SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 2
ความนาจะเปน (14 ชั่วโมง)
2.1 ความนาจะเปน (2 ชั่วโมง)
2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ (4 ชั่วโมง)
2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ (5 ชั่วโมง)
2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ (3 ชั่วโมง)
นักเรียนเคยพบคําวา มีโอกาส คาดการณวา หรือเปนไปไดวา มาแลวในชีวิตประจําวันและใน
เรื่องเศษสวนและอัตราสวน ซึ่งคําเหลานี้มีความเกี่ยวของกับเรื่องความนาจะเปน ในบทนี้จะกลาวถึง
ความนาจะเปนเบื้องตนในทางทฤษฎีเกี่ยวกับการทดลองสุม เหตุการณและวิธีการหาความนาจะเปนของ
เหตุการณตาง ๆ การหาผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมจะเนนเฉพาะการไดผลลัพธโดย
วิธีการแจงนับเทานั้น นอกจากนี้ยังตองการใหนักเรียนใชความรูเรื่องความนาจะเปนเพื่อเปนเครื่องมือใน
การตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณบางอยางทั้งในชีวิตประจําวันและในกิจกรรมตาง ๆ อีกทั้งยังเชื่อมโยง
ความรูเขากับสถานการณจริง เชน ใหนักเรียนไดเรียนรูวาการพนันทุกชนิดผูเลนจะเปนฝายเสียเปรียบ
และผลที่ไดรับไมคุมกับผลที่เสียไป
เนื้อหาของบทนี้จะเนนใหนักเรียนไดทํากิจกรรมโดยตรง ฝกทักษะการสังเกตแบบรูป การเขียน
ผลลัพธของการทดลองสุมอยางเปนระบบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูอาจใหนักเรียนไดทํา
การทดลองจริงบาง ทั้งนี้เพื่อประกอบความเขาใจ ในกรณีเชนนั้นครูควรเตรียมอุปกรณการทดลองสุมให
เพียงพอ ระหวางการเรียนการสอนควรมีการสนทนาสอดแทรกใหเห็นความสําคัญของการใชความนาจะ
เปนในการวิเคราะหและคาดการณสถานการณตาง ๆ อยางสมเหตุสมผลดวย
สําหรับสาระเรื่องคาคาดหมาย เปนเนื้อหาเสริมเพื่อใหเปนความรูเกี่ยวกับการใชความนาจะเปน
ประกอบการตัดสินใจไดดีขึ้น ครูไมควรวัดผลเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยตรง
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. หาความนาจะเปนของเหตุการณจากการทดลองสุมที่ผลแตละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเทา ๆ กัน
ได
2. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล
3. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจได
12
แนวทางในการจัดการเรียนรู
2.1 ความนาจะเปน (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถใชสามัญสํานึกบอกไดวาเหตุการณที่กําหนดใหมีโอกาสเกิดขึ้นมาก
หรือนอยเพียงใด
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. เพื่อเปนการนําเขาสูเรื่องความนาจะเปน ครูนําสนทนาเกี่ยวกับคําหรือขอความที่นักเรียน
มักจะไดพบเห็นหรือไดฟงจากสื่อทั้งทางวิทยุ โทรทัศน สื่อสิ่งพิมพหรือในวงสนทนาเกี่ยวกับ
การคาดการณหรือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณตาง ๆ การที่นักเรียนบงบอกไดวาเหตุการณที่กลาวถึงนั้นมี
โอกาสเกิดขึ้นไดหรือไม หรือมีโอกาสเกิดขึ้นไดมากหรือนอยเพียงใด ทําใหครูทราบถึงความสามารถ
ทางดานความรูสึกเชิงจํานวนและสามัญสํานึกเกี่ยวกับความนาจะเปนของนักเรียนวาเปนอยางไร จากนั้น
ครูจึงเชื่อมโยงขอสรุปที่ไดไปสู “ความนาจะเปน” ของเหตุการณ
2. สําหรับสาระที่กลาวถึงประวัติที่มาของการศึกษาเรื่องความนาจะเปนที่เสนอไวนั้น เพื่อ
ตองการใหนักเรียนไดตระหนักวา นักคณิตศาสตรมักมีจุดเริ่มตนในการสรางองคความรูใหม ๆ จากการที่
ตนพบปญหาและตองการแกปญหาเหลานั้น ครูอาจใชการเลาเรื่องยอ ๆ หรืออาจใหนักเรียนศึกษาดวย
ตนเองก็ได ถามีนักเรียนสงสัยเกี่ยวกับที่มาของคา 0.4914 ซึ่งเปนคาของความนาจะเปนของเหตุการณที่
กลาวถึง ครูไมจําเปนอธิบาย แตบอกใหนักเรียนทราบวานักเรียนจะไดเรียนในระดับสูงตอไป
คําอธิบายสําหรับครู
ความนาจะเปนของเหตุการณที่โยนลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน 24 ครั้ง ใหไดแตม 6 ทั้งสองลูกนั้น
หาไดจากการหาความนาจะเปนของเหตุการณตรงขาม คือ การไมไดแตม 6 พรอมกันทั้งสองลูกในการ
โยน 24 ครั้ง ซึ่งเทากับ
24
35
36
 
 
 
≈ 0.5086 ดังนั้นความนาจะเปนของเหตุการณที่ตองการ คือ
1 –
24
35
36
 
 
 
