แทนเซตของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
B แทนเซตของสัตวไมมีขา
c แทนงู
แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2
จากแผนภาพที่ 1 สรุปไดวา งูเปนสัตวไมมีขาที่ไมเลี้ยงลูกดวยนม
จากแผนภาพที่ 2 สรุปไดวา งูเปนสัตวไมมีขาที่เลี้ยงลูกดวยนม
แผนภาพที่ 1 ขัดแยงกับขอสรุป ดังนั้น ขอสรุปขางตนจึงไมสมเหตุสมผล
7. 1) เหตุ 1. คนที่ชอบดูภาพยนตรทุกคนไมชอบดูการแขงขันกีฬา
2. อภิรดีชอบดูภาพยนตร
ผล อภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา
ให A แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตร
B แทนเซตของคนที่ชอบดูการแขงขันกีฬา
c แทนอภิรดี
จากแผนภาพ พบวา ขอสรุปที่วาอภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา สมเหตุสมผล
2) เหตุ 1. คนที่คาขายทุกคนเปนคนขยัน
2. คนที่ขยันเปนคนรวย
ผล คนที่คาขายเปนคนรวย
ให M แทนเซตของคนที่คาขาย
A แทนเซตของคนที่ขยัน
R แทนเซตของคนที่รวย
จากแผนภาพ พบวา ขอสรุปที่วาคนที่คาขายเปนคนรวย สมเหตุสมผล
A B
c•
A B
c•
A B
• c
M
A
R
39
8. ถาเพื่อนทุกคนที่ตั้งใจเรียนจะไมคุยระหวางเรียน สุภิตาไมคุยระหวางเรียน
ให A แทนเซตของคนที่ตั้งใจเรียน
B แทนเซตของคนที่ไมคุยระหวางเรียน
c แทนสุภิตา
แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2
จากแผนภาพที่ 1 สรุปไดวา สุภิตาไมคุยระหวางเรียน และสุภิตาตั้งใจเรียน
จากแผนภาพที่ 2 สรุปไดวา สุภิตาไมคุยระหวางเรียน แตสุภิตาไมตั้งใจเรียน
เนื่องจาก แผนภาพทั้งสองขัดแยงกัน จึงไมสามารถสรุปวา สุภิตาเปนคนที่ตั้งใจเรียน
เฉลยแบบฝกหัด
แบบฝกหัด 2.1
1. การใหเหตุผลในคําตอบที่ไดแสดงไวเปนเพียงตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัยในการ
หาคา a อาจมีเหตุผลอื่นนอกเหนือจากที่ไดแสดงไวไดอีก
1) 12, 22, 32, 42, a
จากจํานวนแรกคือ 12 = (1 × 10) + 2
22 = (2 × 10) + 2
32 = (3 × 10) + 2
42 = (4 × 10) + 2
จะได a = (5 × 10) + 2 หรือ 52
2) 12, 10, 8, 6, a
จากจํานวนแรกคือ 12 = 6 × 2
10 = 5 × 2
8 = 4 × 2
6 = 3 × 2
จะได a = 2 × 2 หรือ 4
A
B
c•
A
B
c•
40
3) 5, 3, 1, -1, -3, a
จากจํานวนแรกคือ 5 = 7 – 2
3 = 5 – 2
1 = 3 – 2
-1 = 1 – 2
-3 = –1 – 2
จะได a = –3 – 2 หรือ -5
4) 1, -1, 1, -1, 1, a
เหตุผล พิจารณาแบบรูปที่กําหนดใหพบวา จํานวนในลําดับที่เปนจํานวนคี่ คือ 1
และจํานวนในลําดับที่เปนจํานวนคู คือ -1
เนื่องจาก a อยูในลําดับที่ 6 ซึ่งเปนจํานวนคู ดังนั้น a ควรเทากับ -1
5) 1, 4, 9, 16, 25, a
จากจํานวนแรกคือ 1 = 12
4 = 22
9 = 32
16 = 42
25 = 52
จะได a = 62
หรือ 36
6) -15, -5, 5, 15, a
จากจํานวนแรกคือ -15
-5 = -15 + 10
5 = -5 + 10
15 = 5 + 10
จะได a = 15 + 10 หรือ 25
7) 1, -1, -3, -5, a
จากจํานวนแรกคือ 1
-1 = 1 – 2
-3 = –1 – 2
-5 = –3 – 2
จะได a = –5 – 2 หรือ -7
41
8) -5, -3, -1, 1, a
จากจํานวนแรกคือ -5
-3 = –5 + 2
-1 = –3 + 2
1 = –1 + 2
จะได a = 1 + 2หรือ 3
9) 1, 6, 11, 16, a
จากจํานวนแรกคือ 1
6 = 1 + 5
11 = 6 + 5
16 = 11 + 5
จะได a = 16 + 5หรือ 21
10) 8, 14, 20, 26, a
จากจํานวนแรกคือ 8
14 = 8 + 6
20 = 14 + 6
26 = 20 + 6
จะได a = 26 + 6หรือ 32
2. พิจารณาผลคูณที่กําหนดใหตอไปนี้
1 × 9 = 9 6 × 9 = 54 11 × 9 = 99
2 × 9 = 18 7 × 9 = 63 12 × 9 = 108
3 × 9 = 27 8 × 9 = 72 13 × 9 = 117
4 × 9 = 36 9 × 9 = 81 14 × 9 = 126
5 × 9 = 45 10 × 9 = 90 15 × 9 = 135
จากผลคูณที่ไดพบวา เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณที่ไดมาบวกกัน
ผลบวกที่ไดจะหารลงตัวดวย 9 เสมอ เชน 15 × 9 = 135
เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณมาบวกกัน
จะได 1 + 3 + 5 = 9 ซึ่งหารดวย 9 ลงตัว
โดยใชเหตุผลแบบอุปนัยจะสรุปไดวา เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณ
ของจํานวนเต็มบวกใด ๆ กับ 9 มาบวกกัน ผลบวกที่ไดจะหารลงตัวดวย 9 เสมอ
42
3. 1) พิจารณาผลคูณของจํานวนที่มี 142,857 ตอไปนี้
142,857 × 1 = 142,857
142,857 × 2 = 285,714
142,857 × 3 = 428,571
142,857 × 4 = 571,428
จากการสังเกตจํานวนที่เปนผลคูณพบวา ผลคูณที่ไดประกอบดวยเลขโดด 1, 4, 2, 8, 5
และ 7 เสมอ
2) โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย ผลคูณของ 142,857 × 5 และ 142,857 × 6 ควรจะประกอบ
ดวยตัวเลขโดดชุดเดียวกับตัวคูณ 142,857 เมื่อหาผลคูณขางตนพบวา 142,857 × 5 = 714,285
