SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
บทที่ 2
กราฟ (15 ชั่วโมง)
2.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน (3 ชั่วโมง)
2.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร (7 ชั่วโมง)
2.3 กราฟกับการนําไปใช (5 ชั่วโมง)
นักเรียนเคยศึกษากราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดมาแลว ในบทนี้นักเรียนจะได
ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน กราฟของ
สมการเชิงเสนสองตัวแปรที่มีกราฟเปนเสนตรง ทั้งยังกลาวถึงการอานและแปลความหมายของกราฟที่มี
ลักษณะอื่น ๆ ซึ่งอาจพบเห็นในชีวิตประจําวันทั้งทางดานวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร
เนื้อหาของบทนี้ นอกจากจะเนนการเขียนกราฟของความสัมพันธเชิงเสนและสมการเชิงเสนสอง
ตัวแปร การอานและแปลความหมายกราฟที่กําหนดใหแลว ยังตองการเนนใหนักเรียนสามารถแปล
ความหมายของภาพรวมของกราฟไดอีกดวย การแปลความหมายของภาพรวมของกราฟเปนสาระใหมที่ครู
ตองใหความสําคัญ และควรใหนักเรียนไดฝกฝนในการแปลความหมาย ฝกคิดวิเคราะหขอมูลจากกราฟ
ที่กําหนดใหอยางมีขั้นตอน เพื่อนําไปสูการแปลความหมายที่ถูกตองและสมเหตุสมผล
ในการอานคาตาง ๆ จากกราฟ ครูไมควรเขมงวดกับคําตอบที่นักเรียนอานไดวาตองตรงกับที่ให
ไวในหนังสือเรียนหรือที่เฉลยไวในคูมือครู นักเรียนอาจตอบเปนคาที่แทจริงหรือคาประมาณก็ไดตาม
ความเหมาะสมของขอมูลและสถานการณตามแนวคิดของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดฝกทักษะในการอาน
และวิเคราะหกราฟ ครูอาจหากราฟแบบตาง ๆ มาใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งจะชวยใหนักเรียนมี
การพัฒนาทางดานความรูสึกเชิงกราฟมากยิ่งขึ้น
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนได
2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได
3. อานและแปลความหมายกราฟที่กําหนดใหได
30
แนวทางในการจัดการเรียนรู
2.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ
เชิงเสนและแปลความหมายของกราฟได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนที่พบในชีวิตประจําวัน เชน
จํานวนผูโดยสารกับคาโดยสารรถประจําทางที่คิดราคาเดียวกันเปนรายหัว ปริมาณน้ํามันกับราคาน้ํามัน
ครูอาจใหนักเรียนนําเสนอความสัมพันธของปริมาณสองชุดที่สัมพันธกันแบบเชิงเสนเพิ่มเติม พรอมทั้ง
เขียนกราฟของความสัมพันธนั้น แลวชวยกันสรุปวาความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองชุดอาจมี
กราฟเปนเสนตรง หรือเปนสวนหนึ่งของเสนตรง หรือเปนจุดที่เรียงกันอยูในแนวเสนตรงเดียวกันซึ่งจุด
เหลานี้อาจมีจํานวนจํากัดหรือไมจํากัดก็ได
2. ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเขียนและการอานกราฟ ครูควรใหนักเรียนใชกระดาษกราฟ
เพราะจะชวยใหเขียนกราฟไดเร็ว และอานกราฟไดถูกตองตามความเปนจริง
3. ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตวา กราฟในตัวอยางที่ 1 มีลักษณะเปนจุดที่เรียงอยูในแนวเสนตรง
เดียวกันโดยเขียนจุดตอกันเปนเสนประ ทั้งนี้เพราะวาจํานวนน้ําฝรั่งมีหนวยเปนขวดซึ่งเปนจํานวนนับ
และเงินลงทุนและรายไดมีหนวยเปนบาท ซึ่งเปนจํานวนนับเชนกัน อีกทั้งขอมูลเหลานี้มีจํานวนจํากัด
อยางไรก็ตามเพื่อดูแนวโนมของขอมูล จึงไดใสลูกศรไวที่ปลายของกราฟแตละเสน
ครูควรฝกใหนักเรียนดูกราฟในภาพรวม เชน ในตัวอยางที่ 1 หลังจากตอบคําถามแลวครู
ควรใหนักเรียนอภิปรายรวมกันเพื่อใหไดขอสรุปวา ในระยะเริ่มตนเสนกราฟแสดงเงินลงทุนอยูเหนือ
เสนกราฟแสดงรายได และเมื่อผลิตน้ําฝรั่ง 200 ขวด เงินลงทุนและรายไดจะเทากับ 4,000 บาทเทากัน
ซึ่งเปนจุดคุมทุน และเมื่อผลิตน้ําฝรั่งมากกวา 200 ขวดขึ้นไป เสนกราฟแสดงรายไดจะอยูเหนือเสนกราฟ
แสดงเงินลงทุน จากลักษณะของเสนกราฟทั้งสองขางตนจะสรุปไดวา ถาผลิตน้ําฝรั่งนอยกวา 200 ขวด
ก็จะขาดทุนและเมื่อผลิตมากกวา 200 ขวด จะมีกําไร
4. ในตัวอยางที่ 2 กอนตอบคําถาม ครูควรใหนักเรียนชวยกันพิจารณาและอภิปรายวากราฟแต
ละเสนสอดคลองกับสถานการณของโจทยอยางไร เชน รถยนตคันที่หนึ่งเดินทางดวยอัตราเร็วที่แตกตางกัน
เปนชวง ๆ และมีการหยุดพัก ดังนั้น กราฟแสดงการเดินทางของรถยนตคันที่หนึ่งจึงเปนสวนของเสนตรง
สามสวนเชื่อมตอกัน ครูควรใชคําถามใหนักเรียนอภิปรายกราฟในชวงเวลา 10.00 น. ถึง 11.00 น. ซึ่งได
กราฟเปนสวนของเสนตรงที่ขนานกับแกน X ซึ่งแสดงวาเวลาผานไปแตระยะทางที่ไดยังคงเทาเดิม
31
สําหรับรถยนตคันที่สองแลนดวยอัตราเร็วสม่ําเสมอ กราฟแสดงการเดินทางของรถยนตคันที่
สองจึงเปนสวนของเสนตรงเดียวกัน เพื่อตอบคําถามขอ 4) และดูแนวโนมของการเดินทางของรถยนตทั้ง
สองคัน จึงตอกราฟดวยเสนประและมีลูกศรที่ปลายกราฟ
เพื่อฝกใหนักเรียนมองเห็นภาพรวมของกราฟ หลังจากตอบคําถามที่กําหนดใหแลว ครูควร
ใหนักเรียนชวยกันอภิปรายจนไดแนวคิดในการพิจารณาจากกราฟ จะทราบไดวารถยนตคันใดแลนนําหนา
รถยนตคันในชวงเวลาใด โดยดูเพียงวาเสนกราฟของรถยนตคันใดอยูเหนือเสนกราฟของรถยนตคันใด
5. ในแบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 ครูควรแนะนําใหนักเรียนเขียนตารางแสดงคาของจํานวนที่สัมพันธ
กัน หรือเขียนความสัมพันธในรูปสมการกอนจะเขียนกราฟ แลวจึงตอบคําถาม
สําหรับขอ 6 กราฟที่กําหนดใหมีลักษณะพิเศษที่นักเรียนไมเคยพบมากอน ครูควรนําปญหา
ขอนี้มาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนโดยใหนักเรียนทําความเขาใจโจทยและกราฟ ใหรูวาแกน Y แสดง
ระยะทางที่เมือง ก อยูหางจากเมือง ข 240 กิโลเมตร จุดที่กราฟตัดกันเปนจุดที่วิชัยและวิโรจนพบกัน
แกน X แสดงเวลาและเมื่อเวลาผานไปแมการเดินทางของแตละคนจะไดระยะทางมากขึ้น แตการเดินทาง
ของวิชัยจะเขาใกลเมือง ข ไปเรื่อย ๆ แลวนําความรูความเขาใจที่ไดตอบคําถามในหนังสือเรียน
2.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร (7 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บอกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได
2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได
3. บอกลักษณะที่สําคัญบางประการของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูยกตัวอยางโจทยที่แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีกราฟอยูในแนวเสนตรง
เดียวกัน เริ่มตนอาจกําหนดเงื่อนไขของ x และ y เปนจํานวนเต็มกอน เมื่อเขียนกราฟที่ไดเปนจุดเรียง
กันอยูในแนวเสนตรงแลว ครูอาจเพิ่มเงื่อนไขให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ ใหนักเรียนเห็นกราฟ
ตอเนื่องเปนเสนตรง แลวจึงแนะนํารูปสมการเชิงเสนสองตัวแปรตามที่ใหไวในหนังสือเรียน
2. กิจกรรม “บอกไดหรือไม” ในขอ 1 ขอยอย 5) ครูอาจแสดงใหนักเรียนเห็นวาสมการ
1.2x + 0y = 3.5 เปนสมการเดียวกับสมการ 1.2x = 3.5 แลวใหนักเรียนสรุปไดเองวา 1.2x = 3.5 เปน
สมการเชิงเสนสองตัวแปร สําหรับขอ 2 ครูควรแนะนําใหนักเรียนเขียนสมการที่กําหนดใหอยูในรูป
Ax + By + C = 0 กอน แลวจึงระบุคา A, B และ C เชน
x – 3y + 5 = 0
เขียนเปน (1)x + (-3)y + 5 = 0
จะได A = 1, B = -3 และ C = 5
32
3. ในการเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร ครูควรย้ํากับนักเรียนใหหาคูอันดับที่
สอดคลองสามจุดกอน เชน ในกรณีที่ทราบวา x และ y เปนจํานวนจริง กราฟของสมการจะเปน
เสนตรง การเลือกคูอันดับที่สอดคลองควรเลือกแทนคา x และ y เปนจํานวนเต็ม ซึ่งงายตอการคํานวณ
และการเขียนกราฟ ครูอาจใหขอสังเกตวา ถากําหนดให x หรือ y เทากับ 0 อาจทําใหการคํานวณหา
สมาชิกของคูอันดับที่สอดคลองกับสมการทําไดงายขึ้น
4. สําหรับกิจกรรม “กราฟของ y = B
C- , B ≠ 0” และ “กราฟของ x = A
C- , A ≠ 0”
ตองการใหนักเรียนสรุปไดวากราฟขนานกับแกน X หรือแกน Y เทานั้น เมื่อใหนักเรียนตอบคําถามแลว
ครูควรใหนักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปลักษณะสําคัญเกี่ยวกับกราฟโดยวิเคราะหจากสมการ เพื่อนําไป
ชวยในการเขียนกราฟตอไป
5. สําหรับกิจกรรม “ลองเขียนดู” มีเจตนาใหนําความรูที่ไดจากกิจกรรมในขอ 3 มาใช ครูควร
ใหนักเรียนชวยกันสรุปรูปแบบทั่วไปของสมการที่มีกราฟขนานกับแกน X และสมการที่มีกราฟขนานกับ
แกน Y
6. สําหรับกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” มีเจตนาใหนักเรียนคนพบเงื่อนไขที่ทําใหกราฟของ
สองสมการเปนเสนตรงที่ขนานกัน สามารถใชเงื่อนไขนี้ไปวิเคราะหกราฟของสมการที่กําหนดใหได
สําหรับกิจกรรม “ตัดกันที่จุดใด” มีเจตนาใหนักเรียนคนพบเงื่อนไขที่ทําใหกราฟของสอง
สมการเปนเสนตรงที่ตัดกัน
หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมทั้งสองแลว ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปเงื่อนไขที่ใชพิจารณา
สมการเพื่อบอกลักษณะของกราฟที่ขนานกันและตัดกันดังขอสรุปที่ใหไวในหนังสือเรียนหนา 98
7. ในแบบฝกหัด 2.2 ข ขอ 1 หลังจากทําแบบฝกหัด ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปเปนกรณี
ทั่วไปวา กราฟที่ผานจุดกําเนิดจะมีเงื่อนไขอยางไรและในทางกลับกันดวย เพื่อนําความรูที่ไดไปใชงาน
ตอไป
สําหรับขอ 2 – 5 ครูควรใหนักเรียนไดใชประโยชนจากขอสรุปในหนา 98 เกี่ยวกับลักษณะ