≈ 0.4914
3. สําหรับกิจกรรม “คิดอยางไร” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางสถานการณที่อาจเกิดขึ้น
จริงในชีวิตประจําวันของนักเรียน ซึ่งอาจมีนักเรียนบางคนทําตามขอสรุปที่กําหนดไวในแตละสถานการณ
หรือไมทําตามก็ได ดังนั้นครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น และชวยกันพิจารณาวาความ
คิดเห็นใดสมเหตุสมผล
13
4. สําหรับกิจกรรม “ไดเปรียบหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางกิจกรรมหรือเกมที่
มีกติกาหรือเงื่อนไขกําหนดการกระทํา และใหนักเรียนตระหนักวา กติกาหรือเงื่อนไขที่กําหนดนั้นจะทําให
ผูเลนแตละคนอาจไดเปรียบหรือเสียเปรียบตางกัน การมีความรูเรื่องความนาจะเปนที่นักเรียนจะไดศึกษา
ตอไป จะชวยใหนักเรียนสามารถวิเคราะหไดวา ถาทําตามกติกาของกิจกรรมนั้น ๆ แลว นักเรียนจะ
ไดเปรียบหรือเสียเปรียบ ดังนั้นครูจึงควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดอภิปรายรวมกัน
2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บอกผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมที่กําหนดใหได
2. บอกผลลัพธของเหตุการณที่กําหนดใหได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการทดลองสุม ครูอาจหา
อุปกรณและดําเนินการทดลองใหนักเรียนเห็นจริง อยางไรก็ตามครูตองระมัดระวังความเที่ยงตรงของ
อุปกรณที่ใชและการดําเนินการทดลองดวย เชน การสุมหยิบของในขวดโหล ครูควรใชขวดโหลทึบที่มอง
ไมเห็นสิ่งของภายในและควรหยิบโดยไมมอง การทอดลูกเตาควรทอดลงบนโตะหรือบนพื้นที่ลูกเตา
สามารถกลิ้งไดโดยอิสระ การโยนเหรียญควรใชการดีดขึ้นแลวใหเหรียญตกลงบนพื้นโดยอิสระ
2. สําหรับกิจกรรม “เปนหรือไม” ครูอาจใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางการทดลองสุมเพิ่มเติม
จากที่ใหไวในกิจกรรม และควรหลีกเลี่ยงการยกตัวอยางที่ไมเปนการทดลองสุม โดยยกตัวอยางการกระทํา
ที่สามารถทํานายผลไดแนนอนลวงหนา เชน การแขงขันฟุตบอลระหวางทีมของโรงเรียนกับทีมชาติ
3. การหาผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมในชั้นนี้ จะเนน “วิธีการแจงนับ”
และเพื่อใหการแจงนับเปนไปอยางเปนระบบ ครูอาจใชแผนภาพตนไมหรือใชตารางเปนเครื่องมือในการ
หาผลลัพธ หรืออาจใชแผนภาพรูปแบบอื่นก็ได (ถามี) เชน
การสุมหยิบลูกปงปอง 2 ลูกพรอมกันจากกลองที่มีลูกปงปองสีมวง สีสมและสีเขียวอยางละ
1 ลูก อาจหาผลลัพธจากแผนภาพรูปสามเหลี่ยมไดดังนี้
14
ครูควรใหขอสังเกตกับนักเรียนวา กรณีที่หยิบ 2 ลูกพรอมกัน จะเขียนวา มวงสม หรือ
สมมวง ก็ใหถือวาเปนผลลัพธเดียวกัน สําหรับการหาผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมที่มี
การหยิบ 2 ครั้ง ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาผลลัพธในรูปคูอันดับ เชน (มวง, เขียว) และ (เขียว, มวง)
ถือวาเปนผลลัพธที่ไมเหมือนกัน กลาวคือ
(มวง, เขียว) แสดงวา หยิบครั้งที่หนึ่ง ไดสีมวง และหยิบครั้งที่สอง ไดสีเขียว
(เขียว, มวง) แสดงวา หยิบครั้งที่หนึ่ง ไดสีเขียว และหยิบครั้งที่สอง ไดสีมวง
4. ในการหมุนแปนวงกลมที่มีหมายเลขกํากับเปน 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 นั้น
เพื่อใหนักเรียนเขาใจความหมายของ “เหตุการณ” ดียิ่งขึ้น ครูอาจใหนักเรียนตั้งคําถามที่ตนสนใจหรือ
อยากรูคําตอบเพิ่มเติมขึ้นมาเอง เชน ผลลัพธที่เข็มจะชี้ในชองจํานวนที่ 3 หารลงตัว เปนอะไรไดบาง หรือ
ผลลัพธที่เข็มจะชี้ในชองจํานวนที่หาร 12 ลงตัว เปนอะไรไดบาง เปนตน
5. สําหรับตัวอยางที่ 1 การหาผลลัพธทั้งหมดที่เกิดจากการโยนเหรียญบาท 3 เหรียญพรอมกัน
1 ครั้ง ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาผลลัพธ HTT, THT และ TTH เปนผลลัพธที่ไมเหมือนกัน เนื่องจาก
เหรียญทั้งสามตางกัน แตถายังมีนักเรียนสงสัยอยู ครูอาจใชเหรียญที่มีขนาดตางกันแทน เชน เหรียญสิบ
เหรียญหา และเหรียญบาท แลวแสดงใหเห็นความแตกตางของผลลัพธ HTT, THT และ TTH
6. ในการทดลองสุมหยิบของมากกวาหนึ่งชิ้นจากภาชนะ ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา การสุม
หยิบทั่ว ๆ ไปนั้นมี 3 แบบ คือ หยิบพรอม ๆ กันหลายชิ้นตามจํานวนที่ตองการ หรือหยิบออกมาทีละ 1 ชิ้น
จนไดครบตามจํานวนที่ตองการ หรือหยิบออกมาทีละ 1 ชิ้นดูวาไดอะไรแลวใสคืน แลวหยิบใหมอีกจนครบ
ตามจํานวนที่ตองการ ครูควรย้ําวา การสุมหยิบหลายชิ้นขึ้นพรอม ๆ กันหนึ่งครั้ง ผลลัพธที่ไดจะไมมีเรื่อง
อันดับเขามาเกี่ยวของ แตถาหยิบออกมาทีละ 1 ชิ้นจนไดครบตามจํานวนที่ตองการ หรือหยิบมาดูวาได
อะไรแลวใสคืน แลวหยิบใหมอีกจนครบตามจํานวนที่ตองการมากกวาหนึ่งครั้ง ถือเปนขอตกลงในที่นี้วา
ผลลัพธที่ไดจะมีเรื่องอันดับเขามาเกี่ยวของ
2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. บอกความนาจะเปนของเหตุการณที่กําหนดใหได
2. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล
3. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจได
15
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการจัดกิจกรรม เพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการหา “ความนาจะเปนของเหตุการณ”
ครูอาจยกตัวอยางการทดลองสุมที่นักเรียนรูผลลัพธทั้งหมดแลว และใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวาแตละ
ผลลัพธมีโอกาสเกิดขึ้นมากนอยเพียงใดเมื่อเทียบกับจํานวนผลลัพธที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด หลังจากนั้นครูและ
นักเรียนรวมกันสรุปสูตรการหาความนาจะเปนของเหตุการณ
2. ในการหาผลลัพธทั้งหมดที่เกิดจากการหยิบลูกบาศก 2 ลูกพรอมกัน 1 ครั้งดังในตัวอยางที่ 2
จากถุงที่มีลูกบาศกสีเขียว 2 ลูกและสีแดง 3 ลูก ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาลูกบาศกทุกลูกแตกตางกัน จึง
เขียนหมายเลข 1, 2 หรือ 3 กํากับ
3. หลังจากหาความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดจากการสุมตางๆ แลว ครูควรใหขอสังเกตวา
ขอบเขตของความนาจะเปนของเหตุการณใด ๆ จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 1 โดยเนนย้ําวา ความนาจะเปนของ
เหตุการณที่จะเกิดขึ้นแนนอนจะเทากับ 1 และความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมมีผลลัพธเกิดขึ้นเลยหรือ
เหตุการณที่ไมเกิดขึ้นแนนอนจะเทากับ 0
4. สําหรับกิจกรรม “ทราบหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนทราบวา การหาความนาจะเปน
ของเหตุการณมีทั้งในทางทฤษฎีและในทางปฏิบัติ ในการหาความนาจะเปนในทางทฤษฎี เรามักจะ
กําหนดใหแตละผลลัพธมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กัน หรือสิ่งที่ใชทดลองนั้นมีความเที่ยงตรง ขณะที่การหา
ความนาจะเปนในทางปฏิบัติ เรามักจะทําการทดลองสุมหลาย ๆ ครั้ง โดยถือวาถาจํานวนการทดลองมาก
ครั้งขึ้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดจะใกลเคียงกับความนาจะเปนในทางทฤษฎีมากขึ้น และจะถือวา