และ 142,857 × 6 = 857,142
3) เนื่องจาก 142,857 × 7 พบวา 7 × 7 = 49 ซึ่งทําใหผลคูณมีจํานวนที่อยูในหลักหนวย
แทนดวยเลข 9 ซึ่ง 9 ไมอยูในชุดตัวเลข 142857
142,857 × 8 พบวา 7 × 8 = 56 ซึ่งทําใหผลคูณมีจํานวนที่อยูในหลักหนวยแทนดวย
เลข 6 ซึ่ง 6 ไมอยูในชุดตัวเลข 142857
ดังนั้น คําตอบที่ไดจากการคูณ 142,857 ดวย 7 หรือ 8 โดยใชขอสรุปขางตนไมเปนจริง
หมายเหตุ 142,857 × 7 = 999,999
และ 142,857 × 8 = 1,142,856
4. พิจารณาผลคูณตอไปนี้
1) 37 × 3 = 11
37 × 6 = 22
37 × 9 = 33
37 × 12 = 44
จากผลคูณในแบบรูปขางตนพบวา
37 × 3 × 1 = 111
37 × 3 × 2 = 222
37 × 3 × 3 = 333
37 × 3 × 4 = 444
43
2) จากแบบรูปขางตน และใชเหตุผลแบบอุปนัย จะไดวา
37 × 3 × 5 = 555
37 × 3 × 6 = 666
37 × 3 × 7 = 777
37 × 3 × 8 = 888
37 × 3 × 9 = 999
5. 1) 9 × 9 + 7 = 88
98 × 9 + 6 = 888
987 × 9 + 5 = 8,888
9,876 × 9 + 4 = 88,888
2) 34 × 34 = 1,156
334 × 334 = 111,556
3,334 × 3,334 = 11,115,556
3) 2 = 4 – 2
2 + 4 = 8 – 2
2 + 4 + 8 = 16 – 2
2 + 4 + 8 + 16 = 32 – 2
4) 3 =
2
)2(3
3 + 6 =
2
)3(6
3 + 6 + 9 =
2
)4(9
3 + 6 + 9 + 12 =
2
)5(12
98,765 × 9 + 3 = 888,888
33,334 × 33,334=1,111,155,556
2 + 4 + 8 + 16 + 32 = 64 –2
3 + 6 + 9 + 12 + 15 = 2
)6(15
44
5) 5(6) = 6(6 – 1)
5(6) + 5(36) = 6(36 – 1)
5(6) + 5(36) + 5(216) = 6(216 – 1)
หรือ 5(6) + 5(6 × 6) + 5(6 × 6 × 6) + 5(6 × 6 × 6 × 6) = 6(6 × 6 × 6 × 6 – 1)
6. 1) 1 + 2 + 3 + … + 148 + 149 + 150 มีจํานวน 151 ทั้งหมด 75 จํานวน
151
151
151
จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 150 = 151 × 75 หรือ 11,325
2) 1 + 2 + 3 + … + 298 + 299 + 300 มีจํานวน 301 ทั้งหมด 150 จํานวน
301
301
301
จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 300 = 301 × 150 หรือ 45,150
3) 1 + 2 + 3 + … + 498 + 499 + 500 มีจํานวน 501 ทั้งหมด 250 จํานวน
501
501
501
จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 500 = 501 × 250 = 125,250
4) 1 + 2 + 3 + … + 998 + 999 + 1,000 มีจํานวน 1,001 ทั้งหมด 500 จํานวน
1,001
1,001
1,001
จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 1,000 = 1,001 × 500 = 500,500
5(6) + 5(36) + 5(216) + 5(216 × 6) = 6(1,296 – 1)
45
7. 1) 2 + 4 + 6 + … + 96 + 98 + 100 มีจํานวน 102 ทั้งหมด 25 จํานวน
102
102
102
จะไดวา 2 + 4 + 6 + … + 1,000 = 102 × 25 หรือ 2,550
2) 1 + 2 + 3 + … + 122 + 123 + 124 + 125 มีจํานวน 125 ทั้งหมด 62 จํานวน
125
125
125
จะไดวา 1 + 2 + 3 + ... + 125 = (125 × 62) + 125 หรือ 7,875
3) 1 + 2 + 3 + ... + (n – 1) + n เมื่อ n เปนจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่ จะเทากับ
[(n – 1) + 1] บวกกัน
2
1n −
จํานวน แลวบวกกับ n
1 + 2 + 3 + ... + n = [(n – 1) + 1] ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
2
1n
+ n
= ⎟
⎠
⎞
⎜
⎝
⎛ −
2
1n
n + n
8.
1 3 6 10 15 21
จากจํานวนสามเหลี่ยมที่กําหนดให จะหาจํานวนสามเหลี่ยมถัดไปอีกสองจํานวนไดดังนี้
1) จํานวนสามเหลี่ยมที่อยูถัดจาก 21 อีก 2 จํานวน ไดแก จํานวน 28 และ 36 ซึ่งแสดง
ดวยภาพไดดังนี้
28 36
46
2) จํานวนจุดในแตละแถวตามแนวนอนจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 จุด จากรูปที่อยูกอนเปน 2, 3, 4, 5,
6, 7, 8 หรือแถวที่ n จะมีจํานวน n จุดเมื่อ n เปนจํานวนนับ
3) พิจารณาวา 72 เปนจํานวนสามเหลี่ยมหรือไม ไดดังนี้
พิจารณาจากจํานวนแรกคือ 1 จะพบความสัมพันธของจํานวนดังนี้
3 = 1 + 2
6 = 3 + 3
10 = 6 + 4
15 = 10 + 5
21 = 15 + 6
28 = 21 + 7
36 = 28 + 8
45 = 36 + 9
55 = 45 + 10
66 = 55 + 11
78 = 66 + 12
จากการหาผลบวกขางตน พบวา 72 ไมใชจํานวนสามเหลี่ยม
9. 1) ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ จะหารดวย 2 ลงตัวเสมอ ไมเปนจริง เพราะ
1 และ 11 เปนจํานวนนับ
1 × 11 = 11
แต 11 หารดวย 2 ไมลงตัว
2) จํานวนนับใด ๆ ที่มีคามากกวา 4 จะเขียนไดในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไป
สองจํานวน หรือมากกวาสองจํานวน ไมเปนจริง เพราะ
8 เปนจํานวนนับ และ 8 มีคามากกวา 4
แต 8 ไมสามารถเขียนในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไปไดโดยพิจารณาจากผลบวก
ของจํานวนตอไปนี้
พิจารณาผลบวกของจํานวนถัดไปที่มีคาเทากับ 9 และ 10 มีดังนี้
