SlideShare a Scribd company logo
1
กุมภการชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๓. กุมภการชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๘)
ว่าด้วยนายช่างหม้อ
(พระปัจเจกพุทธเจ้า ๔ องค์กล่าวกับพระโพธิสัตว์องค์ละคาถาว่า)
[๙๐] อาตมาได้เห็นต้นมะม่วงกลางป่า เขียวชะอุ่ม งอกงาม
ผลิดอกออกผลสะพรั่ง อาตมาได้เห็นมะม่วงต้นนั้นถูกทาลาย เพราะผลเป็ นเหตุ
ครั้นเห็นเช่นนั้นจึงเที่ยวภิกขาจาร (ออกบวช)
[๙๑] กาไลแก้วคู่หนึ่งที่นายช่างผู้ชาญฉลาดเจียรไนแล้ว
เป็นของเกลี้ยงเกลา ที่สตรีสวมใส่ย่อมไม่เกิดเสียงดัง (สวมใส่ย่อมไม่เกิดเสียงดัง
หมายถึงสวมข้างละวง) แต่เพราะสวมใส่วงที่ ๒ เข้าจึงได้มีเสียงดัง
อาตมาเห็นเช่นนั้นแล้วจึงเที่ยวภิกขาจาร
[๙๒] นกจานวนมากพากันรุมจิกตีนกตัวหนึ่ง
ซึ่งกาลังคาบชิ้นเนื้อมาอยู่เพราะอาหารเป็ นเหตุ
อาตมาได้เห็นเช่นนั้นแล้วจึงเที่ยวภิกขาจาร
[๙๓] อาตมาได้เห็นโคผู้มีหนอกกระเพื่อม
มีสีสันและมีกาลังอยู่ท่ามกลางฝูงโค
อาตมาได้เห็นมันขวิดโคผู้ตัวหนึ่งเพราะกามเป็ นเหตุ
ครั้นเห็นเช่นนั้นแล้วจึงเที่ยวภิกขาจาร
(พระโพธิสัตว์กล่าวกับภรรยาว่า)
[๙๔] พระเจ้ากรัณฑกะ ราชาแห่งแคว้นกาลิงคะ พระเจ้านัคคชิ
ราชาแห่งแคว้นคันธาระ พระเจ้านิมิราช ราชาแห่งแคว้นวิเทหะ
และพระเจ้าทุมมุขะ ราชาแห่งแคว้นปัญจาละ ทรงละทิ้งแคว้นเหล่านั้นแล้ว
หมดความกังวล ทรงผนวชแล้ว
[๙๕] แม้พระราชาทุกพระองค์เสมอด้วยเทพเจ้า เสด็จมาประชุมกัน
ย่อมรุ่งเรืองเหมือนไฟที่ลุกโชน นี่น้องหญิงผู้มีโชค
ถึงพี่ก็จะเป็นเหมือนพระราชาเหล่านี้ จักละกามซึ่งมีประการต่างๆ
แล้วเที่ยวไปผู้เดียว
(ภรรยากล่าวว่า)
[๙๖] เวลานี้เท่านั้นเหมาะที่จะบวช เวลาอื่นไม่เหมาะ
ภายหลังคงจะไม่มีผู้ที่จะพร่าสอนดิฉัน ท่านผู้มีโชค ถึงดิฉันก็จักเที่ยวไปผู้เดียว
เหมือนสกุณีที่รอดพ้นจากมือคน
(พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
2
[๙๗] พวกเด็กๆ รู้จักของดิบ ของสุก ของเค็ม และของจืด
อาตมาเห็นเช่นนั้นแล้วจึงบวช น้องหญิงจงเที่ยวภิกขาจารไปเถิด
อาตมาก็จะเที่ยวภิกขาจารไป
กุมภการชาดกที่ ๓ จบ
---------------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
กุมภการชาดก
ว่าด้วย เหตุให้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภการข่มกิเลสแล้ว ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
เรื่องจักมีแจ้งในปัญญาสชาดก.
ก็กาลครั้งนั้น ที่นครสาวัตถี สหาย ๕๐๐ คนบวชแล้ว
พักอยู่ภายในโกฏิสัณฐาร ในเวลาเที่ยงคืนได้ตรึกถึงเรื่องกามวิตก.