สิ่งที่ใชทดลองนั้นมีความเที่ยงตรงดวยเชนกัน
5. สําหรับกิจกรรม “คาดการณอยางไร” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางสถานการณที่อาจ
เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจําวัน ซึ่งอาจมีนักเรียนบางคนคาดการณในแตละสถานการณแตกตางกัน ดังนั้นครู
ควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น และชวยกันพิจารณาวาการคาดการณใดสมเหตุสมผล
โดยใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปน
6. สําหรับกิจกรรม “ชวยกันรณรงค” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยงของความนาจะเปน
กับชีวิตประจําวัน ซึ่งในที่นี้เปนการรณรงคเพื่อแกปญหาตาง ๆ ในสังคม ครูควรใหมีการสนทนารวมกันและ
ถือโอกาสสอดแทรกใหนักเรียนตระหนักถึงหนาที่ที่จะตองมีสวนชวยกันรณรงค และปฏิบัติตนตามโครงการ
รณรงคที่ใหชวยกันรักษาและพัฒนาสังคม
16
2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. เพื่อเปนการนําเขาสูเรื่องคาคาดหมาย ครูนําสนทนาเกี่ยวกับคําหรือขอความที่นักเรียนมักจะ
ไดพบเห็นหรือไดฟงจากสื่อทั้งทางวิทยุ โทรทัศน สื่อสิ่งพิมพหรือในวงสนทนาเกี่ยวกับ ผลตอบแทนของ
การเกิดเหตุการณตาง ๆ เพื่อเชื่อมโยงไปสูคาคาดหมายของเหตุการณ
2. ในการเรียนการสอน ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาความนาจะเปนของเหตุการณกับ
ผลตอบแทนของเหตุการณ เปนองคประกอบที่สําคัญในการหาคาคาดหมายของเหตุการณใด ๆ เชน
ถาเปลี่ยนกติกาของการทดลองสุม หรือเปลี่ยนผลตอบแทนของเหตุการณใหมากขึ้นหรือนอยลง แลว
คาคาดหมายของเหตุการณนั้นจะเปลี่ยนแปลงดวยเชนกัน ดังกิจกรรมการเลนเกมโยนเหรียญของเจตริน
และอําพล
3. ในการเลนเกมโยนเหรียญของเจตรินกับอําพล ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา จํานวนเงินที่
อําพลอาจจะไดรับและจํานวนเงินที่อําพลอาจจะตองเสีย เปนสิ่งสําคัญในการหาคาคาดหมายของเหตุการณ
นี้ เพราะการรับเงินหรือเสียเงินของเจตรินกับอําพลเกิดขึ้นหลังจากที่ผลลัพธของการโยนเหรียญไดเกิดขึ้น
แลว ดังนั้นจึงตองนําจํานวนเงินดังกลาวมาใชในการคํานวณหาคาคาดหมายดวย
4. สําหรับกิจกรรม “หวยทอง” ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา จํานวนเงินที่ณัชชาซื้อหวยนั้นไมได
นํามาใชในการคํานวณหาคาคาดหมายของเหตุการณนี้ เพราะณัชชาเสียเงินจํานวนนั้นซื้อสลากลวงหนา
กอนที่จะออกรางวัล แตจะนํามาใชในการเปรียบเทียบคาคาดหมายที่ณัชชาจะไดเงินวาเปนการเสียเปรียบ
หรือไดเปรียบ
5. กิจกรรม “ไดหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการใชความรูเกี่ยวกับความนาจะ
เปนประกอบการตัดสินใจ ซึ่งอาจมีนักเรียนบางคนมีการตัดสินใจที่แตกตางกัน ดังนั้นครูควรเปดโอกาส
ใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น และชวยกันพิจารณาวาการตัดสินใจใดสมเหตุสมผล
สําหรับเหตุการณขอ 2 ครูควรนํามาอภิปรายกับนักเรียนในชั้นเรียน โดยชี้ใหนักเรียนเห็น
กอนวา กําไร 300,000 บาทของบริษัทเปนรายไดของบริษัทที่หักคาใชจายทั้งหมดซึ่งรวมถึงการเสียเงิน
200,000 บาทไปแลว การรับเงินกําไรหรือเสียเงินคาเตรียมการไปโดยไมไดงานเกิดขึ้นหลังจากไดทราบผล
การประมูลแลว ดังนั้นจึงตองนํากําไรและคาใชจายดังกลาวมาใชคํานวณหาคาคาดหมายดวย
6. สําหรับกิจกรรม “สลากกินแบงรัฐบาล” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการพนันและ
การเสี่ยงโชคที่เจามือมักจะกําหนดกติกาและเงื่อนไขการจายรางวัลที่ทําใหเจามือไดเปรียบ มีกําไรเปน
จํานวนมาก และในระยะยาวผูเลนจะเสียเปรียบเจามือ ดังนั้นครูควรชี้ใหนักเรียนตระหนักวา การหวัง
ร่ํารวยจากการพนันและการเสี่ยงโชคทุกชนิดนั้นเปนไปไดยาก
17
7. กิจกรรม “ลีลาวดีลูกผสม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางของการเชื่อมโยงที่นํา
ความรูเรื่องความนาจะเปนมาอธิบายปรากฏการณทางวิทยาศาสตร ครูอาจใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและ
ตอบคําถามในกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “คิดอยางไร”
สถานการณ 1 กองคิดวามีโอกาสที่จะขึ้นรถเมลที่ปายตรงจุด C ไดมากกวาที่ปายตรงจุด B
สถานการณ 2 แกวคิดวามีโอกาสที่ฝนจะตกในเวลาอันใกล
สถานการณ 3 ออคิดวามีโอกาสที่จะเขาเรียนไดในโรงเรียน ข มากกวาในโรงเรียน ก
สถานการณ 4 คนเมาแลวขับรถมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุสูง
คําตอบกิจกรรม “ไดเปรียบหรือไม”
1. ถุงที่สาม เพราะในถุงมีลูกแกวสีแดงมากกวาลูกแกวสีเขียว
2. ถุงที่สอง เพราะในถุงมีลูกแกวสีเขียวอยางเดียว
3. ถุงที่สอง
4. ถุงที่หนึ่ง
คําตอบกิจกรรม “เปนหรือไม”
1. เปน
2. เปน
3. ไมเปน
4. เปน
5. เปน
6. ไมเปน
คําตอบแบบฝกหัด 2.2
1.
1) ชาย ชาย, ชาย หญิง, หญิง ชาย และ หญิง หญิง
18
2) เตาสวน บัวลอย, เตาสวน ถั่วดํา, เตาสวน กลวยบวชชี, บัวลอย ถั่วดํา, บัวลอย กลวยบวชชี
และ ถั่วดํา กลวยบวชชี
3) ไทย พมา, ไทย ลาว, ไทย บรูไน, ไทย มาเลเซีย, พมา ลาว, พมา บรูไน, พมา มาเลเซีย,
ลาว บรูไน, ลาว มาเลเซีย และ บรูไน มาเลเซีย
2. ผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT,
THH, THT, TTH และ TTT
1) ออกกอย 1 ครั้ง มีผลลัพธ คือ HHT, HTH และ THH
2) ออกหัวนอยกวาออกกอย มีผลลัพธ คือ HTT, THT, TTH และ TTT
3) ออกกอยมากกวา 2 ครั้ง มีผลลัพธ คือ TTT
4) ไมมีผลลัพธของเหตุการณออกหัวและออกกอยจํานวนครั้งเทากัน
3. ผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการหมุนแปน 2 แปนพรอมกัน คือ (-1, -4), (-1, +5), (-1, +6),
(+2, -4), (+2, +5), (+2, +6), (-3, -4), (-3, +5) และ (-3, +6)
1) ผลบวกเปนจํานวนลบ มีผลลัพธ คือ (-1, -4), (+2, -4) และ (-3, -4)
2) ผลบวกเปน 8 มีผลลัพธ คือ (+2, +6)
3) ไมมีผลลัพธของเหตุการณผลบวกเปน 1
4. เพื่อนจะไดรับลูกอมรสตาง ๆ คือ นม สม, นม องุน, นม สละ, สม องุน, สม สละ และ องุน สละ
คําตอบแบบฝกหัด 2.3
1.
1) 1
6
2) 3
6 หรือ 1
2
3) 3
6 หรือ 1
2
4) 4
6 หรือ 2
3
2.
1) 8
15
2) 6
15 หรือ 2
5
3) 1
15
4) 0
15 หรือ 0
19
3.
1) 7
8
2) 1
8
3) 0
8 หรือ 0
4) 4
8 หรือ 1
2
4.
1) 6
36 หรือ 1
6
2) 8
36 หรือ 2
9
3) 1
4) 30
36 หรือ 5
6
5) 6
36 หรือ 1
6
5. 2
12 หรือ 1
6
คําตอบกิจกรรม “คาดการณอยางไร”
ตัวอยางคําตอบ
สถานการณ 1 จุรีนาจะไดรับประทานสมโชกุน
เนื่องจากจํานวนสมโชกุนมากกวาจํานวนสมอื่น ๆ แตละชนิด ทําให
ความนาจะเปนที่ลูกชายของจุรีจะหยิบไดสมโชกุนมากกวาความนาจะเปนที่จะ
หยิบไดสมสายน้ําผึ้ง และมากกวาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสมบางมด
สถานการณ 2 เนื่องจากความนาจะเปนที่จะจับฉลากไดเรียนในโรงเรียน ก เทากับ 120
200 หรือ
6
10 มากกวาความนาจะเปนที่จะจับฉลากไดเรียนในโรงเรียน ข ซึ่งเทากับ 300
600
หรือ 5
10
สถานการณ 3 จากขอมูลเกี่ยวกับรายงานอากาศและเหตุการณที่เห็น ทําใหสรุปไดวามี