1 + 2 + 3 + 4 = 10
2 + 3 + 4 = 9 และ 4 + 5 = 9
แตผลบวกของจํานวนนับที่มีคาเทากับ 8 มีดังนี้
47
8 = 4 + 4
= 3 + 5
= 2 + 6
= 1 + 7
3) กําลังสองของจํานวนนับใด ๆ จะเปนจํานวนคูเสมอ
ไมเปนจริง เพราะ
1 เปนจํานวนนับ และ 12
= 1
แต 1 ไมเปนจํานวนคู
10.
1)
2)
แบบฝกหัด 2.2
1. เหตุ 1) กบทุกตัววายน้ําได
2) สัตวที่วายน้ําได จะบินได
ผล กบทุกตัวบินได
ให A แทน เซตของกบทุกตัว
B แทน เซตของสัตวที่วายน้ําได
C แทน เซตของสัตวที่บินได
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา กบทุกตัวบินได สมเหตุสมผล
(1)
(2)
(3)
(4)
(1) (2)
(3)
(4)
AC B
48
2. เหตุ 1) จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนเต็ม
2) จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนจริง
ผล จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนจริง
ให A แทน เซตของจํานวนนับ
B แทน เซตของจํานวนเต็ม
C แทน เซตของจํานวนจริง
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนจริง สมเหตุสมผล
3. เหตุ 1) คนที่มีสุขภาพดีทุกคนเปนคนที่มีความสุข
2) ก มีความสุข
ผล ก มีสุขภาพดี
ให A แทนเซตของคนมีสุขภาพดี
B แทนเซตของคนมีความสุข
c แทน ก
(1) (2)
จากแผนภาพ (1) ก เปนคนมีความสุข แต ก สุขภาพไมดี
จากแผนภาพ (2) ก เปนคนมีความสุข และ ก มีสุขภาพดี
แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา ก มีความสุข แลว ก มีสุขภาพดี จึงไมสมเหตุสมผล
4. เหตุ 1) จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว ทุกจํานวนเปนจํานวนคู
2) 7 หารดวย 2 ลงตัว
ผล 7 เปนจํานวนคู
ให A แทนเซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว
B แทนเซตของจํานวนคู
c แทน 7
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา 7 เปนจํานวนคู สมเหตุสมผล
A
CB
A
c•
B
A
c B
•
A
c•
B
49
5. เหตุ 1) สุนัขบางตัวมีขนยาว
2) มอมเปนสุนัขของฉัน
ผล มอมเปนสุนัขที่มีขนยาว
ให A แทนเซตของสุนัขA
B แทนเซตของสิ่งที่มีขนยาว
c แทนมอมc
B
•
(1)
จากแผนภาพ (1) พบวา มอมเปนสุนัข แตขนไมยาว
จากแผนภาพ (2) พบวา มอมเปนสุนัขขนยาว
แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
A
c•
B
(2) ดังนั้น ผลสรุปที่วา มอมเปนสุนัขที่มีขนยาว ไมสมเหตุสมผล
6. เหตุ 1) มาทุกตัวมี 4 ขา
2) ไมมีสัตวที่มีสี่ขาตัวใดที่บินได
ผล ไมมีมาตัวใดบินได
ให A แทนเซตของมา
B แทนเซตของสัตวที่มี 4 ขา
C แทนเซตของสัตวที่บินได
A
CB
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา ไมมีมาตัวใดบินได สมเหตุสมผล
7. เหตุ 1) ไมมีจํานวนเฉพาะตัวใดหารดวย 2 ลงตัว
2) 21 หารดวย 2 ไมลงตัว
ผล 21 เปนจํานวนเฉพาะ
ให A แทนเซตของจํานวนเฉพาะ
B แทนเซตของจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัว
c แทน 21
(1) จากแผนภาพ (1) จะเห็นวา 21 ไมเปนจํานวนเฉพาะ
A
• c
B
จากแผนภาพ (2) จะเห็นวา 21 เปนจํานวนเฉพาะ
แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา 21 เปนจํานวนเฉพาะไมสมเหตุสมผล
A
c•
B
(2)
50
8. เหตุ 1) วันที่มีฝนตกทั้งวัน จะมีทองฟามืดครึ้มทุกวัน
2) วันนี้ทองฟามืดครึ้ม
ผล วันนี้มีฝนตกทั้งวัน
ให A แทนเซตของวันที่มีฝนตกทั้งวัน
B แทนเซตของวันที่มีทองฟามืดครึ้ม
A
c•
B
(1) (2) c แทนวันนี้
A
c• B
จากแผนภาพ (1) พบวา วันนี้เปนวันที่ทองฟามืดครึ้ม แตฝนไมไดตกทั้งวัน
จากแผนภาพ (2) พบวา วันนี้ฝนตกทั้งวัน และทองฟามืดครึ้ม
แผนภาพ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา วันนี้ฝนตกทั้งวัน ไมสมเหตุสมผล
9. เหตุ 1) แมวบางตัวมีสองขา
2) นกทุกตัวมีสองขา
ผล นกบางตัวเปนแมว
ให A แทนเซตของแมว
B แทนเซตของสัตวที่มีสองขา
C แทนเซตของนก
(1) (2) (3)
A
C
BA
C
B A
C
B
จากแผนภาพ (1) พบวา นกทุกตัวเปนแมว
จากแผนภาพ (2) พบวา นกบางตัวเปนแมว
จากแผนภาพ (3) พบวา นกทุกตัวไมเปนแมว
แผนภาพที่ (3) ไมสอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา นกบางตัวเปนแมว ไมสมเหตุสมผล
10. เหตุ 1) ชายไทยทุกคนตองรับการเกณฑทหาร เมื่ออายุครบ 21 ปบริบูรณ
2) มานะเปนชายไทย
ผล มานะจะตองเขารับการเกณฑทหารเมื่ออายุ 21 ปบริบูรณ
51
ให A แทน เซตของผูที่ตองเขารับการเกณฑทหาร
B แทน เซตชายไทยที่อายุครบ 21 ปบริบูรณ
c แทน มานะ
จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป
ดังนั้น ผลสรุปที่วา มานะตองเขารับการเกณฑทหารเมื่ออายุครบ 21 ปบริบูรณ สมเหตุสมผล
B
c•
A