สําคัญบางประการมาชวยในการเขียนกราฟและตอบคําถาม
2.3 กราฟกับการนําไปใช (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถอานและแปลความหมายของกราฟที่กําหนดใหได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 มีคําถาม 4 ขอแรกเปนคําถามนําเพื่อไปสูขอสรุปในขอ 5
ซึ่งเปนจุดประสงคที่ตองการใหนักเรียนอธิบายภาพรวมของกราฟได สวนตัวอยางที่ 3 เปนความสัมพันธที่
33
กราฟมีลักษณะเปนขั้นบันไดที่นักเรียนจะพบบอยขึ้นในดานสังคมศาสตร ครูควรทําความเขาใจกับนักเรียน
ในเรื่องการอานและการแปลความหมายกราฟ อาจสุมใหนักเรียนอานกราฟเปนบางชวงเพื่อตรวจสอบ
ความเขาใจ
2. โจทยแตละขอในแบบฝกหัด 2.3 เสนอไวใหนักเรียนไดฝกอาน วิเคราะหและแปล
ความหมายกราฟในภาพรวมได ในขั้นตนของการฝกอธิบายกราฟ ครูควรแนะนําใหนักเรียนพิจารณา
ขอมูลเปนชวง ๆ แลวสรุปเปนภาพรวม ครูอาจใหนักเรียนชวยกันพิจารณาเปนกลุม มีอภิปรายรวมกัน
และชวยกันสรุป
3. สําหรับกิจกรรม “บอลกระทบพื้น” ครูอาจใหนักเรียนทดลองปลอยลูกปงปองลงบนพื้น
ซีเมนต แลวสังเกตการกระดอนของลูกปงปองที่ขึ้นลงเปนชวง ๆ พิจารณาอัตราเร็วในการเคลื่อนที่และ
ระดับความสูงของลูกปงปองเหนือพื้น เพื่อใชเปนแนวในการเขียนอธิบายกราฟ
4. สําหรับกิจกรรม “คูของใคร” มีเจตนาใหเห็นเปนตัวอยางกราฟที่มีการนําไปใชในการ
ประเมินผลเชิงคิดวิเคราะหตามแนวการเรียนรูกราฟแบบใหมมากขึ้น ครูควรฝกใหนักเรียนอานและแปล
ความหมายจากเงื่อนไขในโจทยเปนกราฟและจากกราฟเปนเงื่อนไขในโจทย ฝกการคิดวิเคราะหตามขอมูล
และกราฟที่กําหนดให ในบางกรณีครูอาจตองชี้แนะใหพิจารณาความสัมพันธที่เกี่ยวของกับขอมูลในกราฟ
ดวย เชน
ขอ 1 กราฟแสดงการเดินของปู ปลา และกุง จะเห็นวากราฟกําหนดแกนนอนเปนเวลา และ
แกนตั้งเปนระยะทาง แตนักเรียนตองแปลความหมายกราฟในรูปของอัตราเร็ว ซึ่งนักเรียนตองมีความเขาใจ
เปนพื้นฐานวา อัตราเร็ว = เวลา
ระยะทาง จึงจะสามารถอานวิเคราะหกราฟไดอยางถูกตอง
หลังจากใหนักเรียนตอบคําถามขอ 3 แลว ครูอาจใชคําถามกระตุนใหนักเรียนเกิดความ
อยากรูตอไดอีก เชน จากกราฟสามารถทราบระยะทางโดยประมาณที่นัทใชเวลาขับรถนาน 4 ชั่วโมง
ไดหรือไม โดยครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.3 มาใหความรูเพิ่มเติมเพื่อตอบคําถามดังกลาว
34
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 2.1
1.
1) กราฟแสดงความสัมพันธ 2y + x = 12 เมื่อ x และ y เปนจํานวนนับ
Y
129 10 118765432
1
2
3
4
5
6
10 X
เปนความสัมพันธเชิงเสน
หรือกราฟแสดงความสัมพันธ y + 2x = 12 เมื่อ x และ y เปนจํานวนนับ
7
11
10
9
8
7
6
5
4
3
2
1
0 1 2 3 4 5 6
Y
X
เปนความสัมพันธเชิงเสน
35
2) กราฟแสดงความสัมพันธ y = x + 5 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็ม
Y
1
2
3
4
5
6
7
8
9
-4 -3 -2 -1 3 4210
-1
X
เปนความสัมพันธเชิงเสน
หรือกราฟแสดงความสัมพันธ y = x – 5 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็ม
Y
-4
-1
-2
-3
-5
-6
0 1-1
1
2
2 3
3
4 5 6 7 8 X
เปนความสัมพันธเชิงเสน
36
3)
มิลลิเมตร
10
20
30
40
50
60
70
80
80 1 2 3 4 5 6 7
เซนติเมตร
เปนความสัมพันธเชิงเสน
4)
76
10
0 1 2 3 4 5
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ความยาว
ความกวาง
เปนความสัมพันธเชิงเสน
37
2.
1) เมื่อถวงดวยตุมน้ําหนัก 5 กรัม ลวดสปริงจะยาว
3.25 เซนติเมตร
เมื่อถวงดวยตุมน้ําหนัก 25 กรัม ลวดสปริงจะ
ยาว 4.25 เซนติเมตร
2) 15 กรัม
3) ถาตุมน้ําหนักที่ถวงเพิ่มขึ้น แลวความยาวของ
ลวดสปริงเพิ่มขึ้น
1
2
3
4
5
6
7
6050403020100
Y
X
3.
x 3 6 9 12 15 18
y 1 2 3 4 5 6
1)
0 2 4 6 8 10 12 14 16 18
1
2
3
4
5
6
7
Y
X
2) ประมาณ 1.7 กิโลเมตร
38
4.
1) 29 ลิตร
2) 230 กิโลเมตร
3) 350 กิโลเมตร
Y
0 30252010 155 4035
50
100
150
200
250
300
350
X
5.
0 200000 300000 400000100000
รายรับ
20000
15000
10000
5000
บริษัทรักเรียน
บริษัทเรียนดี
ยอดขาย
1) เมื่อยอดขายสินคาเปน 200,000 บาท รายรับของพนักงานขายของทั้งสองบริษัทจะเทากัน
2) ถายอดขายสินคานอยกวา 200,000 บาท พนักงานขายของบริษัทรักเรียนจะมีรายรับตอ
เดือนมากกวาพนักงานขายของบริษัทเรียนดี
ถายอดขายสินคาเทากับ 200,000 บาท พนักงานขายของทั้งสองบริษัทจะมีรายรับตอเดือน
เทากัน
ถายอดขายสินคามากกวา 200,000 บาท พนักงานขายของบริษัทเรียนดีจะมีรายรับตอเดือน
มากกวาพนักงานขายของบริษัทรักเรียน
39
6.
1) วิชัยเริ่มออกเดินทางเวลา 7.00 นาฬิกา วิโรจนเริ่มออกเดินทางเวลา 9.00 นาฬิกา
2) 240 กิโลเมตร
3) วิชัยและวิโรจนจะพบกันเวลา 11.00 นาฬิกา หางจากเมือง ข 120 กิโลเมตร
4) วิโรจนถึงจุดหมายกอนวิชัย และถึงกอน 1 ชั่วโมง
5) วิชัยเริ่มออกเดินทางจากเมือง ก เวลา 7.00 นาฬิกาดวยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรตอชั่วโมงเปน
เวลา 2 ชั่วโมง แลวหยุดพัก 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงเดินทางตอดวยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรตอ
ชั่วโมงจนถึงเมือง ข เวลา 14.00 นาฬิกา
วิโรจนออกเดินทางจากเมือง ข เวลา 9.00 นาฬิกา ดวยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง
เปนเวลา 4 ชั่วโมงจนถึงเมือง ข เวลา 13.00 นาฬิกา
คําตอบกิจกรรม “บอกไดหรือไม”
1.
1) เปน
2) ไมเปน
3) เปน
4) ไมเปน
5) เปน
2.
1) 5x – 2y – 9 = 0 A = 5, B = -2 และ C = -9
2) -7x + 6.4y + 1 = 0 A = -7, B = 6.4 และ C = 1
3)
2
1 x – y –
3
4 = 0 A =
2
1 , B = -1 และ C = –
3
4
4) -3x – 1.5y = 0 A = -3, B = -1.5 และ C = 0
5) 6y – 3.5 = 0 A = 0, B = 6 และ C = -3.5
40
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก
1.
x 0 2 4
y = x – 4 -4 -2 0
y = x – 4
Y
4
2
-6
-8 -6 -4 -2 8 X62 40
-2
-4
(2, -2)
(0, -4)
(4, 0)
2.
x -3 -2 0
y = -2x – 3 3 1 -3
2x + y = -3
Y
42-4
-4
-2
-2
0
4
2
(0, -3)
(-2, 1)
(-3, 3)
X
41
3.
x -4 -1 2
y = 3
1x −−
1 0 -1
-x – 3y = 1
X
Y
4
-4
-6 640 2-2-4
-2
2
(-1, 0)
(2, -1)
(-4, 1)
4.
x -2 0 2
y = 2x -4 0 4
(2, 4)
-4x + 2y = 0
4
Y
0 2
4
2
-2-4
-4
-2
(0, 0)
(-2, -4)
X
42
5.
x -5 0 5
y = 5
5x −
-2 -1 0
x – 5y = 5
Y
4
2
-4
-8 80 2 4 6-2-4-6
-2
(-5, -2)
(0, -1)
(5, 0)
X
6.
x 0 2 4
y = 2
63x −
-3 0 3
(4, 3)
Y
4
0-2-4 4
X
2
2
-2
-4
(2, 0)
(0, -3)
2y – 3x + 6 = 0
43
7.
x -1 0 1
y = 3x -3 0 3
Y
4
X
y – 3x = 0
0-2-4 2
2
4
-2
-4
(0, 0)
(1, 3)
(-1, -3)
8.
x -1 0 2
y = x2
5
−
2
5
0 -5
Y
2y + 5x = 0
0-2-4 4
X
2
2
4
-2
-4
(-1,
2
5
)
(2, -5)
(0, 0)
44
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = –C
B
, B ≠ 0”
1. ขนานกับแกน X
2. จุด (0, 3)
3. 3
4. 3
5. 3
6. ขนานกับแกน X และตัดแกน Y ที่จุด (0, -3)
7. ขนานกับแกน X และตัดแกน Y ที่จุด (0,
2
5 )
8. แกน X
9. เสนตรง มีสมการเปน y = 41
เสนตรง มีสมการเปน y = -22
10. เปนเสนตรงขนานกับแกน X หรือเปนแกน X
คําตอบกิจกรรม “กราฟของ x = - C
A
, A ≠ 0”
1. ขนานกับแกน Y
2. จุด (4, 0)
3. 4
4. 4
5. 4
6. ขนานกับแกน Y และตัดแกน X ที่จุด (2, 0)
7. ขนานกับแกน Y และตัดแกน X ที่จุด (-3, 0)
8. แกน Y
9. เสนตรง มีสมการเปน x = 31
เสนตรง มีสมการเปน x = -22
10. เปนเสนตรงขนานกับแกน Y หรือเปนแกน Y
45
คําตอบกิจกรรม “ลองเขียนดู”
1.
1)
4
X0-2-4 2
2
4
-2
-4
Y
x = 0
x = 1
2
1
x = -2
2)
y = -4
Y
4
2
0-2-4 2
-2
-4
y = 0
4
1
2
y =
X
46
2.
0-2-4 42
2
4
-2
-4
Y
X
x = -5 x = 4
2
1
-6 6
y = -5
y = 4
2
1
-6
6
จุดตัดของกราฟคือ จุด (-5, 4
2
1 ), จุด (4
2
1 , 4
2
1 ), จุด (4
2
1 , -5) และจุด (-5, -5)
3. เสนตรง มีสมการเปน y = 61
เสนตรง มีสมการเปน x = -52
เสนตรง มีสมการเปน x = 73
คําตอบกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร”
1. ขนานกัน
2. ขนานกัน
3. ขนานกัน
คําตอบกิจกรรม “ตัดกันที่จุดใด”
1. จุด (1, 2)
2. จุด (0, 2)
3. ตัดกัน
47
คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข
1.
1) ผานจุดกําเนิด
2) ผานจุดกําเนิด
3) ผานจุดกําเนิด
2x + y = 0
x – y = 0
2.
1)
0-2-4 42
2
4
-2
-4
Y
X
6
-6
6-6
y = 4x
y = 4x + 5
– 3
2 4-2-4 0
y = - 1
2
x y = -
2
4
-2
-4
Y
2
3
x
X
48
2)
y = -x + 3
Y
0-2-4 4
X
2
2
4
-2
-4
y = 2x + 3
3)
-4 -2
y = -3x + 4
Y
y = 4x
0 2 4
-4
-2
2
4
X
49
4)
Y
-4
2x + y + 1 = 0 -x + y – 5 = 0
0 2 4-2
2
4
-2
-4
X
3.
1)
Y
4
2
0
-4
-2
-4 -2 642
x – y = 2
y = 4
X
จุดตัดของกราฟคือ จุด (6, 4)
50
2)
-4 -2
2x + y = 5 x = 2
Y
0 2 4
2
4
-2
-4
X
จุดตัดของกราฟคือ จุด (2, 1)
3)
2x + y = 1
-4 0-2 2 4
4
2
-2
-4
2x – y = 3
Y
X
จุดตัดของกราฟคือ จุด (1, -1)
4.
1) ขนานกัน
2) ตัดกัน
3) ตัดกัน
4) ขนานกัน
51
5. เสนตรง มีสมการเปน y =1
2
7 x + 3
เสนตรง มีสมการเปน y =2
2
7 x
เสนตรง มีสมการเปน y = -x – 33
คําตอบแบบฝกหัด 2.3
1.
1) 0.6 เซนติเมตร
2) 5 วินาที
3) 0.6 เซนติเมตร
4) 1.8 เซนติเมตร
5) ในชวง 0 ถึง 2 วินาที รถยนตเด็กเลนแลนดวยอัตราเร็วที่นอยกวาในชวง 2 วินาทีถึง 4