ความนาจะเปนสูงที่ฝนจะตกในวันนั้น ดังนั้นวันเพ็ญควรเตรียมรมหรือเสื้อกันฝน
ติดตัวไปโรงเรียน และควรออกจากบานเร็วขึ้นเพื่อเผื่อเวลาในการเดินทาง เพราะ
อาจมีปญหาการจารจร หรืออุปสรรคอื่น ๆ
20
สถานการณ 4 ปาละเมียดนาจะเตรียมอาหารมาขายเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความนาจะเปนสูงที่
ผูมาสอบจะตองรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน เพราะมีการสอบทั้ง
ชวงเชาและชวงบาย
สถานการณ 5 เมื่อ 2 ปกอนชัยคาดการณที่หวังร่ํารวยจากการผลิตผลแกวมังกรออกมาขายและ
เปนการตัดสินใจที่ไมถูกตอง ทั้งนี้เนื่องจากชัยไมไดคิดถึงความนาจะเปนที่
ผลแกวมังกรจะลนตลาด เพราะมีชาวสวนคนอื่น ๆ ตางก็ผลิตผลแกวมังกรออก
มาดวย
สถานการณ 6 เนื่องจากการผลิตสินคาใด ๆ มีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการผลิตดวยเหตุ
จากชิ้นสวนดอยคุณภาพ หรือฝมือการประกอบสินคาไมไดมาตรฐาน ดังนั้น
มีความนาจะเปนที่รถยนตใหมบางคันจะเกิดปญหาในการใช จนตองสงเขาซอม
บอย ๆ
คําตอบกิจกรรม “ชวยกันรณรงค”
โครงการรณรงคตาง ๆ ของรัฐบาลมีการนําความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนมาใชเปนประโยชน
เนื่องจากไดวิเคราะหมาแลววา ถาไมมีการรณรงคก็มีความนาจะเปนสูงที่จะทําใหสังคม หรือ
สิ่งแวดลอมเกิดปญหา และการรณรงคตาง ๆ เปนการใหความรูความเขาใจกับประชาชน เมื่อ
ประชาชนมีโอกาสไดฟงไดเห็นบอย ๆ ทําใหมีความนาจะเปนสูงที่ประชาชนจะคลอยตาม และ
ปฏิบัติตามการรณรงคนั้น
ตัวอยางโครงการรณรงค เชน โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ และโครงการ
ทูบีนัมเบอรวัน
คําตอบกิจกรรม “หวยทอง”
1. คาคาดหมายเทากับ 50 บาท
แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย
คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล)
+ (ผลตอบแทนที่ไมถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมถูกรางวัล)
= ( 2,500 × 2
100 ) + ( 0 × 98
100 )
= 50 บาท
21
ดังนั้น คาคาดหมายที่ผูซื้อจะไดเงินจากการซื้อสลากสองหมายเลขเทากับ 50 บาท
แสดงวา ในการซื้อหวยทองหมายเลขละ 100 บาทสองหมายเลข มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน
50 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 200 – 50 = 150 บาท
นั่นคือ ถาซื้อหวยทองสองหมายเลขหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือผูขาย
มีกําไร
2. ผูขายยังจะไดกําไร
แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย
คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล)
+ (ผลตอบแทนที่ไมถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมถูกรางวัล)
= ( 2,500 × 1
100 ) + ( 0 × 99
100 )
= 25 บาท
ดังนั้น คาคาดหมายที่ผูซื้อจะไดเงินจากการซื้อสลาก ราคา 50 บาทเทากับ 25 บาท
แสดงวา ในการซื้อหวยทองหนึ่งหมายเลขราคา 50 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 25 บาท ซึ่ง
เสียเปรียบอยู 50 – 25 = 25 บาท
นั่นคือ ถาซื้อหวยทองหมายเลขละ 50 บาทหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือ
ผูขายมีกําไร
3. ผูขายยังจะไดกําไร
แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย
คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล)
+ (ผลตอบแทนที่ไมถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมถูกรางวัล)
= ( 5,000 × 1
100 ) + ( 0 × 99
100 )
= 50 บาท
ดังนั้น คาคาดหมายที่ผูซื้อจะไดเงินจากการซื้อสลากราคา 100 บาท โดยมีรางวัลเปนสรอยทองคําหนัก
สองสลึงหนึ่งเสนราคา 5,000 บาทเทากับ 50 บาท
แสดงวา ในการซื้อหวยทองที่มีการขายสลากราคาเดิม แตเพิ่มรางวัลเปนสรอยทองคําหนักสองสลึง
หนึ่งเสนราคา 5,000 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 50 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 100 – 50 = 50 บาท
นั่นคือ ถาซื้อหวยทองหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือผูขายมีกําไร
22
คําตอบกิจกรรม “ไดหรือไม”
1.
1) 2
8 หรือ 1
4
2) 6
8 หรือ 3
4
3) คาคาดหมาย เทากับ 5 บาท
ตัวอยางคําอธิบาย
แสดงวา ในการซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคราคา 10 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 5 บาท
ซึ่งเสียเปรียบอยู 10 – 5 = 5 บาท
นั่นคือ ถาแกวซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งแกวตาจะ
เสียเปรียบหรือผูขายมีกําไร
4) คาคาดหมาย เทากับ 10 บาท
ตัวอยางคําอธิบาย
แสดงวา ในการซื้อตั๋วหนึ่งใบหมุนวงลอเสี่ยงโชคสองครั้งราคา 10 บาท มีคาคาดหมายที่
จะไดเงิน 10 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 10 – 10 = 0 บาท
นั่นคือ ถาแกวตาซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคหลาย ๆ ใบ โดยเฉลี่ยแลวแตละใบแกวตาจะ
เสมอตัว
2.
1) คาคาดหมาย เทากับ 180,000 บาท
แนวคิด
คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ไดงานและมีกําไร × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดงาน
และมีกําไร) + (ผลตอบแทนที่ไมไดงาน × ความนาจะเปนของเหตุการณ
ที่ไมไดงาน)
= ( 300,000 × 0.6 ) + ( -200,000 × 0.4 )
= 100,000 บาท
2) ตัวอยางคําตอบ
บริษัทชาญชัยกอสรางควรเขาประมูลราคา เพราะมีคาคาดหมายที่จะไดกําไร
100,000 บาท ทั้งทําใหคนงานมีงานทํา ซึ่งถาไมมีงาน อาจตองปลดออก โดยบริษัทอาจ
ตองเสียคาใชจายในการปลดออกเปนเงินจํานวนหนึ่งและไมมีรายไดเขามา สวนในกรณี
บริษัทเขาประมูลและไมไดงานดวยความนาจะเปน 0.4 ก็ควรจะถือเปนความเสี่ยงทางธุรกิจที่
จะเสียเงินคาใชจายในการเตรียมขอมูล 200,000 บาท
23
คําตอบกิจกรรม “สลากกินแบงรัฐบาล”
คําตอบในตารางเปนดังนี้
เหตุการณ
ผลตอบแทน
(บาท)
ความนาจะเปน ผลตอบแทน × ความนาจะเปน
ถูกรางวัลเลขทาย 2 ตัว 1,000
000,000,1
000,10 1,000 ×
000,000,1
000,10
= 10
ถูกรางวัลเลขทาย 3 ตัว 2,000
000,000,1
000,4 2,000 ×
000,000,1
000,4
= 8
ถูกรางวัลขางเคียง
รางวัลที่หนึ่ง
50,000
000,000,1
2 50,000 ×
000,000,1
2
= 0.1
ถูกรางวัลที่ 5 10,000
000,000,1
100 10,000 ×
000,000,1
100
= 1
ถูกรางวัลที่ 4 20,000
000,000,1
50 20,000 ×
000,000,1
50
= 1
ถูกรางวัลที่ 3 40,000
000,000,1
10 40,000 ×
000,000,1
10
= 0.4
ถูกรางวัลที่ 2 100,000
000,000,1
5 100,000 ×
000,000,1
5
= 0.5
ถูกรางวัลที่ 1 2,000,000
000,000,1
1 2,000,000 ×
000,000,1
1
= 2
ไมถูกรางวัลเลย 0 985,832
1,000,000
0 × 985,832
1,000,000 = 0
คาคาดหมายของการซื้อสลากหนึ่งฉบับ เทากับ 23
ดังนั้น ถาซื้อสลากกินแบงรัฐบาลไปเรื่อยๆ จะขาดทุนฉบับละ 40 – 23 = 17 บาท
24
คําตอบกิจกรรม “ลีลาวดีลูกผสม”
1. 1
2. 0
3.
4. 2
4 หรือ 1
2
5. 2
4 หรือ 1
2
ลีลาวดีดอกสีชมพู
RW
R W
R RR RW
W RW WW
ลีลาวดีดอกสีชมพู RW