More Related Content

What's hot (14)

Valid
ValidValid
Valid
 
Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3Basic m2-2-chapter3
Basic m2-2-chapter3
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 
กฎการนับ
กฎการนับกฎการนับ
กฎการนับ
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
Resoning
ResoningResoning
Resoning
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Book2013 jan 04_2013_math
Book2013 jan 04_2013_mathBook2013 jan 04_2013_math
Book2013 jan 04_2013_math
 

Viewers also liked

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงNittaya Noinan
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 

Viewers also liked (20)

Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 

Similar to Basic m4-1-chapter2

Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01nutchamai
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan seriesseelopa
 

Similar to Basic m4-1-chapter2 (20)

Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01Random 131204034823-phpapp01
Random 131204034823-phpapp01
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Valid
ValidValid
Valid
 
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (11)

Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m4-1-chapter2

  • 1. บทที่ 2 การใหเหตุผล ( 8 ชั่วโมง ) การใหเหตุผลเปนสาระใหมของวิชาคณิตศาสตรในชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4 – 6) ซึ่ง เปนเนื้อหาที่มีความสําคัญ เพราะการดําเนินชีวิตของคนเราตองขึ้นอยูกับเหตุผล ไมวาจะเปนความเชื่อ การโตแยง การตัดสินใจ ตองใชเหตุผลประกอบทั้งสิ้น อีกทั้งยังเปนพื้นฐานที่สําคัญในการหาความรู ของศาสตรตางๆ สาระเรื่องการใหเหตุผลที่จะกลาวถึงในหนังสือเรียนประกอบดวยเรื่อง การใหเหตุผลแบบ อุปนัย และการใหเหตุผลแบบนิรนัย โดยมุงใหผูเรียนมีผลการเรียนรู ดังตอไปนี้ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. เขาใจและใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยได 2. บอกไดวาการอางเหตุผลสมเหตุสมผลหรือไมโดยใชแผนภาพแทนเซต ผลการเรียนรูดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นทางดาน ความรู ในการเรียนการสอนทุกครั้งผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูทางดานทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนและสอดแทรกกิจกรรม ปญหา หรือคําถามที่เสริมสรางทักษะ กระบวนการเหลานั้นดวย นอกจากนั้นควรปลูกฝงใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตัวเอง
  • 2. 29 ขอเสนอแนะ 1. การใหเหตุผลแบบอุปนัยเปนการใหเหตุผลเพื่อหาขอสรุป โดยการสังเกตหรือการทดลองหลายๆ ครั้ง ผูสอนควรเริ่มสอนจากตัวอยางที่งาย ๆ กอน เพื่อที่จะใหผูเรียนเกิดความเขาใจในความหมาย ของการใหเหตุผลแบบอุปนัย เชน ใหผูเรียนพิจารณาตัวอยางตอไปนี้ 1, 2, 4, 8, … ผูสอนอาจถามผูเรียนวา พจนถัดไปของแบบรูปนี้คือจํานวนใด หรือสองพจนถัดไป ของแบบรูปนี้คือจํานวนใด เมื่อผูเรียนตอบคําถามแลวผูสอนควรใหผูเรียนแสดงเหตุผลดวยวา คําตอบที่ผูเรียนตอบนั้นไดมาอยางไร ถาผูเรียนใหเหตุผลวาเกิดจากสังเกตแบบรูปของขอมูลที่มีอยู ผูสอนควรจะสรุปดวยวาการสังเกตของผูเรียนเพื่อหาคําตอบนั้นเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย 2. การเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบอุปนัย นอกจากผูสอนจะยกตัวอยางการใหเหตุผลที่เกี่ยวของ กับวิชาคณิตศาสตรแลว ผูสอนควรยกตัวอยางการใหเหตุผลที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันและ ใหผูเรียนฝกการยกตัวอยางดวย เพื่อผูเรียนจะไดเห็นถึงความสําคัญของเนื้อหาสาระ อีกทั้งไดฝก ทักษะกระบวนการใหเหตุผลและมีความคิดริเริ่มสรางสรรค 3. หลังจากที่ผูสอนสอนเรื่องการใหเหตุผลแบบอุปนัยแลว ผูสอนควรสรุปใหผูเรียนมีความเขาใจวา การสรุปผลจากการสังเกตเหตุการณหรือการทดลองหลาย ๆ ครั้ง ผลสรุปที่ไดอาจจะไมจริงเสมอ ไป ซึ่งอาจขึ้นอยูกับ ลักษณะของขอมูล ความคิดหรือประสบการณเดิมของผูใหเหตุผล เชน น้ําฝนสังเกตเห็นไขเปดที่คุณแมซื้อมาจากตลาดมีสีขาว แลวน้ําฝนสรุปวาไขเปดทุกฟองมีสีขาว ซึ่งเปนผลสรุปที่ผิดเพราะมีไขเปดบางฟองมีสีเทาอมเขียว 4. ในการสอนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย ผูสอนควรสอนใหผูเรียนเขาใจวา การใหเหตุผล แบบนิรนัยนั้นเราตองยอมรับวา เหตุ เปนจริงเสมอ ถึงแมวาเหตุนั้นจะขัดกับความเปนจริงทาง โลก ก็ตาม เชน ขอความ “ คนทุกคนเปนลิง ” “ แมวทุกตัวลอยน้ําได ” 5. การเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย หลังจากแนะนําใหผูเรียนรูจักตัวอยางของการใหเหตุผล แบบนิรนัยแลว กอนที่ผูสอนจะสอนเรื่อง การอางเหตุผล (สําหรับเรื่องการอางเหตุผลของ หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานนี้จะมีความแตกตางจากเรื่องการอางเหตุผลที่ผูสอนเคยสอนมาใน
  • 3. 30 รายวิชา ค011 (หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) โดยการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของขอความจะใชแผนภาพแทนเซตของเวนน – ออยเลอร ตรวจสอบ) ผูสอนควรสอนใหผูเรียนฝกการเขียนแผนภาพแทนขอความ ซึ่งเปนไปตามรูปแบบที่ กําหนดไวในหนังสือเรียนจนเกิดความเขาใจ แลวจึงสอนวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ของขอความ เชน ขอความ นักเรียนทุกคนเปนคนฉลาด ให A แทนเซตของนักเรียน B แทนเซตของคนฉลาด เขียนแผนภาพแทนขอความ ไดดังนี้ ขอความ ปลาบางตัวบินได ให M แทนเซตของปลา N แทนเซตของสัตวที่บินได เขียนแผนภาพแทนขอความ ไดดังนี้ 6. การตรวจสอบผลสรุปของขอความที่สมเหตุสมผลนั้น จะตองตรวจสอบแผนภาพทุกแผนภาพที่ เปนไปไดทุกกรณี สวนขอความที่มีผลสรุปไมสมเหตุสมผล ไมจําเปนตองวาดแผนภาพทั้งหมด ทุกกรณี เพียงยกตัวอยางกรณีที่ผลสรุปนั้นไมสอดคลองเพียงกรณีเดียวก็พอ กิจกรรมเสนอแนะ ผูสอนสามารถใชกิจกรรมนี้เสริมสรางทักษะการใหเหตุผลและการแกปญหา ซึ่งอาจใช ประกอบการเรียนการสอนไดทั้งกอนหรือหลังการเรียนเรื่อง การใหเหตุผลแบบนิรนัย (1) (2) (3) ฟ ลฟ ล ฟ ล A B M N