วินาที
6) ในชวง 2 วินาทีถึง 4 วินาที รถยนตเด็กเลนเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่มากกวาในชวง 0 ถึง
2 วินาที
ในชวง 4 วินาทีถึง 6 วินาที รถยนตเด็กเลนเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่มากกวาในชวง 2 วินาที
ถึง 4 วินาที
2.
1) ประมาณ 2.2 ตารางเซนติเมตร
2) 4 เซนติเมตร
3) พื้นที่ที่คํานวณจากสมการกับการประมาณจากกราฟจะเทากันหรือใกลเคียงกัน
4) เมื่อความยาวของดานเพิ่มขึ้น พื้นที่ก็จะเพิ่มขึ้น โดยอัตราการเพิ่มของพื้นที่จะมากขึ้นและ
มากขึ้นอยางรวดเร็ว
3.
1) 1,800 เมตร ในเวลา 3 วินาที
2) 1,600 เมตร
3) 1 วินาที และ 5 วินาที
4) เมื่อเริ่มยิงจรวด จรวดจะขึ้นจากพื้นดินดวยอัตราเร็วสูงมากในชวงเวลาแรก ๆ ตอจากนั้นจะ
ชาลงจนถึงจุดสูงสุดที่ความสูง 1,800 เมตร ณ วินาทีที่ 3 แลวจะตกลงในชวงเวลาถัดมา
ดวยอัตราเร็วที่ชาและเร็วมากขึ้นจนถึงพื้นดิน ณ วินาทีที่ 6
52
4.
1) ประมาณ 380 มิลลิกรัม
2) ประมาณ 2.5 ชั่วโมง หรือ 2 ชั่วโมง 30 นาที
3) ประมาณ 90 มิลลิกรัม
4) ประมาณ 300 มิลลิกรัม
5) ประมาณ 12.5 ชั่วโมง หรือ 12 ชั่วโมง 30 นาที
6) ในชวง 0 ถึง 2 2
1
ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดลงอยางรวดเร็วจาก 500 มิลลิกรัม
เหลือประมาณ 250 มิลลิกรัม
ในชวง 2 2
1
ชั่วโมงถึง 5 ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดลงชาลงกวาเดิมจากประมาณ
250 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 125 มิลลิกรัม
ในชวง 5 ชั่วโมงถึง 7 2
1
ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดลงชาลงยิ่งขึ้นจากประมาณ
125 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 62.5 มิลลิกรัม
ในชวง 7 2
1
ชั่วโมงถึง 10 ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดชาลงยิ่งขึ้นยิ่งขึ้นจากประมาณ
62.5 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 31 มิลลิกรัม ตอจากนั้นปริมาณยาในรางกาย ก็จะลดชาลง
เรื่อย ๆ จนเหลือนอยมาก
5.
1) 30 °C ละลายได 35 กรัม
2) โซเดียมคลอไรด
3) โพแทสเซียมคลอไรด
4) ที่อุณหภูมิ 0°C ขึ้นไปแตไมถึง 30°C โซเดียมคลอไรดจะมีความสามารถในการละลายได
มากกวาโพแทสเซียมคลอไรด ที่อุณหภูมิ 30°C โซเดียมคลอไรดและโพแทสเซียมคลอไรด
จะมีความสามารถในการละลายเทากัน ที่อุณหภูมิสูงกวา 30°C โพแทสเซียมคลอไรดจะมี
ความสามารถในการละลายไดมากกวาโซเดียมคลอไรด
5) โพแทสเซียมคลอไรดมีความสามารถในการละลายไดมากกวาโซเดียมคลอไรด
6.
1) 11 แอมแปร
2) 22 แอมแปร
3) ระบบ 220 โวลต
4) 11 โอหม
5) 22 โอหม
53
6) ระบบ 220 โวลต
7) ถาความตานทานเพิ่มขึ้น ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานจะลดลง
8) ถาปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานเพิ่มขึ้น จะตองเปลี่ยนความตานทานใหนอยลง
7.
1) 50 บาท
2) 50 บาท
3) 65 บาท
4) 75 บาท
5) 6 ลูกบาศกเมตรขึ้นไป แตไมถึง 7 ลูกบาศกเมตร
6) ไมใชอัตราเดียวกัน กลาวคือ คาน้ําประปาไมถึง 10 ลูกบาศกเมตรแรกคิดลูกบาศกเมตรละ
5 บาท ตั้งแตลูกบาศกเมตรที่ 10 ขึ้นไปคิดลูกบาศกเมตรละ 7.50 บาท
8.
1) 2,000 ชิ้น และ 20,000 ชิ้น
2) ขาดทุน
3) ไดกําไร
4) ขาดทุน
5) 10,000 ชิ้น
6) ถาผลิตสินคาไมถึง 2,000 ชิ้นจะขาดทุน แตเมื่อผลิตสินคา 2,000 ชิ้นจะคุมทุน และเมื่อ
ผลิตสินคาเพิ่มขึ้นจะไดกําไรมากขึ้นจนกระทั่งผลิต 10,000 ชิ้นจะไดกําไรสูงสุด ถาผลิต
สินคาเพิ่มขึ้นมากกวา 10,000 ชิ้นขึ้นไปจะไดกําไรลดลงเรื่อย ๆ จนถึง 20,000 ชิ้นซึ่งเปน
จุดคุมทุน จากนั้นถาผลิตเพิ่มขึ้นมากกวา 20,000 ชิ้นก็จะขาดทุนมากขึ้นเรื่อย ๆ
คําตอบกิจกรรม “บอลกระทบพื้น”
ในชวง 0 ถึง 5 วินาที ลูกบอลถูกปลอยจากความสูง 2.5 เมตรลงพื้น โดยลูกบอลเคลื่อนที่ดวย
อัตราเร็วที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นจนกระทบพื้น
ในชวง 0.5 วินาทีถึง 1.1 วินาที ลูกบอลกระดอนขึ้นดวยอัตราเร็วที่นอยกวาอัตราเร็วที่ตกลงพื้น
ครั้งแรก โดยลูกบอลเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่คอย ๆ ลดลงจนถึงจุดสูงสุดที่ความสูงนอยลงเหลือประมาณ
1.1 เมตร แลวจึงตกลงดวยอัตราเร็วที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นจนกระทบพื้น
ในชวง 1.1 วินาทีถึง 1.5 วินาที และชวงเวลาอื่น ๆ ถัดไป ลูกบอลจะเคลื่อนที่ลักษณะ
เชนเดียวกับในชวง 0.5 วินาทีถึง 1.1 วินาที
54
คําตอบกิจกรรม “คูของใคร”
1. รูป ก แสดงการเดินทางของปู เนื่องจาก กราฟแสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วคงที่
รูป ข แสดงการเดินทางของกุง เนื่องจาก กราฟแสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ
รูป ค แสดงการเดินทางของปลา เนื่องจาก กราฟแสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
2. รูป ค แสดงความสูงของมนุษยเมื่อเทียบกับเวลาเปนปตั้งแตเกิดจนอายุ 25 ปไดดีที่สุด
เพราะรูป ก แสดงความสูงที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับอายุ รูป ข แสดงความสูงที่เพิ่มขึ้นจนถึง
ชวงอายุหนึ่ง แลวความสูงลดลง แตรูป ค แสดงความสูงที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นในชวงอายุหนึ่ง และ
เพิ่มขึ้นเร็วขึ้นในชวงอายุถัดไป จากนั้นมีความสูงเทาเดิม จึงนาจะแสดงความสูงของมนุษยตั้งแตเกิด
จนอายุ 25 ปเมื่อเทียบกับเวลาเปนปไดดีที่สุด
3. สถานการณในขอ 3 เพราะกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของรถดวยอัตราเร็วจาก 0 กิโลเมตรตอชั่วโมง
จนถึง 80 กิโลเมตรตอชั่วโมงในชวงเวลา 1 ชั่วโมงแรก แลวแลนดวยอัตราเร็วคงที่ 80 กิโลเมตร
ตอชั่วโมงเปนเวลา 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นจึงลดอัตราเร็วลงเรื่อย ๆ จนเปน 0 กิโลเมตรตอชั่วโมงใน
เวลา 2 ชั่วโมง
55
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
56
กิจกรรมเสนอแนะ 2.3
กิจกรรมนี้ตองการเชื่อมโยงความรูเรื่องกราฟกับพื้นที่ เพื่อใชแสดงความสัมพันธ
ระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางและอัตราเร็ว กับระยะทางที่ได
แนวการจัดกิจกรรม
1. ครูใหนักเรียนพิจารณากราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางและอัตราเร็ว
จากรูป ก เปรียบเทียบกับพื้นที่สวนที่แรเงาของรูป ข แลวใชคําถามเพื่อใหนักเรียนมองเห็นความสัมพันธ
และคําตอบดังตอไปนี้
อัตราเร็ว (กิโลเมตร / ชั่วโมง) อัตราเร็ว (กิโลเมตร / ชั่วโมง)
A B
210
CD
0 1 2
BA50 50
รูป ก รูป ข
เวลา (ชั่วโมง) เวลา (ชั่วโมง)
1) กราฟรูป ก AB แสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วคงที่ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง เปนเวลา
2 ชั่วโมง จะไดวา
ระยะทางในการเดินทาง = อัตราเร็ว × เวลา
= 50 × 2
= 100 กิโลเมตร
2) กราฟรูป ข แสดงพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่อยูระหวาง AB กับแกน X ในชวงเวลา
0 ถึง 2 ชั่วโมง จะไดวา ความกวางของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนดวย DA ซึ่ง
DA = 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง
ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนดวย DC ซึ่ง DC = 2 ชั่วโมง
พื้นที่ของ ABCD = กวาง × ยาว
= 50 × 2
= 100 กิโลเมตร
57
2. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความเกี่ยวของระหวางกราฟรูป ก และกราฟรูป ข และใหได
ขอสรุปวา เมื่อมีกราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางกับอัตราเร็ว จะสามารถหา
ระยะทางในการเดินทางทั้งหมดได โดยอาศัยการหาพื้นที่ของรูปปดที่อยูระหวางกราฟกับแกน X
3. ครูยกตัวอยางสถานการณเพิ่มเติมพรอมตัวอยางแนวคิด ดังนี้
จากรูป กราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาในการเดินเทา
ของศักดิ์กับอัตราเร็ว จงหา
อัตราเร็ว (เมตรตอนาที)
1) ระยะทางทั้งหมดที่ศักดิ์เดินเทาในเวลา 60 นาที
2) อัตราเร็วเฉลี่ยในการเดินเทา
40 A B
200
C
50 60
D
เวลา (นาที)
1) ระยะทางทั้งหมดที่ศักดิ์เดินเทา เทากับ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD
เนื่องจากพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = 2
1 × (AB + DC) × 40
จะไดระยะทางทั้งหมด = 2
1 × (30 + 60) × 40
= 1,800 เมตร
ดังนั้น ศักดิ์เดินไดระยะทางทั้งหมด 1,800 เมตร
2) อัตราเร็วเฉลี่ยในการเดินเทาของศักดิ์ เทากับ 60
800,1
= 30 เมตรตอนาที
4. ใหนักเรียนหาระยะทางทั้งหมดและอัตราเร็วเฉลี่ยในการขับรถของนัท จากกราฟขอ 3
ในกิจกรรม “คูของใคร” ในหนังสือเรียน หนา 117
[ระยะทางทั้งหมด 200 กิโลเมตรและอัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง]
5. ครูอาจใหโจทยเพิ่มเติมโดยนักเรียนหาระยะทางทั้งหมดในการเดินทางและอัตราเร็วเฉลี่ยจาก
กราฟที่กําหนดให เชน
กราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางและอัตราเร็วในการขับรถของสินชัย
เปนดังนี้
58
อัตราเร็ว (กิโลเมตร / ชั่วโมง)
100
210 3
เวลา (ชั่วโมง)
[ระยะทางทั้งหมด 125 กิโลเมตรและอัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง]