More Related Content

What's hot

การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลKruGift Girlz
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
122121
122121122121
122121kay
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 

What's hot (15)

65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
Counting theorem2
Counting theorem2Counting theorem2
Counting theorem2
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3
 
Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3Add m3-2-chapter3
Add m3-2-chapter3
 
122121
122121122121
122121
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 

Viewers also liked

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงNittaya Noinan
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 

Viewers also liked (18)

Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริงแบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
แบบฝึกทักษะตรีโกณมิติตัวจริง
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 

Similar to Basic m3-2-chapter2

Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]numpueng
 
Probability
ProbabilityProbability
Probabilitykrubud
 
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O net
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O netรูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O net
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O netNirut Uthatip
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 

Similar to Basic m3-2-chapter2 (20)

Probability[1]
Probability[1]Probability[1]
Probability[1]
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Probability
ProbabilityProbability
Probability
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบการหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
 
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O net
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O netรูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O net
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ O net
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
kumprasom
kumprasomkumprasom
kumprasom
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (8)

Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2Basic m2-2-chapter2
Basic m2-2-chapter2
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 

Basic m3-2-chapter2

  • 1. บทที่ 2 ความนาจะเปน (14 ชั่วโมง) 2.1 ความนาจะเปน (2 ชั่วโมง) 2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ (4 ชั่วโมง) 2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ (5 ชั่วโมง) 2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ (3 ชั่วโมง) นักเรียนเคยพบคําวา มีโอกาส คาดการณวา หรือเปนไปไดวา มาแลวในชีวิตประจําวันและใน เรื่องเศษสวนและอัตราสวน ซึ่งคําเหลานี้มีความเกี่ยวของกับเรื่องความนาจะเปน ในบทนี้จะกลาวถึง ความนาจะเปนเบื้องตนในทางทฤษฎีเกี่ยวกับการทดลองสุม เหตุการณและวิธีการหาความนาจะเปนของ เหตุการณตาง ๆ การหาผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมจะเนนเฉพาะการไดผลลัพธโดย วิธีการแจงนับเทานั้น นอกจากนี้ยังตองการใหนักเรียนใชความรูเรื่องความนาจะเปนเพื่อเปนเครื่องมือใน การตัดสินใจเกี่ยวกับเหตุการณบางอยางทั้งในชีวิตประจําวันและในกิจกรรมตาง ๆ อีกทั้งยังเชื่อมโยง ความรูเขากับสถานการณจริง เชน ใหนักเรียนไดเรียนรูวาการพนันทุกชนิดผูเลนจะเปนฝายเสียเปรียบ และผลที่ไดรับไมคุมกับผลที่เสียไป เนื้อหาของบทนี้จะเนนใหนักเรียนไดทํากิจกรรมโดยตรง ฝกทักษะการสังเกตแบบรูป การเขียน ผลลัพธของการทดลองสุมอยางเปนระบบ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูอาจใหนักเรียนไดทํา การทดลองจริงบาง ทั้งนี้เพื่อประกอบความเขาใจ ในกรณีเชนนั้นครูควรเตรียมอุปกรณการทดลองสุมให เพียงพอ ระหวางการเรียนการสอนควรมีการสนทนาสอดแทรกใหเห็นความสําคัญของการใชความนาจะ เปนในการวิเคราะหและคาดการณสถานการณตาง ๆ อยางสมเหตุสมผลดวย สําหรับสาระเรื่องคาคาดหมาย เปนเนื้อหาเสริมเพื่อใหเปนความรูเกี่ยวกับการใชความนาจะเปน ประกอบการตัดสินใจไดดีขึ้น ครูไมควรวัดผลเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยตรง ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. หาความนาจะเปนของเหตุการณจากการทดลองสุมที่ผลแตละตัวมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเทา ๆ กัน ได 2. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล 3. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจได
  • 2. 12 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2.1 ความนาจะเปน (2 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถใชสามัญสํานึกบอกไดวาเหตุการณที่กําหนดใหมีโอกาสเกิดขึ้นมาก หรือนอยเพียงใด ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เพื่อเปนการนําเขาสูเรื่องความนาจะเปน ครูนําสนทนาเกี่ยวกับคําหรือขอความที่นักเรียน มักจะไดพบเห็นหรือไดฟงจากสื่อทั้งทางวิทยุ โทรทัศน สื่อสิ่งพิมพหรือในวงสนทนาเกี่ยวกับ การคาดการณหรือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณตาง ๆ การที่นักเรียนบงบอกไดวาเหตุการณที่กลาวถึงนั้นมี โอกาสเกิดขึ้นไดหรือไม หรือมีโอกาสเกิดขึ้นไดมากหรือนอยเพียงใด ทําใหครูทราบถึงความสามารถ ทางดานความรูสึกเชิงจํานวนและสามัญสํานึกเกี่ยวกับความนาจะเปนของนักเรียนวาเปนอยางไร จากนั้น ครูจึงเชื่อมโยงขอสรุปที่ไดไปสู “ความนาจะเปน” ของเหตุการณ 2. สําหรับสาระที่กลาวถึงประวัติที่มาของการศึกษาเรื่องความนาจะเปนที่เสนอไวนั้น เพื่อ ตองการใหนักเรียนไดตระหนักวา นักคณิตศาสตรมักมีจุดเริ่มตนในการสรางองคความรูใหม ๆ จากการที่ ตนพบปญหาและตองการแกปญหาเหลานั้น ครูอาจใชการเลาเรื่องยอ ๆ หรืออาจใหนักเรียนศึกษาดวย ตนเองก็ได ถามีนักเรียนสงสัยเกี่ยวกับที่มาของคา 0.4914 ซึ่งเปนคาของความนาจะเปนของเหตุการณที่ กลาวถึง ครูไมจําเปนอธิบาย แตบอกใหนักเรียนทราบวานักเรียนจะไดเรียนในระดับสูงตอไป คําอธิบายสําหรับครู ความนาจะเปนของเหตุการณที่โยนลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน 24 ครั้ง ใหไดแตม 6 ทั้งสองลูกนั้น หาไดจากการหาความนาจะเปนของเหตุการณตรงขาม คือ การไมไดแตม 6 พรอมกันทั้งสองลูกในการ โยน 24 ครั้ง ซึ่งเทากับ 24 35 36       ≈ 0.5086 ดังนั้นความนาจะเปนของเหตุการณที่ตองการ คือ 1 – 24 35 36       ≈ 0.4914 3. สําหรับกิจกรรม “คิดอยางไร” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางสถานการณที่อาจเกิดขึ้น จริงในชีวิตประจําวันของนักเรียน ซึ่งอาจมีนักเรียนบางคนทําตามขอสรุปที่กําหนดไวในแตละสถานการณ หรือไมทําตามก็ได ดังนั้นครูควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น และชวยกันพิจารณาวาความ คิดเห็นใดสมเหตุสมผล