  • 4. 31 1) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ฟ ฟ ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ล ล หรือ ฟ ล ก็ได 2) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ล ล ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ฟ ฟ หรือ ฟ ล ก็ได 3) ลูกบอลที่อยูในกลองที่มีปาย ฟ ล ปายที่ถูกตองอาจจะเปน ฟ ฟ หรือ ล ล ก็ได มีกลองอยู 3 ใบ แตละใบมีลูกบอลอยู 2 ลูก ซึ่งอาจเปนสีฟาทั้ง 2 ลูก หรือสีเหลือง ทั้ง 2 ลูก หรือสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก กลองแตละใบมีปายติดดังนี้ (1) ฟ ฟ หมายถึง มีลูกบอลสีฟาอยู 2 ลูก (2) ล ล หมายถึง มีลูกบอลสีเหลืองอยู 2 ลูก (3) ฟ ล หมายถึง มีลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก แตไมมีกลองใดเลยที่ติดปายตรงกับความเปนจริง เปนไปไดหรือไมวา วิธีการดําเนินกิจกรรม ผูสอนใหผูเรียนทดลองหยิบลูกบอล 1 ลูก จากกลองใดก็ไดที่ผูสอนเตรียมไวใหแลวชวย กันหาขอสรุปวา ลูกบอลที่อยูในกลองที่เหลือควรจะเปนสีใด เมื่อผูเรียนไดคําตอบแลวผูสอนจึงใหผู เรียนออกมาแสดงเหตุผล จากนั้นผูสอนและผูเรียนจึงคอยสรุปที่มาของคําตอบอีกครั้ง หรือผูสอนใช คําถามเพื่อแนะนําใหผูเรียนหาคําตอบไดดวยตนเองดังนี้ 1. ผูเรียนสามารถสรุปขอมูลใดไดบางจากสิ่งที่โจทยกําหนดให คําตอบ เนื่องจากไมมีกลองใดที่ติดปายตรงกับความเปนจริง สรุปไดวา ถาหยิบลูกบอลจากกลองใดก็ไดมา 1 ลูก แลวสามารถบอกไดวา ที่ถูกตองแลวกลองใด ควรจะมีลูกบอลสีอะไร และจะตองหยิบลูกบอลจากกลองใดจึงจะไดคําตอบที่ถูกตอง เมื่อทราบคําตอบแลว ใหติดปายที่ถูกตองดวย (1) (2) (3) ฟ ลฟ ล ฟ ล
  • 5. 32 ฟ ล ฟ ฟ ล ล ฟ ล 2. ถาหยิบลูกบอลจากกลองที่ (1) หรือ (2) จะบอกไดหรือไมวา ลูกบอลอีกลูกในกลอง ควรเปนสีใด (ใหผูเรียนแสดงเหตุผล) 3. ถาใหผูเรียนหยิบลูกบอลจากกลองที่ (3) ซึ่งมีปาย ฟ ล ติดไว ถาผูเรียนหยิบไดลูกบอลสีฟา ฟ ความจริงแลวกลองนี้จะตองมีลูกบอลสีใด คําตอบ จากคําตอบของขอที่ 1. จะไดวากลองนี้ควรจะมีลูกบอลสีฟา 2 ลูก หยิบไดลูกบอลสีฟา ปายผิด ปายที่ถูกตอง 4. เมื่อหาไดแลววา กลองที่มีปาย ฟ ล ที่ถูกตอง จะตองเปน ฟ ฟ อีก 2 กลองที่เหลือ ควรจะมีลูกบอลสีใดบาง (1) (2) คําตอบ กลองที่เหลือในภาพขางบนจะตองเปนกลองที่มี (1) ลูกบอลสีเหลือง 2 ลูก ล ล และ (2) ลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก ฟ ล จากขอสรุปขอที่ 1. กลองที่มีปาย ล ล จะตองไมใชกลองที่มีลูกบอลสีเหลือง 2 ลูก เพราะปายที่ติดไวผิด ดังนั้น ที่ถูกตองแลว กลองที่ติดปาย ล ล จะตองมีลูกบอลสีฟา 1 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก ปายผิด ปายที่ถูกตอง ฟ ฟ ล ล
  • 6. 33 ฟ ฟ ล ล จากขอสรุปขางตนและขอสรุปขอที่ 1. จะไดกลองที่เหลือที่มีปาย ฟ ฟ จะตองมีลูกบอลสี เหลือง 2 ลูก ปายผิด ปายที่ถูกตอง สรุปผลดังนี้ 5. ครูใหผูเรียนชวยกันสรุปคําตอบในกรณีที่ผูเรียนหยิบไดลูกบอลสีเหลืองจากกลองที่มีปาย ฟ ล และใหหาวากลองที่เหลือจะตองมีลูกบอลสีอะไรบาง และติดปายใหมใหถูกตอง แบบทดสอบประจําบท แบบทดสอบที่นําเสนอตอไปนี้เปนตัวอยางแบบทดสอบแสดงวิธีทํา ซึ่งจะใชประเมินผล ดานเนื้อหาวิชาของผูเรียนเมื่อเรียนจบในเนื้อหาเรื่อง การใหเหตุผล ผูสอนสามารถเลือกและปรับ แบบทดสอบใหเหมาะสมกับผูเรียนได ฟ ฟ ฟ ล ฟ ล ล ลฟ ฟ ฟลล
  • 7. 34 ตัวอยางแบบทดสอบ 1. จงใชวิธีการใหเหตุผลเพื่อหาคําตอบตอไปนี้ 1) จงเขียนคําตอบในชองวาง พรอมทั้งอธิบายเหตุผลที่ใชในการหาคําตอบและพิจารณาวา เปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย 11 × 11 = 121 11 × 12 = 132 11 × 13 = 143 11 × 14 = ___ 11 × 15 = ___ 11 × 16 = ___ 11 × 17 = ___ 11 × 18 = ___ 2) จงหาวาจํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยูในแถวที่ 5 ถึงแถวที่ 10 มีจํานวนเทาไร พรอมทั้งอธิบาย เหตุผลที่ใชในการหาคําตอบและพิจารณาวาเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัยหรือนิรนัย 2. จงหาจํานวน c จากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให โดยใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย 1) -5, 5, -5, 5, c 2) 4, 2, 0, -2, c 3) 6, 12, 18, 24, c 4) 64, 32, 16, 8, c 5) -17, -12, -7, -2, c 3. ถาจํานวนเต็มที่เปนจํานวนคี่ หมายถึง จํานวนที่หารดวย 2 ไมลงตัว ทานใชเหตุผลแบบใดในการหาขอสรุปวา 11 เปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ แถวที่ (1) มี 1 รูป แถวที่ (2) มี 3 รูป แถวที่ (3) มี......รูป แถวที่ (5) มี......รูป แถวที่ (4) มี......รูป