More Related Content

What's hot

ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตอนุชิต ไชยชมพู
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2jutarattubtim
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53GiveAGift
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันAon Narinchoti
 

What's hot (13)

Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิตข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
ข้อสอบ เอกสาร แบรนด์ซัมเมอร์แคมป์ 2011 คณิต
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
Set
SetSet
Set
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1Add m2-2-chapter1
Add m2-2-chapter1
 

Viewers also liked

Viewers also liked (18)

Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2Add m3-2-chapter2
Add m3-2-chapter2
 
Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3Add m3-1-chapter3
Add m3-1-chapter3
 
Add m1-2-link
Add m1-2-linkAdd m1-2-link
Add m1-2-link
 
Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3Add m4-2-chapter3
Add m4-2-chapter3
 
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
04 เซต ตอนที่3_เอกลักษณ์ของการดำเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
24 จำนวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 

Similar to Basic m3-1-chapter2

แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่Cha Rat
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1yinqpant
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103พัน พัน
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
กสพท53 math
กสพท53 mathกสพท53 math
กสพท53 mathTKAomerz
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 

Similar to Basic m3-1-chapter2 (20)

Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3Add m2-1-chapter3
Add m2-1-chapter3
 
แผนที่
แผนที่แผนที่
แผนที่
 
Add m2-2-chapter3
Add m2-2-chapter3Add m2-2-chapter3
Add m2-2-chapter3
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
Pre โควตา มช. คณิตศาสตร์1
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
กสพท53 math
กสพท53 mathกสพท53 math
กสพท53 math
 
Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
31201final531
31201final53131201final531
31201final531
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (17)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m3-1-chapter2