  • 3. 13 4. สําหรับกิจกรรม “ไดเปรียบหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางกิจกรรมหรือเกมที่ มีกติกาหรือเงื่อนไขกําหนดการกระทํา และใหนักเรียนตระหนักวา กติกาหรือเงื่อนไขที่กําหนดนั้นจะทําให ผูเลนแตละคนอาจไดเปรียบหรือเสียเปรียบตางกัน การมีความรูเรื่องความนาจะเปนที่นักเรียนจะไดศึกษา ตอไป จะชวยใหนักเรียนสามารถวิเคราะหไดวา ถาทําตามกติกาของกิจกรรมนั้น ๆ แลว นักเรียนจะ ไดเปรียบหรือเสียเปรียบ ดังนั้นครูจึงควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดอภิปรายรวมกัน 2.2 การทดลองสุมและเหตุการณ (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมที่กําหนดใหได 2. บอกผลลัพธของเหตุการณที่กําหนดใหได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการทดลองสุม ครูอาจหา อุปกรณและดําเนินการทดลองใหนักเรียนเห็นจริง อยางไรก็ตามครูตองระมัดระวังความเที่ยงตรงของ อุปกรณที่ใชและการดําเนินการทดลองดวย เชน การสุมหยิบของในขวดโหล ครูควรใชขวดโหลทึบที่มอง ไมเห็นสิ่งของภายในและควรหยิบโดยไมมอง การทอดลูกเตาควรทอดลงบนโตะหรือบนพื้นที่ลูกเตา สามารถกลิ้งไดโดยอิสระ การโยนเหรียญควรใชการดีดขึ้นแลวใหเหรียญตกลงบนพื้นโดยอิสระ 2. สําหรับกิจกรรม “เปนหรือไม” ครูอาจใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางการทดลองสุมเพิ่มเติม จากที่ใหไวในกิจกรรม และควรหลีกเลี่ยงการยกตัวอยางที่ไมเปนการทดลองสุม โดยยกตัวอยางการกระทํา ที่สามารถทํานายผลไดแนนอนลวงหนา เชน การแขงขันฟุตบอลระหวางทีมของโรงเรียนกับทีมชาติ 3. การหาผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมในชั้นนี้ จะเนน “วิธีการแจงนับ” และเพื่อใหการแจงนับเปนไปอยางเปนระบบ ครูอาจใชแผนภาพตนไมหรือใชตารางเปนเครื่องมือในการ หาผลลัพธ หรืออาจใชแผนภาพรูปแบบอื่นก็ได (ถามี) เชน การสุมหยิบลูกปงปอง 2 ลูกพรอมกันจากกลองที่มีลูกปงปองสีมวง สีสมและสีเขียวอยางละ 1 ลูก อาจหาผลลัพธจากแผนภาพรูปสามเหลี่ยมไดดังนี้
  • 4. 14 ครูควรใหขอสังเกตกับนักเรียนวา กรณีที่หยิบ 2 ลูกพรอมกัน จะเขียนวา มวงสม หรือ สมมวง ก็ใหถือวาเปนผลลัพธเดียวกัน สําหรับการหาผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการทดลองสุมที่มี การหยิบ 2 ครั้ง ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาผลลัพธในรูปคูอันดับ เชน (มวง, เขียว) และ (เขียว, มวง) ถือวาเปนผลลัพธที่ไมเหมือนกัน กลาวคือ (มวง, เขียว) แสดงวา หยิบครั้งที่หนึ่ง ไดสีมวง และหยิบครั้งที่สอง ไดสีเขียว (เขียว, มวง) แสดงวา หยิบครั้งที่หนึ่ง ไดสีเขียว และหยิบครั้งที่สอง ไดสีมวง 4. ในการหมุนแปนวงกลมที่มีหมายเลขกํากับเปน 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 นั้น เพื่อใหนักเรียนเขาใจความหมายของ “เหตุการณ” ดียิ่งขึ้น ครูอาจใหนักเรียนตั้งคําถามที่ตนสนใจหรือ อยากรูคําตอบเพิ่มเติมขึ้นมาเอง เชน ผลลัพธที่เข็มจะชี้ในชองจํานวนที่ 3 หารลงตัว เปนอะไรไดบาง หรือ ผลลัพธที่เข็มจะชี้ในชองจํานวนที่หาร 12 ลงตัว เปนอะไรไดบาง เปนตน 5. สําหรับตัวอยางที่ 1 การหาผลลัพธทั้งหมดที่เกิดจากการโยนเหรียญบาท 3 เหรียญพรอมกัน 1 ครั้ง ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาผลลัพธ HTT, THT และ TTH เปนผลลัพธที่ไมเหมือนกัน เนื่องจาก เหรียญทั้งสามตางกัน แตถายังมีนักเรียนสงสัยอยู ครูอาจใชเหรียญที่มีขนาดตางกันแทน เชน เหรียญสิบ เหรียญหา และเหรียญบาท แลวแสดงใหเห็นความแตกตางของผลลัพธ HTT, THT และ TTH 6. ในการทดลองสุมหยิบของมากกวาหนึ่งชิ้นจากภาชนะ ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา การสุม หยิบทั่ว ๆ ไปนั้นมี 3 แบบ คือ หยิบพรอม ๆ กันหลายชิ้นตามจํานวนที่ตองการ หรือหยิบออกมาทีละ 1 ชิ้น จนไดครบตามจํานวนที่ตองการ หรือหยิบออกมาทีละ 1 ชิ้นดูวาไดอะไรแลวใสคืน แลวหยิบใหมอีกจนครบ ตามจํานวนที่ตองการ ครูควรย้ําวา การสุมหยิบหลายชิ้นขึ้นพรอม ๆ กันหนึ่งครั้ง ผลลัพธที่ไดจะไมมีเรื่อง อันดับเขามาเกี่ยวของ แตถาหยิบออกมาทีละ 1 ชิ้นจนไดครบตามจํานวนที่ตองการ หรือหยิบมาดูวาได อะไรแลวใสคืน แลวหยิบใหมอีกจนครบตามจํานวนที่ตองการมากกวาหนึ่งครั้ง ถือเปนขอตกลงในที่นี้วา ผลลัพธที่ไดจะมีเรื่องอันดับเขามาเกี่ยวของ 2.3 ความนาจะเปนของเหตุการณ (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. บอกความนาจะเปนของเหตุการณที่กําหนดใหได 2. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล 3. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจได
  • 5. 15 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการจัดกิจกรรม เพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการหา “ความนาจะเปนของเหตุการณ” ครูอาจยกตัวอยางการทดลองสุมที่นักเรียนรูผลลัพธทั้งหมดแลว และใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวาแตละ ผลลัพธมีโอกาสเกิดขึ้นมากนอยเพียงใดเมื่อเทียบกับจํานวนผลลัพธที่จะเกิดขึ้นทั้งหมด หลังจากนั้นครูและ นักเรียนรวมกันสรุปสูตรการหาความนาจะเปนของเหตุการณ 2. ในการหาผลลัพธทั้งหมดที่เกิดจากการหยิบลูกบาศก 2 ลูกพรอมกัน 1 ครั้งดังในตัวอยางที่ 2 จากถุงที่มีลูกบาศกสีเขียว 2 ลูกและสีแดง 3 ลูก ครูชี้ใหนักเรียนเห็นวาลูกบาศกทุกลูกแตกตางกัน จึง เขียนหมายเลข 1, 2 หรือ 3 กํากับ 3. หลังจากหาความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดจากการสุมตางๆ แลว ครูควรใหขอสังเกตวา ขอบเขตของความนาจะเปนของเหตุการณใด ๆ จะมีคาตั้งแต 0 ถึง 1 โดยเนนย้ําวา ความนาจะเปนของ เหตุการณที่จะเกิดขึ้นแนนอนจะเทากับ 1 และความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมมีผลลัพธเกิดขึ้นเลยหรือ เหตุการณที่ไมเกิดขึ้นแนนอนจะเทากับ 0 4. สําหรับกิจกรรม “ทราบหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนทราบวา การหาความนาจะเปน ของเหตุการณมีทั้งในทางทฤษฎีและในทางปฏิบัติ ในการหาความนาจะเปนในทางทฤษฎี เรามักจะ กําหนดใหแตละผลลัพธมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กัน หรือสิ่งที่ใชทดลองนั้นมีความเที่ยงตรง ขณะที่การหา ความนาจะเปนในทางปฏิบัติ เรามักจะทําการทดลองสุมหลาย ๆ ครั้ง โดยถือวาถาจํานวนการทดลองมาก ครั้งขึ้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดจะใกลเคียงกับความนาจะเปนในทางทฤษฎีมากขึ้น และจะถือวา สิ่งที่ใชทดลองนั้นมีความเที่ยงตรงดวยเชนกัน 5. สําหรับกิจกรรม “คาดการณอยางไร” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางสถานการณที่อาจ เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจําวัน ซึ่งอาจมีนักเรียนบางคนคาดการณในแตละสถานการณแตกตางกัน ดังนั้นครู ควรเปดโอกาสใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น และชวยกันพิจารณาวาการคาดการณใดสมเหตุสมผล โดยใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปน 6. สําหรับกิจกรรม “ชวยกันรณรงค” มีเจตนาใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยงของความนาจะเปน กับชีวิตประจําวัน ซึ่งในที่นี้เปนการรณรงคเพื่อแกปญหาตาง ๆ ในสังคม ครูควรใหมีการสนทนารวมกันและ ถือโอกาสสอดแทรกใหนักเรียนตระหนักถึงหนาที่ที่จะตองมีสวนชวยกันรณรงค และปฏิบัติตนตามโครงการ รณรงคที่ใหชวยกันรักษาและพัฒนาสังคม