  • 8. 35 4. จงยกตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัยมาอยางละ 1 ตัวอยาง ตามที่ทานเขาใจ 5. จงยกตัวอยางเหตุการณในชีวิตประจําวัน ที่ทําใหทานหรือคนในครอบครัว หรือคนรูจักเคยใช การใหเหตุผลแบบอุปนัย หรือ นิรนัยมาชวยในการหาขอสรุปเพื่อชวยในการตัดสินใจ 6. เหตุ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา 2. งูไมมีขา ขอสรุป งูเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม จงหาวาขอสรุปขางตนสมเหตุสมผลหรือไม โดยใชแผนภาพแทนเซต 7. จงตรวจสอบวาผลสรุปตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม โดยใชแผนภาพ 1) เหตุ 1. คนที่ชอบดูภาพยนตรทุกคนไมชอบดูการแขงขันกีฬา 2. อภิรดีชอบดูภาพยนตร ผล อภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา 2) เหตุ 1. คนที่คาขายทุกคนเปนคนขยัน 2. คนที่ขยันเปนคนรวย ผล คนที่คาขายเปนคนรวย 8. สมมติวา ทานพบวา เพื่อนของทานทุกคนที่ตั้งใจเรียนจะไมคุยระหวางเรียน สุภิตา เปนเพื่อน ในชั้นเรียนของทานที่ไมคุยระหวางเรียน ทานจะสรุปไดหรือไมวาสุภิตาเปนคนตั้งใจเรียน จงอธิบายวิธีการหาขอสรุปโดยใชแผนภาพแทนเซต เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ 1. 1) โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย จะได 11 × 11 = 121 เหตุผล จากผลลัพธของการคูณของสามสมการ 11 × 12 = 132 แรก เลขโดดในหลักหนวยของผลลัพธคือเลขโดด 11 × 13 = 143 ในหลักหนวยของตัวคูณ เลขโดดในหลักสิบ 11 × 14 = 154 ของผลลัพธจะมากกวาเลขโดดในหลักหนวยอยู 1 11 × 15 = 165 และเลขโดดในหลักรอยคือ 1 11 × 16 = 176 11 × 17 = 187 11 × 18 = 198
  • 9. 36 2) เหตุผล แถวที่ 1 มีรูปสามเหลี่ยม 1 รูป แถวที่ 2 มีรูปสามเหลี่ยม 3 รูป แถวที่ 3 มีรูปสามเหลี่ยม 5 รูป แถวที่ 4 มีรูปสามเหลี่ยม 7 รูป ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยูในแถวที่ 5 จะตองมากกวาจํานวนรูปสามเหลี่ยมที่อยู ในแถวที่ 4 อยู 2 ซึ่งเทากับ 7 + 2 หรือ 9 รูป สรุปวา แถวที่ 5 จะตองมีรูปสามเหลี่ยม 9 รูป แถวที่ 6, 7, 8, 9 และ 10 จะมีรูปสามเหลี่ยม 11, 13, 15, 17 และ 19 รูป ตามลําดับ 2. โดยการใหเหตุผลแบบอุปนัย จะได แบบรูป เหตุผลแบบอุปนัย 1) -5, 5, -5, 5, -5 2) 4, 2, 0, -2, - 4 3) 6, 12, 18, 24, 30 4) 64, 32, 16, 8, 4 5) -17, -12, -7, -2, 3 พิจารณาจากแบบรูปของจํานวนที่กําหนดให พบวา จํานวนที่อยูในลําดับที่ 1, 3 จะเทากับ -5 ดังนั้น c อยูในลําดับที่ 5 จึงควรมีคาเทากับ -5 จํานวนแตละจํานวนไดจากจํานวนที่อยูขางหนาลบดวย 2 ดังนั้น c = –2 –2 หรือ - 4 จํานวนแตละจํานวนไดจากจํานวนที่อยูขางหนาบวกดวย 6 ดังนั้น c = 24 + 6 = 30 จํานวนแตละจํานวนไดจากการนําจํานวนที่อยูขางหนามาหารดวย 2 ดังนั้น c = 8 ÷ 2 หรือ 4 จํานวนแตละจํานวนไดจากการนําจํานวนที่อยูขางหนาบวกดวย 5 ดังนั้น c = –2 + 5 = 3 หมายเหตุ การใหเหตุผลอาจแตกตางจากตัวอยางของคําตอบขางตนได แถวที่ (1)มี 1 รูป แถวที่ (2)มี 3 รูป แถวที่ (3)มี 5 รูป แถวที่ (4)มี 7 รูป แถวที่ (5) มี 9 รูป เพิ่ม 2 รูป เพิ่ม 2 รูป เพิ่ม 2 รูป
  • 10. 37 3. ถาจํานวนเต็มที่เปนจํานวนคี่ หมายถึง จํานวนที่หารดวย 2 ไมลงตัว เนื่องจาก 11 ÷ 2 ไดผลลัพธเทากับ 5 เศษ 1 ดังนั้น 11 หารดวย 2 ไมลงตัว สรุปไดวา 11 เปนจํานวนคี่ การสรุปวา 11 เปนจํานวนคี่เปนการสรุปโดยอางอิงสิ่งที่ยอมรับวาเปนจริง ดังนั้น การสรุปขางตนจึงเปนการสรุปโดยใชเหตุผลแบบนิรนัย 4. ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย 41 – 1 = 3 หรือ 3 × 1 42 – 1 = 15 หรือ 3 × 5 43 – 1 = 63 หรือ 3 × 21 44 – 1 = 255 หรือ 3 × 75 45 – 1 = 1023 หรือ 3 × 341 จะเห็นวา จํานวนที่อยูทางดานขวาของเครื่องหมาย = จะมี 3 เปนตัวประกอบทุกจํานวน จากตัวอยางขางตน ใชการใหเหตุผลแบบอุปนัยสรุปไดวา จํานวนที่มีคาเทากับ 46 – 1 จะมี 3 เปนตัวประกอบ นั่นคือ 46 – 1 = 4,095 หรือ 3 × 1,365 ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย เหตุ 1. คนทุกคนตองการมีเพื่อน 2. อั้มเปนคน ผล อั้มตองการมีเพื่อน 5. ตัวอยางการใหเหตุผลแบบอุปนัย เพื่อนบานที่เคยเปนโรคเกี่ยวกับกระดูกหลายคนไปพบแพทยที่รักษาโรคกระดูกที่โรงพยาบาล แหงหนึ่งแลว ทุกคนบอกวาหมอรักษาไดผลดี ฉันจึงตัดสินใจพาคุณยายซึ่งเปนโรคเกี่ยวกับกระดูก ไปพบแพทยที่รักษาโรคกระดูกที่โรงพยาบาลแหงนั้น ตัวอยางการใหเหตุผลแบบนิรนัย ขณะนี้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําสําหรับเงินตนไมเกิน 500,000 บาท เทากับ 2.75% ตอป ถาฉันนําเงิน 1 แสนบาทไปฝากในบัญชีฝากประจํา จะไดรับดอกเบี้ย 2,750 บาท เมื่อฝากครบ 1 ป (ถาธนาคารไมเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย)
  • 11. 38 6. เหตุ 1. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมบางชนิดไมมีขา 2. งูไมมีขา ขอสรุป งูเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ให A แทนเซตของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม B แทนเซตของสัตวไมมีขา c แทนงู แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2 จากแผนภาพที่ 1 สรุปไดวา งูเปนสัตวไมมีขาที่ไมเลี้ยงลูกดวยนม จากแผนภาพที่ 2 สรุปไดวา งูเปนสัตวไมมีขาที่เลี้ยงลูกดวยนม แผนภาพที่ 1 ขัดแยงกับขอสรุป ดังนั้น ขอสรุปขางตนจึงไมสมเหตุสมผล 7. 1) เหตุ 1. คนที่ชอบดูภาพยนตรทุกคนไมชอบดูการแขงขันกีฬา 2. อภิรดีชอบดูภาพยนตร ผล อภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา ให A แทนเซตของคนที่ชอบดูภาพยนตร B แทนเซตของคนที่ชอบดูการแขงขันกีฬา c แทนอภิรดี จากแผนภาพ พบวา ขอสรุปที่วาอภิรดีไมชอบดูการแขงขันกีฬา สมเหตุสมผล 2) เหตุ 1. คนที่คาขายทุกคนเปนคนขยัน 2. คนที่ขยันเปนคนรวย ผล คนที่คาขายเปนคนรวย ให M แทนเซตของคนที่คาขาย A แทนเซตของคนที่ขยัน R แทนเซตของคนที่รวย จากแผนภาพ พบวา ขอสรุปที่วาคนที่คาขายเปนคนรวย สมเหตุสมผล A B c• A B c• A B • c M A R
  • 12. 39 8. ถาเพื่อนทุกคนที่ตั้งใจเรียนจะไมคุยระหวางเรียน สุภิตาไมคุยระหวางเรียน ให A แทนเซตของคนที่ตั้งใจเรียน B แทนเซตของคนที่ไมคุยระหวางเรียน c แทนสุภิตา แผนภาพที่ 1 แผนภาพที่ 2 จากแผนภาพที่ 1 สรุปไดวา สุภิตาไมคุยระหวางเรียน และสุภิตาตั้งใจเรียน จากแผนภาพที่ 2 สรุปไดวา สุภิตาไมคุยระหวางเรียน แตสุภิตาไมตั้งใจเรียน เนื่องจาก แผนภาพทั้งสองขัดแยงกัน จึงไมสามารถสรุปวา สุภิตาเปนคนที่ตั้งใจเรียน เฉลยแบบฝกหัด แบบฝกหัด 2.1 1. การใหเหตุผลในคําตอบที่ไดแสดงไวเปนเพียงตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัยในการ หาคา a อาจมีเหตุผลอื่นนอกเหนือจากที่ไดแสดงไวไดอีก 1) 12, 22, 32, 42, a จากจํานวนแรกคือ 12 = (1 × 10) + 2 22 = (2 × 10) + 2 32 = (3 × 10) + 2 42 = (4 × 10) + 2 จะได a = (5 × 10) + 2 หรือ 52 2) 12, 10, 8, 6, a จากจํานวนแรกคือ 12 = 6 × 2 10 = 5 × 2 8 = 4 × 2 6 = 3 × 2 จะได a = 2 × 2 หรือ 4 A B c• A B c•