  • 1. บทที่ 2 กราฟ (15 ชั่วโมง) 2.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน (3 ชั่วโมง) 2.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร (7 ชั่วโมง) 2.3 กราฟกับการนําไปใช (5 ชั่วโมง) นักเรียนเคยศึกษากราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดมาแลว ในบทนี้นักเรียนจะได ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสน กราฟของ สมการเชิงเสนสองตัวแปรที่มีกราฟเปนเสนตรง ทั้งยังกลาวถึงการอานและแปลความหมายของกราฟที่มี ลักษณะอื่น ๆ ซึ่งอาจพบเห็นในชีวิตประจําวันทั้งทางดานวิทยาศาสตรและสังคมศาสตร เนื้อหาของบทนี้ นอกจากจะเนนการเขียนกราฟของความสัมพันธเชิงเสนและสมการเชิงเสนสอง ตัวแปร การอานและแปลความหมายกราฟที่กําหนดใหแลว ยังตองการเนนใหนักเรียนสามารถแปล ความหมายของภาพรวมของกราฟไดอีกดวย การแปลความหมายของภาพรวมของกราฟเปนสาระใหมที่ครู ตองใหความสําคัญ และควรใหนักเรียนไดฝกฝนในการแปลความหมาย ฝกคิดวิเคราะหขอมูลจากกราฟ ที่กําหนดใหอยางมีขั้นตอน เพื่อนําไปสูการแปลความหมายที่ถูกตองและสมเหตุสมผล ในการอานคาตาง ๆ จากกราฟ ครูไมควรเขมงวดกับคําตอบที่นักเรียนอานไดวาตองตรงกับที่ให ไวในหนังสือเรียนหรือที่เฉลยไวในคูมือครู นักเรียนอาจตอบเปนคาที่แทจริงหรือคาประมาณก็ไดตาม ความเหมาะสมของขอมูลและสถานการณตามแนวคิดของนักเรียน เพื่อใหนักเรียนไดฝกทักษะในการอาน และวิเคราะหกราฟ ครูอาจหากราฟแบบตาง ๆ มาใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งจะชวยใหนักเรียนมี การพัฒนาทางดานความรูสึกเชิงกราฟมากยิ่งขึ้น ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. เขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนได 2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรได 3. อานและแปลความหมายกราฟที่กําหนดใหได
  • 2. 30 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2.1 กราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณที่มีความสัมพันธเชิงเสน (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถเขียนกราฟแสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธ เชิงเสนและแปลความหมายของกราฟได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับปริมาณสองชุดที่มีความสัมพันธเชิงเสนที่พบในชีวิตประจําวัน เชน จํานวนผูโดยสารกับคาโดยสารรถประจําทางที่คิดราคาเดียวกันเปนรายหัว ปริมาณน้ํามันกับราคาน้ํามัน ครูอาจใหนักเรียนนําเสนอความสัมพันธของปริมาณสองชุดที่สัมพันธกันแบบเชิงเสนเพิ่มเติม พรอมทั้ง เขียนกราฟของความสัมพันธนั้น แลวชวยกันสรุปวาความสัมพันธเชิงเสนระหวางปริมาณสองชุดอาจมี กราฟเปนเสนตรง หรือเปนสวนหนึ่งของเสนตรง หรือเปนจุดที่เรียงกันอยูในแนวเสนตรงเดียวกันซึ่งจุด เหลานี้อาจมีจํานวนจํากัดหรือไมจํากัดก็ได 2. ในการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการเขียนและการอานกราฟ ครูควรใหนักเรียนใชกระดาษกราฟ เพราะจะชวยใหเขียนกราฟไดเร็ว และอานกราฟไดถูกตองตามความเปนจริง 3. ครูควรชี้ใหนักเรียนสังเกตวา กราฟในตัวอยางที่ 1 มีลักษณะเปนจุดที่เรียงอยูในแนวเสนตรง เดียวกันโดยเขียนจุดตอกันเปนเสนประ ทั้งนี้เพราะวาจํานวนน้ําฝรั่งมีหนวยเปนขวดซึ่งเปนจํานวนนับ และเงินลงทุนและรายไดมีหนวยเปนบาท ซึ่งเปนจํานวนนับเชนกัน อีกทั้งขอมูลเหลานี้มีจํานวนจํากัด อยางไรก็ตามเพื่อดูแนวโนมของขอมูล จึงไดใสลูกศรไวที่ปลายของกราฟแตละเสน ครูควรฝกใหนักเรียนดูกราฟในภาพรวม เชน ในตัวอยางที่ 1 หลังจากตอบคําถามแลวครู ควรใหนักเรียนอภิปรายรวมกันเพื่อใหไดขอสรุปวา ในระยะเริ่มตนเสนกราฟแสดงเงินลงทุนอยูเหนือ เสนกราฟแสดงรายได และเมื่อผลิตน้ําฝรั่ง 200 ขวด เงินลงทุนและรายไดจะเทากับ 4,000 บาทเทากัน ซึ่งเปนจุดคุมทุน และเมื่อผลิตน้ําฝรั่งมากกวา 200 ขวดขึ้นไป เสนกราฟแสดงรายไดจะอยูเหนือเสนกราฟ แสดงเงินลงทุน จากลักษณะของเสนกราฟทั้งสองขางตนจะสรุปไดวา ถาผลิตน้ําฝรั่งนอยกวา 200 ขวด ก็จะขาดทุนและเมื่อผลิตมากกวา 200 ขวด จะมีกําไร 4. ในตัวอยางที่ 2 กอนตอบคําถาม ครูควรใหนักเรียนชวยกันพิจารณาและอภิปรายวากราฟแต ละเสนสอดคลองกับสถานการณของโจทยอยางไร เชน รถยนตคันที่หนึ่งเดินทางดวยอัตราเร็วที่แตกตางกัน เปนชวง ๆ และมีการหยุดพัก ดังนั้น กราฟแสดงการเดินทางของรถยนตคันที่หนึ่งจึงเปนสวนของเสนตรง สามสวนเชื่อมตอกัน ครูควรใชคําถามใหนักเรียนอภิปรายกราฟในชวงเวลา 10.00 น. ถึง 11.00 น. ซึ่งได กราฟเปนสวนของเสนตรงที่ขนานกับแกน X ซึ่งแสดงวาเวลาผานไปแตระยะทางที่ไดยังคงเทาเดิม
  • 3. 31 สําหรับรถยนตคันที่สองแลนดวยอัตราเร็วสม่ําเสมอ กราฟแสดงการเดินทางของรถยนตคันที่ สองจึงเปนสวนของเสนตรงเดียวกัน เพื่อตอบคําถามขอ 4) และดูแนวโนมของการเดินทางของรถยนตทั้ง สองคัน จึงตอกราฟดวยเสนประและมีลูกศรที่ปลายกราฟ เพื่อฝกใหนักเรียนมองเห็นภาพรวมของกราฟ หลังจากตอบคําถามที่กําหนดใหแลว ครูควร ใหนักเรียนชวยกันอภิปรายจนไดแนวคิดในการพิจารณาจากกราฟ จะทราบไดวารถยนตคันใดแลนนําหนา รถยนตคันในชวงเวลาใด โดยดูเพียงวาเสนกราฟของรถยนตคันใดอยูเหนือเสนกราฟของรถยนตคันใด 5. ในแบบฝกหัด 2.1 ขอ 1 ครูควรแนะนําใหนักเรียนเขียนตารางแสดงคาของจํานวนที่สัมพันธ กัน หรือเขียนความสัมพันธในรูปสมการกอนจะเขียนกราฟ แลวจึงตอบคําถาม สําหรับขอ 6 กราฟที่กําหนดใหมีลักษณะพิเศษที่นักเรียนไมเคยพบมากอน ครูควรนําปญหา ขอนี้มาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียนโดยใหนักเรียนทําความเขาใจโจทยและกราฟ ใหรูวาแกน Y แสดง ระยะทางที่เมือง ก อยูหางจากเมือง ข 240 กิโลเมตร จุดที่กราฟตัดกันเปนจุดที่วิชัยและวิโรจนพบกัน แกน X แสดงเวลาและเมื่อเวลาผานไปแมการเดินทางของแตละคนจะไดระยะทางมากขึ้น แตการเดินทาง ของวิชัยจะเขาใกลเมือง ข ไปเรื่อย ๆ แลวนําความรูความเขาใจที่ไดตอบคําถามในหนังสือเรียน 2.2 กราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร (7 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกคูอันดับที่สอดคลองกับสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได 2. เขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได 3. บอกลักษณะที่สําคัญบางประการของกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปรที่กําหนดใหได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูยกตัวอยางโจทยที่แสดงความสัมพันธระหวางปริมาณสองชุดที่มีกราฟอยูในแนวเสนตรง เดียวกัน เริ่มตนอาจกําหนดเงื่อนไขของ x และ y เปนจํานวนเต็มกอน เมื่อเขียนกราฟที่ไดเปนจุดเรียง กันอยูในแนวเสนตรงแลว ครูอาจเพิ่มเงื่อนไขให x และ y เปนจํานวนจริงใด ๆ ใหนักเรียนเห็นกราฟ ตอเนื่องเปนเสนตรง แลวจึงแนะนํารูปสมการเชิงเสนสองตัวแปรตามที่ใหไวในหนังสือเรียน 2. กิจกรรม “บอกไดหรือไม” ในขอ 1 ขอยอย 5) ครูอาจแสดงใหนักเรียนเห็นวาสมการ 1.2x + 0y = 3.5 เปนสมการเดียวกับสมการ 1.2x = 3.5 แลวใหนักเรียนสรุปไดเองวา 1.2x = 3.5 เปน สมการเชิงเสนสองตัวแปร สําหรับขอ 2 ครูควรแนะนําใหนักเรียนเขียนสมการที่กําหนดใหอยูในรูป Ax + By + C = 0 กอน แลวจึงระบุคา A, B และ C เชน x – 3y + 5 = 0 เขียนเปน (1)x + (-3)y + 5 = 0 จะได A = 1, B = -3 และ C = 5