พระศาสดาทรงตรวจดูสาวกของพระองค์ทั้งคืนทั้งวัน ๖ ครั้ง
คือกลางคืน ๓ ครั้ง กลางวัน ๓ ครั้ง
ทรงพิทักษ์รักษาเหมือนนกกะต้อยติวิดรักษาไข่ จามรีรักษาขนหาง
มารดารักษาลูกน้อยที่น่ารัก และเหมือนคนตาข้างเดียวรักษาตาที่เหลืออยู่ฉะนั้น
เพราะฉะนั้น พระองค์จึงทรงข่มกิเลสที่เกิดขึ้นของสาวกทั้งหลายในขณะนั้น.
วันนั้นเวลาเที่ยงคืน พระองค์กาหนดตรวจดูพระเชตวันอยู่
ทรงทราบวิตกของภิกษุเหล่านั้นฟุ้ งขึ้น ทรงดาริว่า
กิเลสนี้เมื่อฟุ้ งขึ้นในภายในของภิกษุเหล่านี้ จักทาลายเหตุแห่งอรหัตผลเสีย
เราตถาคตจักข่มกิเลสแล้วมอบให้ซึ่งอรหัตผลแก่ภิกษุเหล่านั้นเดี๋ยวนี้แหละ
แล้วเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้หาพระอานนท์เถระมาแล้ว
ตรัสสั่งให้ประชุมว่า ดูก่อนอานนท์
เธอจงให้ภิกษุผู้อยู่ภายในโกฏิสัณฐารทั้งหมดประชุมกัน.
เสด็จประทับนั่งบนพุทธอาสน์ที่ปูลาดไว้แล้ว ตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุไม่ควรเป็นไปในอานาจของกิเลสที่เป็นไปแล้วในภายใน ด้วยว่ากิเลส
เมื่อเจริญขึ้น ย่อมให้ถึงความพินาศมากเหมือนปัจจามิตร. ธรรมดาภิกษุ
กิเลสแม้มีประมาณเล็กน้อยก็ควรข่มไว้ บัณฑิตในกาลก่อน
เห็นอารมณ์ประมาณเล็กน้อย ก็ข่มกิเลสที่เป็นไปแล้วในภายในไว้
ให้ปัจเจกโพธิญาณเกิดขึ้น แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์ถือกาเนิดในตระกูลช่างหม้อ ในหมู่บ้านใกล้ประตูนครพาราณสี
เจริญวัยแล้วได้ครอบครองสมบัติ มีบุตรชาย ๑ คน บุตรหญิง ๑ คน
3
เลี้ยงบุตรภรรยาโดยอาศัยการทาหม้อ.
ในกาลครั้งนั้น พระราชาทรงพระนามว่ากรกัณฑะ ในทันตปุรนคร
แคว้นกลิงคะมีพระราชบริพารมาก เมื่อเสด็จไปพระราชอุทยาน
ทอดพระเนตรเห็นต้นมะม่วงใกล้ประตูพระราชอุทยาน มีผลน่าเสวย
เต็มไปด้วยผลเป็นพวง ประทับบนคอช้างต้นนั้นเอง
ทรงเหยียดพระหัตถ์ออกไปเก็บผลมะม่วงพวงหนึ่ง
แล้วเสด็จเข้าไปพระราชอุทยาน ประทับนั่งบนมงคลสิลาอาสน์
พระราชทานแก่คนที่ควรพระราชทาน แล้วจึงเสวยผลมะม่วง.
จาเดิมแต่เวลาที่พระราชาทรงเก็บผลมะม่วงแล้ว
ตามธรรมดาคนที่เหลือทั้งหลาย ก็ต้องพากันเก็บเหมือนกัน ดังนั้น อามาตย์บ้าง
พราหมณ์และคหบดีบ้าง จึงพากันเขย่าผลมะม่วงให้หล่นแล้วรับประทานกัน.
ผู้ที่มาหลังๆ ก็ขึ้นต้นใช้ไม้ค้อนฟาดทาให้กิ่งหักทะลายลงกินกัน แม้แต่ผลดิบๆ
ก็ไม่เหลือ.