  • 13. 40 3) 5, 3, 1, -1, -3, a จากจํานวนแรกคือ 5 = 7 – 2 3 = 5 – 2 1 = 3 – 2 -1 = 1 – 2 -3 = –1 – 2 จะได a = –3 – 2 หรือ -5 4) 1, -1, 1, -1, 1, a เหตุผล พิจารณาแบบรูปที่กําหนดใหพบวา จํานวนในลําดับที่เปนจํานวนคี่ คือ 1 และจํานวนในลําดับที่เปนจํานวนคู คือ -1 เนื่องจาก a อยูในลําดับที่ 6 ซึ่งเปนจํานวนคู ดังนั้น a ควรเทากับ -1 5) 1, 4, 9, 16, 25, a จากจํานวนแรกคือ 1 = 12 4 = 22 9 = 32 16 = 42 25 = 52 จะได a = 62 หรือ 36 6) -15, -5, 5, 15, a จากจํานวนแรกคือ -15 -5 = -15 + 10 5 = -5 + 10 15 = 5 + 10 จะได a = 15 + 10 หรือ 25 7) 1, -1, -3, -5, a จากจํานวนแรกคือ 1 -1 = 1 – 2 -3 = –1 – 2 -5 = –3 – 2 จะได a = –5 – 2 หรือ -7
  • 14. 41 8) -5, -3, -1, 1, a จากจํานวนแรกคือ -5 -3 = –5 + 2 -1 = –3 + 2 1 = –1 + 2 จะได a = 1 + 2หรือ 3 9) 1, 6, 11, 16, a จากจํานวนแรกคือ 1 6 = 1 + 5 11 = 6 + 5 16 = 11 + 5 จะได a = 16 + 5หรือ 21 10) 8, 14, 20, 26, a จากจํานวนแรกคือ 8 14 = 8 + 6 20 = 14 + 6 26 = 20 + 6 จะได a = 26 + 6หรือ 32 2. พิจารณาผลคูณที่กําหนดใหตอไปนี้ 1 × 9 = 9 6 × 9 = 54 11 × 9 = 99 2 × 9 = 18 7 × 9 = 63 12 × 9 = 108 3 × 9 = 27 8 × 9 = 72 13 × 9 = 117 4 × 9 = 36 9 × 9 = 81 14 × 9 = 126 5 × 9 = 45 10 × 9 = 90 15 × 9 = 135 จากผลคูณที่ไดพบวา เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณที่ไดมาบวกกัน ผลบวกที่ไดจะหารลงตัวดวย 9 เสมอ เชน 15 × 9 = 135 เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณมาบวกกัน จะได 1 + 3 + 5 = 9 ซึ่งหารดวย 9 ลงตัว โดยใชเหตุผลแบบอุปนัยจะสรุปไดวา เมื่อนําตัวเลขที่แทนจํานวนในแตละหลักของผลคูณ ของจํานวนเต็มบวกใด ๆ กับ 9 มาบวกกัน ผลบวกที่ไดจะหารลงตัวดวย 9 เสมอ
  • 15. 42 3. 1) พิจารณาผลคูณของจํานวนที่มี 142,857 ตอไปนี้ 142,857 × 1 = 142,857 142,857 × 2 = 285,714 142,857 × 3 = 428,571 142,857 × 4 = 571,428 จากการสังเกตจํานวนที่เปนผลคูณพบวา ผลคูณที่ไดประกอบดวยเลขโดด 1, 4, 2, 8, 5 และ 7 เสมอ 2) โดยการใชเหตุผลแบบอุปนัย ผลคูณของ 142,857 × 5 และ 142,857 × 6 ควรจะประกอบ ดวยตัวเลขโดดชุดเดียวกับตัวคูณ 142,857 เมื่อหาผลคูณขางตนพบวา 142,857 × 5 = 714,285 และ 142,857 × 6 = 857,142 3) เนื่องจาก 142,857 × 7 พบวา 7 × 7 = 49 ซึ่งทําใหผลคูณมีจํานวนที่อยูในหลักหนวย แทนดวยเลข 9 ซึ่ง 9 ไมอยูในชุดตัวเลข 142857 142,857 × 8 พบวา 7 × 8 = 56 ซึ่งทําใหผลคูณมีจํานวนที่อยูในหลักหนวยแทนดวย เลข 6 ซึ่ง 6 ไมอยูในชุดตัวเลข 142857 ดังนั้น คําตอบที่ไดจากการคูณ 142,857 ดวย 7 หรือ 8 โดยใชขอสรุปขางตนไมเปนจริง หมายเหตุ 142,857 × 7 = 999,999 และ 142,857 × 8 = 1,142,856 4. พิจารณาผลคูณตอไปนี้ 1) 37 × 3 = 11 37 × 6 = 22 37 × 9 = 33 37 × 12 = 44 จากผลคูณในแบบรูปขางตนพบวา 37 × 3 × 1 = 111 37 × 3 × 2 = 222 37 × 3 × 3 = 333 37 × 3 × 4 = 444
  • 16. 43 2) จากแบบรูปขางตน และใชเหตุผลแบบอุปนัย จะไดวา 37 × 3 × 5 = 555 37 × 3 × 6 = 666 37 × 3 × 7 = 777 37 × 3 × 8 = 888 37 × 3 × 9 = 999 5. 1) 9 × 9 + 7 = 88 98 × 9 + 6 = 888 987 × 9 + 5 = 8,888 9,876 × 9 + 4 = 88,888 2) 34 × 34 = 1,156 334 × 334 = 111,556 3,334 × 3,334 = 11,115,556 3) 2 = 4 – 2 2 + 4 = 8 – 2 2 + 4 + 8 = 16 – 2 2 + 4 + 8 + 16 = 32 – 2 4) 3 = 2 )2(3 3 + 6 = 2 )3(6 3 + 6 + 9 = 2 )4(9 3 + 6 + 9 + 12 = 2 )5(12 98,765 × 9 + 3 = 888,888 33,334 × 33,334=1,111,155,556 2 + 4 + 8 + 16 + 32 = 64 –2 3 + 6 + 9 + 12 + 15 = 2 )6(15
  • 17. 44 5) 5(6) = 6(6 – 1) 5(6) + 5(36) = 6(36 – 1) 5(6) + 5(36) + 5(216) = 6(216 – 1) หรือ 5(6) + 5(6 × 6) + 5(6 × 6 × 6) + 5(6 × 6 × 6 × 6) = 6(6 × 6 × 6 × 6 – 1) 6. 1) 1 + 2 + 3 + … + 148 + 149 + 150 มีจํานวน 151 ทั้งหมด 75 จํานวน 151 151 151 จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 150 = 151 × 75 หรือ 11,325 2) 1 + 2 + 3 + … + 298 + 299 + 300 มีจํานวน 301 ทั้งหมด 150 จํานวน 301 301 301 จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 300 = 301 × 150 หรือ 45,150 3) 1 + 2 + 3 + … + 498 + 499 + 500 มีจํานวน 501 ทั้งหมด 250 จํานวน 501 501 501 จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 500 = 501 × 250 = 125,250 4) 1 + 2 + 3 + … + 998 + 999 + 1,000 มีจํานวน 1,001 ทั้งหมด 500 จํานวน 1,001 1,001 1,001 จะไดวา 1 + 2 + 3 + … + 1,000 = 1,001 × 500 = 500,500 5(6) + 5(36) + 5(216) + 5(216 × 6) = 6(1,296 – 1)
  • 18. 45 7. 1) 2 + 4 + 6 + … + 96 + 98 + 100 มีจํานวน 102 ทั้งหมด 25 จํานวน 102 102 102 จะไดวา 2 + 4 + 6 + … + 1,000 = 102 × 25 หรือ 2,550 2) 1 + 2 + 3 + … + 122 + 123 + 124 + 125 มีจํานวน 125 ทั้งหมด 62 จํานวน 125 125 125 จะไดวา 1 + 2 + 3 + ... + 125 = (125 × 62) + 125 หรือ 7,875 3) 1 + 2 + 3 + ... + (n – 1) + n เมื่อ n เปนจํานวนนับที่เปนจํานวนคี่ จะเทากับ [(n – 1) + 1] บวกกัน 2 1n − จํานวน แลวบวกกับ n 1 + 2 + 3 + ... + n = [(n – 1) + 1] ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 2 1n + n = ⎟ ⎠ ⎞ ⎜ ⎝ ⎛ − 2 1n n + n 8. 1 3 6 10 15 21 จากจํานวนสามเหลี่ยมที่กําหนดให จะหาจํานวนสามเหลี่ยมถัดไปอีกสองจํานวนไดดังนี้ 1) จํานวนสามเหลี่ยมที่อยูถัดจาก 21 อีก 2 จํานวน ไดแก จํานวน 28 และ 36 ซึ่งแสดง ดวยภาพไดดังนี้ 28 36