  • 4. 32 3. ในการเขียนกราฟของสมการเชิงเสนสองตัวแปร ครูควรย้ํากับนักเรียนใหหาคูอันดับที่ สอดคลองสามจุดกอน เชน ในกรณีที่ทราบวา x และ y เปนจํานวนจริง กราฟของสมการจะเปน เสนตรง การเลือกคูอันดับที่สอดคลองควรเลือกแทนคา x และ y เปนจํานวนเต็ม ซึ่งงายตอการคํานวณ และการเขียนกราฟ ครูอาจใหขอสังเกตวา ถากําหนดให x หรือ y เทากับ 0 อาจทําใหการคํานวณหา สมาชิกของคูอันดับที่สอดคลองกับสมการทําไดงายขึ้น 4. สําหรับกิจกรรม “กราฟของ y = B C- , B ≠ 0” และ “กราฟของ x = A C- , A ≠ 0” ตองการใหนักเรียนสรุปไดวากราฟขนานกับแกน X หรือแกน Y เทานั้น เมื่อใหนักเรียนตอบคําถามแลว ครูควรใหนักเรียนชวยกันอภิปรายและสรุปลักษณะสําคัญเกี่ยวกับกราฟโดยวิเคราะหจากสมการ เพื่อนําไป ชวยในการเขียนกราฟตอไป 5. สําหรับกิจกรรม “ลองเขียนดู” มีเจตนาใหนําความรูที่ไดจากกิจกรรมในขอ 3 มาใช ครูควร ใหนักเรียนชวยกันสรุปรูปแบบทั่วไปของสมการที่มีกราฟขนานกับแกน X และสมการที่มีกราฟขนานกับ แกน Y 6. สําหรับกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” มีเจตนาใหนักเรียนคนพบเงื่อนไขที่ทําใหกราฟของ สองสมการเปนเสนตรงที่ขนานกัน สามารถใชเงื่อนไขนี้ไปวิเคราะหกราฟของสมการที่กําหนดใหได สําหรับกิจกรรม “ตัดกันที่จุดใด” มีเจตนาใหนักเรียนคนพบเงื่อนไขที่ทําใหกราฟของสอง สมการเปนเสนตรงที่ตัดกัน หลังจากนักเรียนทํากิจกรรมทั้งสองแลว ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปเงื่อนไขที่ใชพิจารณา สมการเพื่อบอกลักษณะของกราฟที่ขนานกันและตัดกันดังขอสรุปที่ใหไวในหนังสือเรียนหนา 98 7. ในแบบฝกหัด 2.2 ข ขอ 1 หลังจากทําแบบฝกหัด ครูควรใหนักเรียนชวยกันสรุปเปนกรณี ทั่วไปวา กราฟที่ผานจุดกําเนิดจะมีเงื่อนไขอยางไรและในทางกลับกันดวย เพื่อนําความรูที่ไดไปใชงาน ตอไป สําหรับขอ 2 – 5 ครูควรใหนักเรียนไดใชประโยชนจากขอสรุปในหนา 98 เกี่ยวกับลักษณะ สําคัญบางประการมาชวยในการเขียนกราฟและตอบคําถาม 2.3 กราฟกับการนําไปใช (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถอานและแปลความหมายของกราฟที่กําหนดใหได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในตัวอยางที่ 1 และตัวอยางที่ 2 มีคําถาม 4 ขอแรกเปนคําถามนําเพื่อไปสูขอสรุปในขอ 5 ซึ่งเปนจุดประสงคที่ตองการใหนักเรียนอธิบายภาพรวมของกราฟได สวนตัวอยางที่ 3 เปนความสัมพันธที่
  • 5. 33 กราฟมีลักษณะเปนขั้นบันไดที่นักเรียนจะพบบอยขึ้นในดานสังคมศาสตร ครูควรทําความเขาใจกับนักเรียน ในเรื่องการอานและการแปลความหมายกราฟ อาจสุมใหนักเรียนอานกราฟเปนบางชวงเพื่อตรวจสอบ ความเขาใจ 2. โจทยแตละขอในแบบฝกหัด 2.3 เสนอไวใหนักเรียนไดฝกอาน วิเคราะหและแปล ความหมายกราฟในภาพรวมได ในขั้นตนของการฝกอธิบายกราฟ ครูควรแนะนําใหนักเรียนพิจารณา ขอมูลเปนชวง ๆ แลวสรุปเปนภาพรวม ครูอาจใหนักเรียนชวยกันพิจารณาเปนกลุม มีอภิปรายรวมกัน และชวยกันสรุป 3. สําหรับกิจกรรม “บอลกระทบพื้น” ครูอาจใหนักเรียนทดลองปลอยลูกปงปองลงบนพื้น ซีเมนต แลวสังเกตการกระดอนของลูกปงปองที่ขึ้นลงเปนชวง ๆ พิจารณาอัตราเร็วในการเคลื่อนที่และ ระดับความสูงของลูกปงปองเหนือพื้น เพื่อใชเปนแนวในการเขียนอธิบายกราฟ 4. สําหรับกิจกรรม “คูของใคร” มีเจตนาใหเห็นเปนตัวอยางกราฟที่มีการนําไปใชในการ ประเมินผลเชิงคิดวิเคราะหตามแนวการเรียนรูกราฟแบบใหมมากขึ้น ครูควรฝกใหนักเรียนอานและแปล ความหมายจากเงื่อนไขในโจทยเปนกราฟและจากกราฟเปนเงื่อนไขในโจทย ฝกการคิดวิเคราะหตามขอมูล และกราฟที่กําหนดให ในบางกรณีครูอาจตองชี้แนะใหพิจารณาความสัมพันธที่เกี่ยวของกับขอมูลในกราฟ ดวย เชน ขอ 1 กราฟแสดงการเดินของปู ปลา และกุง จะเห็นวากราฟกําหนดแกนนอนเปนเวลา และ แกนตั้งเปนระยะทาง แตนักเรียนตองแปลความหมายกราฟในรูปของอัตราเร็ว ซึ่งนักเรียนตองมีความเขาใจ เปนพื้นฐานวา อัตราเร็ว = เวลา ระยะทาง จึงจะสามารถอานวิเคราะหกราฟไดอยางถูกตอง หลังจากใหนักเรียนตอบคําถามขอ 3 แลว ครูอาจใชคําถามกระตุนใหนักเรียนเกิดความ อยากรูตอไดอีก เชน จากกราฟสามารถทราบระยะทางโดยประมาณที่นัทใชเวลาขับรถนาน 4 ชั่วโมง ไดหรือไม โดยครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 2.3 มาใหความรูเพิ่มเติมเพื่อตอบคําถามดังกลาว
  • 6. 34 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 2.1 1. 1) กราฟแสดงความสัมพันธ 2y + x = 12 เมื่อ x และ y เปนจํานวนนับ Y 129 10 118765432 1 2 3 4 5 6 10 X เปนความสัมพันธเชิงเสน หรือกราฟแสดงความสัมพันธ y + 2x = 12 เมื่อ x และ y เปนจํานวนนับ 7 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2 1 0 1 2 3 4 5 6 Y X เปนความสัมพันธเชิงเสน
  • 7. 35 2) กราฟแสดงความสัมพันธ y = x + 5 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็ม Y 1 2 3 4 5 6 7 8 9 -4 -3 -2 -1 3 4210 -1 X เปนความสัมพันธเชิงเสน หรือกราฟแสดงความสัมพันธ y = x – 5 เมื่อ x และ y เปนจํานวนเต็ม Y -4 -1 -2 -3 -5 -6 0 1-1 1 2 2 3 3 4 5 6 7 8 X เปนความสัมพันธเชิงเสน
  • 8. 36 3) มิลลิเมตร 10 20 30 40 50 60 70 80 80 1 2 3 4 5 6 7 เซนติเมตร เปนความสัมพันธเชิงเสน 4) 76 10 0 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ความยาว ความกวาง เปนความสัมพันธเชิงเสน
  • 9. 37 2. 1) เมื่อถวงดวยตุมน้ําหนัก 5 กรัม ลวดสปริงจะยาว 3.25 เซนติเมตร เมื่อถวงดวยตุมน้ําหนัก 25 กรัม ลวดสปริงจะ ยาว 4.25 เซนติเมตร 2) 15 กรัม 3) ถาตุมน้ําหนักที่ถวงเพิ่มขึ้น แลวความยาวของ ลวดสปริงเพิ่มขึ้น 1 2 3 4 5 6 7 6050403020100 Y X 3. x 3 6 9 12 15 18 y 1 2 3 4 5 6 1) 0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 1 2 3 4 5 6 7 Y X 2) ประมาณ 1.7 กิโลเมตร
  • 10. 38 4. 1) 29 ลิตร 2) 230 กิโลเมตร 3) 350 กิโลเมตร Y 0 30252010 155 4035 50 100 150 200 250 300 350 X 5. 0 200000 300000 400000100000 รายรับ 20000 15000 10000 5000 บริษัทรักเรียน บริษัทเรียนดี ยอดขาย 1) เมื่อยอดขายสินคาเปน 200,000 บาท รายรับของพนักงานขายของทั้งสองบริษัทจะเทากัน 2) ถายอดขายสินคานอยกวา 200,000 บาท พนักงานขายของบริษัทรักเรียนจะมีรายรับตอ เดือนมากกวาพนักงานขายของบริษัทเรียนดี ถายอดขายสินคาเทากับ 200,000 บาท พนักงานขายของทั้งสองบริษัทจะมีรายรับตอเดือน เทากัน ถายอดขายสินคามากกวา 200,000 บาท พนักงานขายของบริษัทเรียนดีจะมีรายรับตอเดือน มากกวาพนักงานขายของบริษัทรักเรียน