ฝ่ายพระราชาทรงกรีฑาในพระราชอุทยานตลอดทั้งวันแล้ว
ตอนเย็นเมื่อทรงประทับนั่งบนคอช้างต้นที่ตกแต่งแล้ว
เสด็จไปทอดพระเนตรเห็นต้นมะม่วงนั้น
จึงเสด็จลงจากคอช้างแล้วเสด็จไปที่โคนต้นมะม่วง ทรงมองดูลาต้นพลาง
ทรงดาริว่า ต้นมะม่วงต้นนั้นเมื่อเช้านี้เอง เต็มไปด้วยผลเป็นพวงสง่างาม
ทาความอิ่มตาให้แก่ผู้ดูทั้งหลายยืนต้นอยู่ บัดนี้ เขาเก็บผลหมดแล้ว
หักห้อยรุ่งริ่งยืนต้นอยู่ไม่งาม.
เมื่อทรงมองดูต้นอื่นอีก ได้ทรงเห็นต้นมะม่วงต้นอื่นที่ไม่มีผล
แล้วประทับยืนที่ควงไม้นั่นเอง ทรงทาต้นมะม่วงมีผลให้เป็ นอารมณ์ว่า
ต้นไม้ต้นนั้นยืนต้นสง่างาม เหมือนภูเขาแก้วมณีโล้น เพราะตัวเองไม่มีผล
ส่วนมะม่วงต้นนี้ถึงความย่อยยับอย่างนี้เพราะออกผล
แม้ท่ามกลางเรือนนี้ก็เช่นกันกับต้นมะม่วงที่ออกผล
ส่วนการบรรพชาเป็ นเช่นกับต้นไม้ที่ไม่มีผล ผู้มีทรัพย์นั่นแหละมีภัย
ส่วนผู้ไม่มีทรัพย์ไม่มีภัย แม้เราก็ควรเป็ นเหมือนต้นไม้ที่ไม่มีผลดังนี้แล้ว
ทรงกาหนดไตรลักษณ์เจริญวิปัสสนายังปัจเจกโพธิญาณให้เกิดขึ้นแล้ว
ทรงราลึกอยู่ว่า บัดนี้เราทาลายกระท่อมคือท้องของมารดาแล้ว.
การปฏิสนธิในภพทั้ง ๓ เราตัดขาดแล้ว. ส้วมแหล่งอุจจาระ คือสงสารเราล้างแล้ว.
ทะเลน้าตาเราวิดแห้งแล้ว. กาแพงกระดูกเราพังแล้ว.
เราจะไม่มีการปฏิสนธิอีกดังนี้
ได้ทรงแต่งองค์ด้วยเครื่องประดับทั้งหมดประทับยืนอยู่แล้ว.
จึงอามาตย์ทั้งหลายได้ทูลพระองค์ว่า ข้าแต่มหาราช
พระองค์เสด็จประทับยืนนานเกินไปแล้ว.
4
รา. เราไม่ใช่พระราชา แต่เราเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า.
อา. ข้าแต่สมมติเทพ ธรรมดา
พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายจะไม่เป็นเช่นกับด้วยพระองค์.
รา. ถ้าเช่นนั้นเป็ นอย่างไร?
อา. โกนผมโกนหนวด ปกปิดร่างกายด้วยผ้ากาสาวพัสตร์
มีส่วนเปรียบเทียบด้วยดวงจันทร์ที่พ้นจากปากพระราหู
พานักอยู่ที่เงื้อมนันทมูลในป่าหิมพานต์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นเช่นนี้.
ในขณะนั้น พระราชาทรงยกพระหัตถ์ขึ้นลูบพระเกษา
ในทันทีนั้นเอง เพศคฤหัสถ์ก็อันตรธานไป เพศสมณะก็ปรากฏขึ้น
สมณบริขารทั้งหลายที่พระองค์ตรัสถึงอย่างนี้ว่า :-
ไตรจีวร บาตร มีดโกน เข็ม รัดประคตพร้อมด้วยกระบอกกรองน้า ๘
อย่างเหล่านี้ เป็นบริขารของภิกษุผู้ประกอบความเพียร
ได้ปกปิดพระกายของพระองค์ทันที.