  • 6. 16 2.4 ความนาจะเปนกับการตัดสินใจ (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนประกอบการตัดสินใจได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. เพื่อเปนการนําเขาสูเรื่องคาคาดหมาย ครูนําสนทนาเกี่ยวกับคําหรือขอความที่นักเรียนมักจะ ไดพบเห็นหรือไดฟงจากสื่อทั้งทางวิทยุ โทรทัศน สื่อสิ่งพิมพหรือในวงสนทนาเกี่ยวกับ ผลตอบแทนของ การเกิดเหตุการณตาง ๆ เพื่อเชื่อมโยงไปสูคาคาดหมายของเหตุการณ 2. ในการเรียนการสอน ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาความนาจะเปนของเหตุการณกับ ผลตอบแทนของเหตุการณ เปนองคประกอบที่สําคัญในการหาคาคาดหมายของเหตุการณใด ๆ เชน ถาเปลี่ยนกติกาของการทดลองสุม หรือเปลี่ยนผลตอบแทนของเหตุการณใหมากขึ้นหรือนอยลง แลว คาคาดหมายของเหตุการณนั้นจะเปลี่ยนแปลงดวยเชนกัน ดังกิจกรรมการเลนเกมโยนเหรียญของเจตริน และอําพล 3. ในการเลนเกมโยนเหรียญของเจตรินกับอําพล ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา จํานวนเงินที่ อําพลอาจจะไดรับและจํานวนเงินที่อําพลอาจจะตองเสีย เปนสิ่งสําคัญในการหาคาคาดหมายของเหตุการณ นี้ เพราะการรับเงินหรือเสียเงินของเจตรินกับอําพลเกิดขึ้นหลังจากที่ผลลัพธของการโยนเหรียญไดเกิดขึ้น แลว ดังนั้นจึงตองนําจํานวนเงินดังกลาวมาใชในการคํานวณหาคาคาดหมายดวย 4. สําหรับกิจกรรม “หวยทอง” ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา จํานวนเงินที่ณัชชาซื้อหวยนั้นไมได นํามาใชในการคํานวณหาคาคาดหมายของเหตุการณนี้ เพราะณัชชาเสียเงินจํานวนนั้นซื้อสลากลวงหนา กอนที่จะออกรางวัล แตจะนํามาใชในการเปรียบเทียบคาคาดหมายที่ณัชชาจะไดเงินวาเปนการเสียเปรียบ หรือไดเปรียบ 5. กิจกรรม “ไดหรือไม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการใชความรูเกี่ยวกับความนาจะ เปนประกอบการตัดสินใจ ซึ่งอาจมีนักเรียนบางคนมีการตัดสินใจที่แตกตางกัน ดังนั้นครูควรเปดโอกาส ใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น และชวยกันพิจารณาวาการตัดสินใจใดสมเหตุสมผล สําหรับเหตุการณขอ 2 ครูควรนํามาอภิปรายกับนักเรียนในชั้นเรียน โดยชี้ใหนักเรียนเห็น กอนวา กําไร 300,000 บาทของบริษัทเปนรายไดของบริษัทที่หักคาใชจายทั้งหมดซึ่งรวมถึงการเสียเงิน 200,000 บาทไปแลว การรับเงินกําไรหรือเสียเงินคาเตรียมการไปโดยไมไดงานเกิดขึ้นหลังจากไดทราบผล การประมูลแลว ดังนั้นจึงตองนํากําไรและคาใชจายดังกลาวมาใชคํานวณหาคาคาดหมายดวย 6. สําหรับกิจกรรม “สลากกินแบงรัฐบาล” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางการพนันและ การเสี่ยงโชคที่เจามือมักจะกําหนดกติกาและเงื่อนไขการจายรางวัลที่ทําใหเจามือไดเปรียบ มีกําไรเปน จํานวนมาก และในระยะยาวผูเลนจะเสียเปรียบเจามือ ดังนั้นครูควรชี้ใหนักเรียนตระหนักวา การหวัง ร่ํารวยจากการพนันและการเสี่ยงโชคทุกชนิดนั้นเปนไปไดยาก
  • 7. 17 7. กิจกรรม “ลีลาวดีลูกผสม” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนเห็นตัวอยางของการเชื่อมโยงที่นํา ความรูเรื่องความนาจะเปนมาอธิบายปรากฏการณทางวิทยาศาสตร ครูอาจใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและ ตอบคําถามในกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “คิดอยางไร” สถานการณ 1 กองคิดวามีโอกาสที่จะขึ้นรถเมลที่ปายตรงจุด C ไดมากกวาที่ปายตรงจุด B สถานการณ 2 แกวคิดวามีโอกาสที่ฝนจะตกในเวลาอันใกล สถานการณ 3 ออคิดวามีโอกาสที่จะเขาเรียนไดในโรงเรียน ข มากกวาในโรงเรียน ก สถานการณ 4 คนเมาแลวขับรถมีโอกาสเกิดอุบัติเหตุสูง คําตอบกิจกรรม “ไดเปรียบหรือไม” 1. ถุงที่สาม เพราะในถุงมีลูกแกวสีแดงมากกวาลูกแกวสีเขียว 2. ถุงที่สอง เพราะในถุงมีลูกแกวสีเขียวอยางเดียว 3. ถุงที่สอง 4. ถุงที่หนึ่ง คําตอบกิจกรรม “เปนหรือไม” 1. เปน 2. เปน 3. ไมเปน 4. เปน 5. เปน 6. ไมเปน คําตอบแบบฝกหัด 2.2 1. 1) ชาย ชาย, ชาย หญิง, หญิง ชาย และ หญิง หญิง
  • 8. 18 2) เตาสวน บัวลอย, เตาสวน ถั่วดํา, เตาสวน กลวยบวชชี, บัวลอย ถั่วดํา, บัวลอย กลวยบวชชี และ ถั่วดํา กลวยบวชชี 3) ไทย พมา, ไทย ลาว, ไทย บรูไน, ไทย มาเลเซีย, พมา ลาว, พมา บรูไน, พมา มาเลเซีย, ลาว บรูไน, ลาว มาเลเซีย และ บรูไน มาเลเซีย 2. ผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, TTH และ TTT 1) ออกกอย 1 ครั้ง มีผลลัพธ คือ HHT, HTH และ THH 2) ออกหัวนอยกวาออกกอย มีผลลัพธ คือ HTT, THT, TTH และ TTT 3) ออกกอยมากกวา 2 ครั้ง มีผลลัพธ คือ TTT 4) ไมมีผลลัพธของเหตุการณออกหัวและออกกอยจํานวนครั้งเทากัน 3. ผลลัพธทั้งหมดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการหมุนแปน 2 แปนพรอมกัน คือ (-1, -4), (-1, +5), (-1, +6), (+2, -4), (+2, +5), (+2, +6), (-3, -4), (-3, +5) และ (-3, +6) 1) ผลบวกเปนจํานวนลบ มีผลลัพธ คือ (-1, -4), (+2, -4) และ (-3, -4) 2) ผลบวกเปน 8 มีผลลัพธ คือ (+2, +6) 3) ไมมีผลลัพธของเหตุการณผลบวกเปน 1 4. เพื่อนจะไดรับลูกอมรสตาง ๆ คือ นม สม, นม องุน, นม สละ, สม องุน, สม สละ และ องุน สละ คําตอบแบบฝกหัด 2.3 1. 1) 1 6 2) 3 6 หรือ 1 2 3) 3 6 หรือ 1 2 4) 4 6 หรือ 2 3 2. 1) 8 15 2) 6 15 หรือ 2 5 3) 1 15 4) 0 15 หรือ 0
  • 9. 19 3. 1) 7 8 2) 1 8 3) 0 8 หรือ 0 4) 4 8 หรือ 1 2 4. 1) 6 36 หรือ 1 6 2) 8 36 หรือ 2 9 3) 1 4) 30 36 หรือ 5 6 5) 6 36 หรือ 1 6 5. 2 12 หรือ 1 6 คําตอบกิจกรรม “คาดการณอยางไร” ตัวอยางคําตอบ สถานการณ 1 จุรีนาจะไดรับประทานสมโชกุน เนื่องจากจํานวนสมโชกุนมากกวาจํานวนสมอื่น ๆ แตละชนิด ทําให ความนาจะเปนที่ลูกชายของจุรีจะหยิบไดสมโชกุนมากกวาความนาจะเปนที่จะ หยิบไดสมสายน้ําผึ้ง และมากกวาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสมบางมด สถานการณ 2 เนื่องจากความนาจะเปนที่จะจับฉลากไดเรียนในโรงเรียน ก เทากับ 120 200 หรือ 6 10 มากกวาความนาจะเปนที่จะจับฉลากไดเรียนในโรงเรียน ข ซึ่งเทากับ 300 600 หรือ 5 10 สถานการณ 3 จากขอมูลเกี่ยวกับรายงานอากาศและเหตุการณที่เห็น ทําใหสรุปไดวามี ความนาจะเปนสูงที่ฝนจะตกในวันนั้น ดังนั้นวันเพ็ญควรเตรียมรมหรือเสื้อกันฝน ติดตัวไปโรงเรียน และควรออกจากบานเร็วขึ้นเพื่อเผื่อเวลาในการเดินทาง เพราะ อาจมีปญหาการจารจร หรืออุปสรรคอื่น ๆ