  • 11. 39 6. 1) วิชัยเริ่มออกเดินทางเวลา 7.00 นาฬิกา วิโรจนเริ่มออกเดินทางเวลา 9.00 นาฬิกา 2) 240 กิโลเมตร 3) วิชัยและวิโรจนจะพบกันเวลา 11.00 นาฬิกา หางจากเมือง ข 120 กิโลเมตร 4) วิโรจนถึงจุดหมายกอนวิชัย และถึงกอน 1 ชั่วโมง 5) วิชัยเริ่มออกเดินทางจากเมือง ก เวลา 7.00 นาฬิกาดวยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรตอชั่วโมงเปน เวลา 2 ชั่วโมง แลวหยุดพัก 1 ชั่วโมง จากนั้นจึงเดินทางตอดวยอัตราเร็ว 40 กิโลเมตรตอ ชั่วโมงจนถึงเมือง ข เวลา 14.00 นาฬิกา วิโรจนออกเดินทางจากเมือง ข เวลา 9.00 นาฬิกา ดวยอัตราเร็ว 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง เปนเวลา 4 ชั่วโมงจนถึงเมือง ข เวลา 13.00 นาฬิกา คําตอบกิจกรรม “บอกไดหรือไม” 1. 1) เปน 2) ไมเปน 3) เปน 4) ไมเปน 5) เปน 2. 1) 5x – 2y – 9 = 0 A = 5, B = -2 และ C = -9 2) -7x + 6.4y + 1 = 0 A = -7, B = 6.4 และ C = 1 3) 2 1 x – y – 3 4 = 0 A = 2 1 , B = -1 และ C = – 3 4 4) -3x – 1.5y = 0 A = -3, B = -1.5 และ C = 0 5) 6y – 3.5 = 0 A = 0, B = 6 และ C = -3.5
  • 12. 40 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ก 1. x 0 2 4 y = x – 4 -4 -2 0 y = x – 4 Y 4 2 -6 -8 -6 -4 -2 8 X62 40 -2 -4 (2, -2) (0, -4) (4, 0) 2. x -3 -2 0 y = -2x – 3 3 1 -3 2x + y = -3 Y 42-4 -4 -2 -2 0 4 2 (0, -3) (-2, 1) (-3, 3) X
  • 13. 41 3. x -4 -1 2 y = 3 1x −− 1 0 -1 -x – 3y = 1 X Y 4 -4 -6 640 2-2-4 -2 2 (-1, 0) (2, -1) (-4, 1) 4. x -2 0 2 y = 2x -4 0 4 (2, 4) -4x + 2y = 0 4 Y 0 2 4 2 -2-4 -4 -2 (0, 0) (-2, -4) X
  • 14. 42 5. x -5 0 5 y = 5 5x − -2 -1 0 x – 5y = 5 Y 4 2 -4 -8 80 2 4 6-2-4-6 -2 (-5, -2) (0, -1) (5, 0) X 6. x 0 2 4 y = 2 63x − -3 0 3 (4, 3) Y 4 0-2-4 4 X 2 2 -2 -4 (2, 0) (0, -3) 2y – 3x + 6 = 0
  • 15. 43 7. x -1 0 1 y = 3x -3 0 3 Y 4 X y – 3x = 0 0-2-4 2 2 4 -2 -4 (0, 0) (1, 3) (-1, -3) 8. x -1 0 2 y = x2 5 − 2 5 0 -5 Y 2y + 5x = 0 0-2-4 4 X 2 2 4 -2 -4 (-1, 2 5 ) (2, -5) (0, 0)
  • 16. 44 คําตอบกิจกรรม “กราฟของ y = –C B , B ≠ 0” 1. ขนานกับแกน X 2. จุด (0, 3) 3. 3 4. 3 5. 3 6. ขนานกับแกน X และตัดแกน Y ที่จุด (0, -3) 7. ขนานกับแกน X และตัดแกน Y ที่จุด (0, 2 5 ) 8. แกน X 9. เสนตรง มีสมการเปน y = 41 เสนตรง มีสมการเปน y = -22 10. เปนเสนตรงขนานกับแกน X หรือเปนแกน X คําตอบกิจกรรม “กราฟของ x = - C A , A ≠ 0” 1. ขนานกับแกน Y 2. จุด (4, 0) 3. 4 4. 4 5. 4 6. ขนานกับแกน Y และตัดแกน X ที่จุด (2, 0) 7. ขนานกับแกน Y และตัดแกน X ที่จุด (-3, 0) 8. แกน Y 9. เสนตรง มีสมการเปน x = 31 เสนตรง มีสมการเปน x = -22 10. เปนเสนตรงขนานกับแกน Y หรือเปนแกน Y
  • 18. 46 2. 0-2-4 42 2 4 -2 -4 Y X x = -5 x = 4 2 1 -6 6 y = -5 y = 4 2 1 -6 6 จุดตัดของกราฟคือ จุด (-5, 4 2 1 ), จุด (4 2 1 , 4 2 1 ), จุด (4 2 1 , -5) และจุด (-5, -5) 3. เสนตรง มีสมการเปน y = 61 เสนตรง มีสมการเปน x = -52 เสนตรง มีสมการเปน x = 73 คําตอบกิจกรรม “เกี่ยวของกันอยางไร” 1. ขนานกัน 2. ขนานกัน 3. ขนานกัน คําตอบกิจกรรม “ตัดกันที่จุดใด” 1. จุด (1, 2) 2. จุด (0, 2) 3. ตัดกัน
  • 19. 47 คําตอบแบบฝกหัด 2.2 ข 1. 1) ผานจุดกําเนิด 2) ผานจุดกําเนิด 3) ผานจุดกําเนิด 2x + y = 0 x – y = 0 2. 1) 0-2-4 42 2 4 -2 -4 Y X 6 -6 6-6 y = 4x y = 4x + 5 – 3 2 4-2-4 0 y = - 1 2 x y = - 2 4 -2 -4 Y 2 3 x X
  • 20. 48 2) y = -x + 3 Y 0-2-4 4 X 2 2 4 -2 -4 y = 2x + 3 3) -4 -2 y = -3x + 4 Y y = 4x 0 2 4 -4 -2 2 4 X
  • 21. 49 4) Y -4 2x + y + 1 = 0 -x + y – 5 = 0 0 2 4-2 2 4 -2 -4 X 3. 1) Y 4 2 0 -4 -2 -4 -2 642 x – y = 2 y = 4 X จุดตัดของกราฟคือ จุด (6, 4)
  • 22. 50 2) -4 -2 2x + y = 5 x = 2 Y 0 2 4 2 4 -2 -4 X จุดตัดของกราฟคือ จุด (2, 1) 3) 2x + y = 1 -4 0-2 2 4 4 2 -2 -4 2x – y = 3 Y X จุดตัดของกราฟคือ จุด (1, -1) 4. 1) ขนานกัน 2) ตัดกัน 3) ตัดกัน 4) ขนานกัน
  • 23. 51 5. เสนตรง มีสมการเปน y =1 2 7 x + 3 เสนตรง มีสมการเปน y =2 2 7 x เสนตรง มีสมการเปน y = -x – 33 คําตอบแบบฝกหัด 2.3 1. 1) 0.6 เซนติเมตร 2) 5 วินาที 3) 0.6 เซนติเมตร 4) 1.8 เซนติเมตร 5) ในชวง 0 ถึง 2 วินาที รถยนตเด็กเลนแลนดวยอัตราเร็วที่นอยกวาในชวง 2 วินาทีถึง 4 วินาที 6) ในชวง 2 วินาทีถึง 4 วินาที รถยนตเด็กเลนเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่มากกวาในชวง 0 ถึง 2 วินาที ในชวง 4 วินาทีถึง 6 วินาที รถยนตเด็กเลนเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่มากกวาในชวง 2 วินาที ถึง 4 วินาที 2. 1) ประมาณ 2.2 ตารางเซนติเมตร 2) 4 เซนติเมตร 3) พื้นที่ที่คํานวณจากสมการกับการประมาณจากกราฟจะเทากันหรือใกลเคียงกัน 4) เมื่อความยาวของดานเพิ่มขึ้น พื้นที่ก็จะเพิ่มขึ้น โดยอัตราการเพิ่มของพื้นที่จะมากขึ้นและ มากขึ้นอยางรวดเร็ว 3. 1) 1,800 เมตร ในเวลา 3 วินาที 2) 1,600 เมตร 3) 1 วินาที และ 5 วินาที 4) เมื่อเริ่มยิงจรวด จรวดจะขึ้นจากพื้นดินดวยอัตราเร็วสูงมากในชวงเวลาแรก ๆ ตอจากนั้นจะ ชาลงจนถึงจุดสูงสุดที่ความสูง 1,800 เมตร ณ วินาทีที่ 3 แลวจะตกลงในชวงเวลาถัดมา ดวยอัตราเร็วที่ชาและเร็วมากขึ้นจนถึงพื้นดิน ณ วินาทีที่ 6
  • 24. 52 4. 1) ประมาณ 380 มิลลิกรัม 2) ประมาณ 2.5 ชั่วโมง หรือ 2 ชั่วโมง 30 นาที 3) ประมาณ 90 มิลลิกรัม 4) ประมาณ 300 มิลลิกรัม 5) ประมาณ 12.5 ชั่วโมง หรือ 12 ชั่วโมง 30 นาที 6) ในชวง 0 ถึง 2 2 1 ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดลงอยางรวดเร็วจาก 500 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 250 มิลลิกรัม ในชวง 2 2 1 ชั่วโมงถึง 5 ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดลงชาลงกวาเดิมจากประมาณ 250 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 125 มิลลิกรัม ในชวง 5 ชั่วโมงถึง 7 2 1 ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดลงชาลงยิ่งขึ้นจากประมาณ 125 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 62.5 มิลลิกรัม ในชวง 7 2 1 ชั่วโมงถึง 10 ชั่วโมง ปริมาณยาในรางกายจะลดชาลงยิ่งขึ้นยิ่งขึ้นจากประมาณ 62.5 มิลลิกรัม เหลือประมาณ 31 มิลลิกรัม ตอจากนั้นปริมาณยาในรางกาย ก็จะลดชาลง เรื่อย ๆ จนเหลือนอยมาก 5. 1) 30 °C ละลายได 35 กรัม 2) โซเดียมคลอไรด 3) โพแทสเซียมคลอไรด 4) ที่อุณหภูมิ 0°C ขึ้นไปแตไมถึง 30°C โซเดียมคลอไรดจะมีความสามารถในการละลายได มากกวาโพแทสเซียมคลอไรด ที่อุณหภูมิ 30°C โซเดียมคลอไรดและโพแทสเซียมคลอไรด จะมีความสามารถในการละลายเทากัน ที่อุณหภูมิสูงกวา 30°C โพแทสเซียมคลอไรดจะมี ความสามารถในการละลายไดมากกวาโซเดียมคลอไรด 5) โพแทสเซียมคลอไรดมีความสามารถในการละลายไดมากกวาโซเดียมคลอไรด 6. 1) 11 แอมแปร 2) 22 แอมแปร 3) ระบบ 220 โวลต 4) 11 โอหม 5) 22 โอหม