  • 19. 46 2) จํานวนจุดในแตละแถวตามแนวนอนจะเพิ่มขึ้นทีละ 1 จุด จากรูปที่อยูกอนเปน 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 หรือแถวที่ n จะมีจํานวน n จุดเมื่อ n เปนจํานวนนับ 3) พิจารณาวา 72 เปนจํานวนสามเหลี่ยมหรือไม ไดดังนี้ พิจารณาจากจํานวนแรกคือ 1 จะพบความสัมพันธของจํานวนดังนี้ 3 = 1 + 2 6 = 3 + 3 10 = 6 + 4 15 = 10 + 5 21 = 15 + 6 28 = 21 + 7 36 = 28 + 8 45 = 36 + 9 55 = 45 + 10 66 = 55 + 11 78 = 66 + 12 จากการหาผลบวกขางตน พบวา 72 ไมใชจํานวนสามเหลี่ยม 9. 1) ผลคูณของจํานวนนับสองจํานวนใด ๆ จะหารดวย 2 ลงตัวเสมอ ไมเปนจริง เพราะ 1 และ 11 เปนจํานวนนับ 1 × 11 = 11 แต 11 หารดวย 2 ไมลงตัว 2) จํานวนนับใด ๆ ที่มีคามากกวา 4 จะเขียนไดในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไป สองจํานวน หรือมากกวาสองจํานวน ไมเปนจริง เพราะ 8 เปนจํานวนนับ และ 8 มีคามากกวา 4 แต 8 ไมสามารถเขียนในรูปของผลบวกของจํานวนถัดไปไดโดยพิจารณาจากผลบวก ของจํานวนตอไปนี้ พิจารณาผลบวกของจํานวนถัดไปที่มีคาเทากับ 9 และ 10 มีดังนี้ 1 + 2 + 3 + 4 = 10 2 + 3 + 4 = 9 และ 4 + 5 = 9 แตผลบวกของจํานวนนับที่มีคาเทากับ 8 มีดังนี้
  • 20. 47 8 = 4 + 4 = 3 + 5 = 2 + 6 = 1 + 7 3) กําลังสองของจํานวนนับใด ๆ จะเปนจํานวนคูเสมอ ไมเปนจริง เพราะ 1 เปนจํานวนนับ และ 12 = 1 แต 1 ไมเปนจํานวนคู 10. 1) 2) แบบฝกหัด 2.2 1. เหตุ 1) กบทุกตัววายน้ําได 2) สัตวที่วายน้ําได จะบินได ผล กบทุกตัวบินได ให A แทน เซตของกบทุกตัว B แทน เซตของสัตวที่วายน้ําได C แทน เซตของสัตวที่บินได จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา กบทุกตัวบินได สมเหตุสมผล (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (4) AC B
  • 21. 48 2. เหตุ 1) จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนเต็ม 2) จํานวนเต็มทุกจํานวนเปนจํานวนจริง ผล จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนจริง ให A แทน เซตของจํานวนนับ B แทน เซตของจํานวนเต็ม C แทน เซตของจํานวนจริง จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา จํานวนนับทุกจํานวนเปนจํานวนจริง สมเหตุสมผล 3. เหตุ 1) คนที่มีสุขภาพดีทุกคนเปนคนที่มีความสุข 2) ก มีความสุข ผล ก มีสุขภาพดี ให A แทนเซตของคนมีสุขภาพดี B แทนเซตของคนมีความสุข c แทน ก (1) (2) จากแผนภาพ (1) ก เปนคนมีความสุข แต ก สุขภาพไมดี จากแผนภาพ (2) ก เปนคนมีความสุข และ ก มีสุขภาพดี แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา ก มีความสุข แลว ก มีสุขภาพดี จึงไมสมเหตุสมผล 4. เหตุ 1) จํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว ทุกจํานวนเปนจํานวนคู 2) 7 หารดวย 2 ลงตัว ผล 7 เปนจํานวนคู ให A แทนเซตของจํานวนเต็มที่หารดวย 2 ลงตัว B แทนเซตของจํานวนคู c แทน 7 จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา 7 เปนจํานวนคู สมเหตุสมผล A CB A c• B A c B • A c• B
  • 22. 49 5. เหตุ 1) สุนัขบางตัวมีขนยาว 2) มอมเปนสุนัขของฉัน ผล มอมเปนสุนัขที่มีขนยาว ให A แทนเซตของสุนัขA B แทนเซตของสิ่งที่มีขนยาว c แทนมอมc B • (1) จากแผนภาพ (1) พบวา มอมเปนสุนัข แตขนไมยาว จากแผนภาพ (2) พบวา มอมเปนสุนัขขนยาว แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป A c• B (2) ดังนั้น ผลสรุปที่วา มอมเปนสุนัขที่มีขนยาว ไมสมเหตุสมผล 6. เหตุ 1) มาทุกตัวมี 4 ขา 2) ไมมีสัตวที่มีสี่ขาตัวใดที่บินได ผล ไมมีมาตัวใดบินได ให A แทนเซตของมา B แทนเซตของสัตวที่มี 4 ขา C แทนเซตของสัตวที่บินได A CB จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา ไมมีมาตัวใดบินได สมเหตุสมผล 7. เหตุ 1) ไมมีจํานวนเฉพาะตัวใดหารดวย 2 ลงตัว 2) 21 หารดวย 2 ไมลงตัว ผล 21 เปนจํานวนเฉพาะ ให A แทนเซตของจํานวนเฉพาะ B แทนเซตของจํานวนที่หารดวย 2 ลงตัว c แทน 21 (1) จากแผนภาพ (1) จะเห็นวา 21 ไมเปนจํานวนเฉพาะ A • c B จากแผนภาพ (2) จะเห็นวา 21 เปนจํานวนเฉพาะ แผนภาพที่ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา 21 เปนจํานวนเฉพาะไมสมเหตุสมผล A c• B (2)
  • 23. 50 8. เหตุ 1) วันที่มีฝนตกทั้งวัน จะมีทองฟามืดครึ้มทุกวัน 2) วันนี้ทองฟามืดครึ้ม ผล วันนี้มีฝนตกทั้งวัน ให A แทนเซตของวันที่มีฝนตกทั้งวัน B แทนเซตของวันที่มีทองฟามืดครึ้ม A c• B (1) (2) c แทนวันนี้ A c• B จากแผนภาพ (1) พบวา วันนี้เปนวันที่ทองฟามืดครึ้ม แตฝนไมไดตกทั้งวัน จากแผนภาพ (2) พบวา วันนี้ฝนตกทั้งวัน และทองฟามืดครึ้ม แผนภาพ (1) ไมสอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา วันนี้ฝนตกทั้งวัน ไมสมเหตุสมผล 9. เหตุ 1) แมวบางตัวมีสองขา 2) นกทุกตัวมีสองขา ผล นกบางตัวเปนแมว ให A แทนเซตของแมว B แทนเซตของสัตวที่มีสองขา C แทนเซตของนก (1) (2) (3) A C BA C B A C B จากแผนภาพ (1) พบวา นกทุกตัวเปนแมว จากแผนภาพ (2) พบวา นกบางตัวเปนแมว จากแผนภาพ (3) พบวา นกทุกตัวไมเปนแมว แผนภาพที่ (3) ไมสอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา นกบางตัวเปนแมว ไมสมเหตุสมผล 10. เหตุ 1) ชายไทยทุกคนตองรับการเกณฑทหาร เมื่ออายุครบ 21 ปบริบูรณ 2) มานะเปนชายไทย ผล มานะจะตองเขารับการเกณฑทหารเมื่ออายุ 21 ปบริบูรณ
  • 24. 51 ให A แทน เซตของผูที่ตองเขารับการเกณฑทหาร B แทน เซตชายไทยที่อายุครบ 21 ปบริบูรณ c แทน มานะ จากแผนภาพพบวา สอดคลองกับผลสรุป ดังนั้น ผลสรุปที่วา มานะตองเขารับการเกณฑทหารเมื่ออายุครบ 21 ปบริบูรณ สมเหตุสมผล B c• A