  • 10. 20 สถานการณ 4 ปาละเมียดนาจะเตรียมอาหารมาขายเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีความนาจะเปนสูงที่ ผูมาสอบจะตองรับประทานอาหารกลางวันที่โรงเรียน เพราะมีการสอบทั้ง ชวงเชาและชวงบาย สถานการณ 5 เมื่อ 2 ปกอนชัยคาดการณที่หวังร่ํารวยจากการผลิตผลแกวมังกรออกมาขายและ เปนการตัดสินใจที่ไมถูกตอง ทั้งนี้เนื่องจากชัยไมไดคิดถึงความนาจะเปนที่ ผลแกวมังกรจะลนตลาด เพราะมีชาวสวนคนอื่น ๆ ตางก็ผลิตผลแกวมังกรออก มาดวย สถานการณ 6 เนื่องจากการผลิตสินคาใด ๆ มีโอกาสเกิดความผิดพลาดในการผลิตดวยเหตุ จากชิ้นสวนดอยคุณภาพ หรือฝมือการประกอบสินคาไมไดมาตรฐาน ดังนั้น มีความนาจะเปนที่รถยนตใหมบางคันจะเกิดปญหาในการใช จนตองสงเขาซอม บอย ๆ คําตอบกิจกรรม “ชวยกันรณรงค” โครงการรณรงคตาง ๆ ของรัฐบาลมีการนําความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนมาใชเปนประโยชน เนื่องจากไดวิเคราะหมาแลววา ถาไมมีการรณรงคก็มีความนาจะเปนสูงที่จะทําใหสังคม หรือ สิ่งแวดลอมเกิดปญหา และการรณรงคตาง ๆ เปนการใหความรูความเขาใจกับประชาชน เมื่อ ประชาชนมีโอกาสไดฟงไดเห็นบอย ๆ ทําใหมีความนาจะเปนสูงที่ประชาชนจะคลอยตาม และ ปฏิบัติตามการรณรงคนั้น ตัวอยางโครงการรณรงค เชน โครงการปลูกปาถาวรเฉลิมพระเกียรติ และโครงการ ทูบีนัมเบอรวัน คําตอบกิจกรรม “หวยทอง” 1. คาคาดหมายเทากับ 50 บาท แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล) + (ผลตอบแทนที่ไมถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมถูกรางวัล) = ( 2,500 × 2 100 ) + ( 0 × 98 100 ) = 50 บาท
  • 11. 21 ดังนั้น คาคาดหมายที่ผูซื้อจะไดเงินจากการซื้อสลากสองหมายเลขเทากับ 50 บาท แสดงวา ในการซื้อหวยทองหมายเลขละ 100 บาทสองหมายเลข มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 50 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 200 – 50 = 150 บาท นั่นคือ ถาซื้อหวยทองสองหมายเลขหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือผูขาย มีกําไร 2. ผูขายยังจะไดกําไร แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล) + (ผลตอบแทนที่ไมถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมถูกรางวัล) = ( 2,500 × 1 100 ) + ( 0 × 99 100 ) = 25 บาท ดังนั้น คาคาดหมายที่ผูซื้อจะไดเงินจากการซื้อสลาก ราคา 50 บาทเทากับ 25 บาท แสดงวา ในการซื้อหวยทองหนึ่งหมายเลขราคา 50 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 25 บาท ซึ่ง เสียเปรียบอยู 50 – 25 = 25 บาท นั่นคือ ถาซื้อหวยทองหมายเลขละ 50 บาทหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือ ผูขายมีกําไร 3. ผูขายยังจะไดกําไร แนวคิดและตัวอยางคําอธิบาย คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ถูกรางวัล) + (ผลตอบแทนที่ไมถูกรางวัล × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไมถูกรางวัล) = ( 5,000 × 1 100 ) + ( 0 × 99 100 ) = 50 บาท ดังนั้น คาคาดหมายที่ผูซื้อจะไดเงินจากการซื้อสลากราคา 100 บาท โดยมีรางวัลเปนสรอยทองคําหนัก สองสลึงหนึ่งเสนราคา 5,000 บาทเทากับ 50 บาท แสดงวา ในการซื้อหวยทองที่มีการขายสลากราคาเดิม แตเพิ่มรางวัลเปนสรอยทองคําหนักสองสลึง หนึ่งเสนราคา 5,000 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 50 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 100 – 50 = 50 บาท นั่นคือ ถาซื้อหวยทองหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งผูซื้อจะเสียเปรียบหรือผูขายมีกําไร
  • 12. 22 คําตอบกิจกรรม “ไดหรือไม” 1. 1) 2 8 หรือ 1 4 2) 6 8 หรือ 3 4 3) คาคาดหมาย เทากับ 5 บาท ตัวอยางคําอธิบาย แสดงวา ในการซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคราคา 10 บาท มีคาคาดหมายที่จะไดเงิน 5 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 10 – 5 = 5 บาท นั่นคือ ถาแกวซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคหลาย ๆ ครั้ง โดยเฉลี่ยแลวแตละครั้งแกวตาจะ เสียเปรียบหรือผูขายมีกําไร 4) คาคาดหมาย เทากับ 10 บาท ตัวอยางคําอธิบาย แสดงวา ในการซื้อตั๋วหนึ่งใบหมุนวงลอเสี่ยงโชคสองครั้งราคา 10 บาท มีคาคาดหมายที่ จะไดเงิน 10 บาท ซึ่งเสียเปรียบอยู 10 – 10 = 0 บาท นั่นคือ ถาแกวตาซื้อตั๋วหมุนวงลอเสี่ยงโชคหลาย ๆ ใบ โดยเฉลี่ยแลวแตละใบแกวตาจะ เสมอตัว 2. 1) คาคาดหมาย เทากับ 180,000 บาท แนวคิด คาคาดหมาย = (ผลตอบแทนที่ไดงานและมีกําไร × ความนาจะเปนของเหตุการณที่ไดงาน และมีกําไร) + (ผลตอบแทนที่ไมไดงาน × ความนาจะเปนของเหตุการณ ที่ไมไดงาน) = ( 300,000 × 0.6 ) + ( -200,000 × 0.4 ) = 100,000 บาท 2) ตัวอยางคําตอบ บริษัทชาญชัยกอสรางควรเขาประมูลราคา เพราะมีคาคาดหมายที่จะไดกําไร 100,000 บาท ทั้งทําใหคนงานมีงานทํา ซึ่งถาไมมีงาน อาจตองปลดออก โดยบริษัทอาจ ตองเสียคาใชจายในการปลดออกเปนเงินจํานวนหนึ่งและไมมีรายไดเขามา สวนในกรณี บริษัทเขาประมูลและไมไดงานดวยความนาจะเปน 0.4 ก็ควรจะถือเปนความเสี่ยงทางธุรกิจที่ จะเสียเงินคาใชจายในการเตรียมขอมูล 200,000 บาท
  • 13. 23 คําตอบกิจกรรม “สลากกินแบงรัฐบาล” คําตอบในตารางเปนดังนี้ เหตุการณ ผลตอบแทน (บาท) ความนาจะเปน ผลตอบแทน × ความนาจะเปน ถูกรางวัลเลขทาย 2 ตัว 1,000 000,000,1 000,10 1,000 × 000,000,1 000,10 = 10 ถูกรางวัลเลขทาย 3 ตัว 2,000 000,000,1 000,4 2,000 × 000,000,1 000,4 = 8 ถูกรางวัลขางเคียง รางวัลที่หนึ่ง 50,000 000,000,1 2 50,000 × 000,000,1 2 = 0.1 ถูกรางวัลที่ 5 10,000 000,000,1 100 10,000 × 000,000,1 100 = 1 ถูกรางวัลที่ 4 20,000 000,000,1 50 20,000 × 000,000,1 50 = 1 ถูกรางวัลที่ 3 40,000 000,000,1 10 40,000 × 000,000,1 10 = 0.4 ถูกรางวัลที่ 2 100,000 000,000,1 5 100,000 × 000,000,1 5 = 0.5 ถูกรางวัลที่ 1 2,000,000 000,000,1 1 2,000,000 × 000,000,1 1 = 2 ไมถูกรางวัลเลย 0 985,832 1,000,000 0 × 985,832 1,000,000 = 0 คาคาดหมายของการซื้อสลากหนึ่งฉบับ เทากับ 23 ดังนั้น ถาซื้อสลากกินแบงรัฐบาลไปเรื่อยๆ จะขาดทุนฉบับละ 40 – 23 = 17 บาท
  • 14. 24 คําตอบกิจกรรม “ลีลาวดีลูกผสม” 1. 1 2. 0 3. 4. 2 4 หรือ 1 2 5. 2 4 หรือ 1 2 ลีลาวดีดอกสีชมพู RW R W R RR RW W RW WW ลีลาวดีดอกสีชมพู RW