  • 25. 53 6) ระบบ 220 โวลต 7) ถาความตานทานเพิ่มขึ้น ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานจะลดลง 8) ถาปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานเพิ่มขึ้น จะตองเปลี่ยนความตานทานใหนอยลง 7. 1) 50 บาท 2) 50 บาท 3) 65 บาท 4) 75 บาท 5) 6 ลูกบาศกเมตรขึ้นไป แตไมถึง 7 ลูกบาศกเมตร 6) ไมใชอัตราเดียวกัน กลาวคือ คาน้ําประปาไมถึง 10 ลูกบาศกเมตรแรกคิดลูกบาศกเมตรละ 5 บาท ตั้งแตลูกบาศกเมตรที่ 10 ขึ้นไปคิดลูกบาศกเมตรละ 7.50 บาท 8. 1) 2,000 ชิ้น และ 20,000 ชิ้น 2) ขาดทุน 3) ไดกําไร 4) ขาดทุน 5) 10,000 ชิ้น 6) ถาผลิตสินคาไมถึง 2,000 ชิ้นจะขาดทุน แตเมื่อผลิตสินคา 2,000 ชิ้นจะคุมทุน และเมื่อ ผลิตสินคาเพิ่มขึ้นจะไดกําไรมากขึ้นจนกระทั่งผลิต 10,000 ชิ้นจะไดกําไรสูงสุด ถาผลิต สินคาเพิ่มขึ้นมากกวา 10,000 ชิ้นขึ้นไปจะไดกําไรลดลงเรื่อย ๆ จนถึง 20,000 ชิ้นซึ่งเปน จุดคุมทุน จากนั้นถาผลิตเพิ่มขึ้นมากกวา 20,000 ชิ้นก็จะขาดทุนมากขึ้นเรื่อย ๆ คําตอบกิจกรรม “บอลกระทบพื้น” ในชวง 0 ถึง 5 วินาที ลูกบอลถูกปลอยจากความสูง 2.5 เมตรลงพื้น โดยลูกบอลเคลื่อนที่ดวย อัตราเร็วที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นจนกระทบพื้น ในชวง 0.5 วินาทีถึง 1.1 วินาที ลูกบอลกระดอนขึ้นดวยอัตราเร็วที่นอยกวาอัตราเร็วที่ตกลงพื้น ครั้งแรก โดยลูกบอลเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็วที่คอย ๆ ลดลงจนถึงจุดสูงสุดที่ความสูงนอยลงเหลือประมาณ 1.1 เมตร แลวจึงตกลงดวยอัตราเร็วที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นจนกระทบพื้น ในชวง 1.1 วินาทีถึง 1.5 วินาที และชวงเวลาอื่น ๆ ถัดไป ลูกบอลจะเคลื่อนที่ลักษณะ เชนเดียวกับในชวง 0.5 วินาทีถึง 1.1 วินาที
  • 26. 54 คําตอบกิจกรรม “คูของใคร” 1. รูป ก แสดงการเดินทางของปู เนื่องจาก กราฟแสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วคงที่ รูป ข แสดงการเดินทางของกุง เนื่องจาก กราฟแสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วที่ลดลงเรื่อย ๆ รูป ค แสดงการเดินทางของปลา เนื่องจาก กราฟแสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ 2. รูป ค แสดงความสูงของมนุษยเมื่อเทียบกับเวลาเปนปตั้งแตเกิดจนอายุ 25 ปไดดีที่สุด เพราะรูป ก แสดงความสูงที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อเทียบกับอายุ รูป ข แสดงความสูงที่เพิ่มขึ้นจนถึง ชวงอายุหนึ่ง แลวความสูงลดลง แตรูป ค แสดงความสูงที่คอย ๆ เพิ่มขึ้นในชวงอายุหนึ่ง และ เพิ่มขึ้นเร็วขึ้นในชวงอายุถัดไป จากนั้นมีความสูงเทาเดิม จึงนาจะแสดงความสูงของมนุษยตั้งแตเกิด จนอายุ 25 ปเมื่อเทียบกับเวลาเปนปไดดีที่สุด 3. สถานการณในขอ 3 เพราะกราฟแสดงการเคลื่อนที่ของรถดวยอัตราเร็วจาก 0 กิโลเมตรตอชั่วโมง จนถึง 80 กิโลเมตรตอชั่วโมงในชวงเวลา 1 ชั่วโมงแรก แลวแลนดวยอัตราเร็วคงที่ 80 กิโลเมตร ตอชั่วโมงเปนเวลา 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นจึงลดอัตราเร็วลงเรื่อย ๆ จนเปน 0 กิโลเมตรตอชั่วโมงใน เวลา 2 ชั่วโมง
  • 28. 56 กิจกรรมเสนอแนะ 2.3 กิจกรรมนี้ตองการเชื่อมโยงความรูเรื่องกราฟกับพื้นที่ เพื่อใชแสดงความสัมพันธ ระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางและอัตราเร็ว กับระยะทางที่ได แนวการจัดกิจกรรม 1. ครูใหนักเรียนพิจารณากราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางและอัตราเร็ว จากรูป ก เปรียบเทียบกับพื้นที่สวนที่แรเงาของรูป ข แลวใชคําถามเพื่อใหนักเรียนมองเห็นความสัมพันธ และคําตอบดังตอไปนี้ อัตราเร็ว (กิโลเมตร / ชั่วโมง) อัตราเร็ว (กิโลเมตร / ชั่วโมง) A B 210 CD 0 1 2 BA50 50 รูป ก รูป ข เวลา (ชั่วโมง) เวลา (ชั่วโมง) 1) กราฟรูป ก AB แสดงการเดินทางดวยอัตราเร็วคงที่ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง เปนเวลา 2 ชั่วโมง จะไดวา ระยะทางในการเดินทาง = อัตราเร็ว × เวลา = 50 × 2 = 100 กิโลเมตร 2) กราฟรูป ข แสดงพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากที่อยูระหวาง AB กับแกน X ในชวงเวลา 0 ถึง 2 ชั่วโมง จะไดวา ความกวางของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนดวย DA ซึ่ง DA = 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนดวย DC ซึ่ง DC = 2 ชั่วโมง พื้นที่ของ ABCD = กวาง × ยาว = 50 × 2 = 100 กิโลเมตร
  • 29. 57 2. ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความเกี่ยวของระหวางกราฟรูป ก และกราฟรูป ข และใหได ขอสรุปวา เมื่อมีกราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางกับอัตราเร็ว จะสามารถหา ระยะทางในการเดินทางทั้งหมดได โดยอาศัยการหาพื้นที่ของรูปปดที่อยูระหวางกราฟกับแกน X 3. ครูยกตัวอยางสถานการณเพิ่มเติมพรอมตัวอยางแนวคิด ดังนี้ จากรูป กราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาในการเดินเทา ของศักดิ์กับอัตราเร็ว จงหา อัตราเร็ว (เมตรตอนาที) 1) ระยะทางทั้งหมดที่ศักดิ์เดินเทาในเวลา 60 นาที 2) อัตราเร็วเฉลี่ยในการเดินเทา 40 A B 200 C 50 60 D เวลา (นาที) 1) ระยะทางทั้งหมดที่ศักดิ์เดินเทา เทากับ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD เนื่องจากพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = 2 1 × (AB + DC) × 40 จะไดระยะทางทั้งหมด = 2 1 × (30 + 60) × 40 = 1,800 เมตร ดังนั้น ศักดิ์เดินไดระยะทางทั้งหมด 1,800 เมตร 2) อัตราเร็วเฉลี่ยในการเดินเทาของศักดิ์ เทากับ 60 800,1 = 30 เมตรตอนาที 4. ใหนักเรียนหาระยะทางทั้งหมดและอัตราเร็วเฉลี่ยในการขับรถของนัท จากกราฟขอ 3 ในกิจกรรม “คูของใคร” ในหนังสือเรียน หนา 117 [ระยะทางทั้งหมด 200 กิโลเมตรและอัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง] 5. ครูอาจใหโจทยเพิ่มเติมโดยนักเรียนหาระยะทางทั้งหมดในการเดินทางและอัตราเร็วเฉลี่ยจาก กราฟที่กําหนดให เชน กราฟแสดงความสัมพันธระหวางเวลาที่ใชในการเดินทางและอัตราเร็วในการขับรถของสินชัย เปนดังนี้
  • 30. 58 อัตราเร็ว (กิโลเมตร / ชั่วโมง) 100 210 3 เวลา (ชั่วโมง) [ระยะทางทั้งหมด 125 กิโลเมตรและอัตราเร็วเฉลี่ยเทากับ 50 กิโลเมตรตอชั่วโมง]