พระองค์ประทับที่อากาศ ประทานพระโอวาทแก่มหาชนแล้ว
ได้เสด็จไปสู่เงื้อมนันทมูลนั่นแหละ.
ฝ่ายพระราชาทรงพระนามว่านัคคชิ ในนครตักกสิลา ที่แคว้นคันธาระ
เสด็จไปที่ท่ามกลางพระราชบัลลังก์
เบื้องบนปราสาททอดพระเนตรเห็นหญิงคนหนึ่ง
ในมือแต่ละข้างประดับกาไลแก้วมณี คือหยกข้างละอัน นั่งบดของหอมอยู่ไม่ไกล
ประทับนั่งทอดพระเนตร พลางดาริว่า กาไลแก้วมณี
คือหยกเหล่านั้นไม่กระทบกัน ไม่มีเสียงดัง เพราะเป็ นข้างละอัน คือแยกกันอยู่.
ภายหลัง นางเอากาไลแขนจากข้างขวามาสวมไว้ที่ข้างซ้ายรวมกัน
แล้วเริ่มเอามือขวาดึงของหอมมาบด.
กาไลแก้วมณีคือหยกที่มือซ้ายมากระทบกาไลข้างที่ ๒ จึงมีเสียงดังขึ้น.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นกาไลแขนทั้ง ๒ ข้างเหล่านั้นกระทบกัน
อยู่มีเสียงดัง จึงทรงดาริว่า กาไลแขนนี้เวลาอยู่ข้างละอันไม่กระทบกัน
แต่อาศัยข้างที่ ๒ กระทบกันก็มีเสียงดังฉันใด
แม้สัตว์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน แต่ละคนๆ ไม่กระทบกัน ก็ไม่ส่งเสียง
แต่พอมี ๒, ๓ คนขึ้นไปก็กระทบกัน ทาการทะเลาะกัน.
ส่วนเราวิจารณ์ราษฎรในราชสมบัติ ๒ แห่ง ในกัสมิระและคันธาระ
เราควรจะเป็ นเหมือนกาไลแขนข้างเดียว ไม่วิจารณ์คนอื่น
วิจารณ์ตัวเองเท่านั้นอยู่ ดังนี้แล้ว
ทรงทาการกระทบกันแห่งกาไลให้เป็นอารมณ์แล้ว ทั้งๆ ที่ทรงนั่งอยู่นั่นแหละ
ทรงกาหนดไตรลักษณ์ เจริญวิปัสสนา แล้วยังปัจเจกโพธิญาณให้เกิด.
ข้อความที่เหลือ เป็นเช่นกับข้อความแต่ก่อนนั่นแหละ.
5
ที่มิถิลานครในวิเทหรัฐ พระเจ้านิมิราช เสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว
มีคณะอามาตย์แวดล้อม ได้ประทับยืนทอดพระเนตรระหว่างถนน
ทางสีหบัญชรที่เปิดไว้.
ครั้งนั้น
เหยี่ยวตัวหนึ่งคาบเอาชิ้นเนื้อจากเขียงที่ตลาดแล้วบินขึ้นฟ้ าไป.
นกทั้งหลายมีแร้งเป็ นต้น บินล้อมเหยี่ยวตัวนั้น ข้างโน้นบ้าง ข้างนี้บ้าง
ใช้จะงอยปากจิก ใช้ปีกตี ใช้เท้าเฉี่ยวไป เพราะเหตุแห่งอาหาร.
มันทนการรังแกตนไม่ไหว จึงทิ้งก้อนเนื้อก้อนนั้นไป.
นกตัวอื่นก็คาบเอาเนื้อก้อนนั้นไป.
นกเหล่าอื่นก็พากันละเหยี่ยวตัวนี้ติดตามนกตัวนั้นไป. ถึงนกตัวนั้นปล่อยแล้ว
ตัวอื่นก็คาบไป นกทั้งหลายก็พากันรุมตีนกแม้ตัวนั้นอย่างนั้นเหมือนกัน.
พระราชาทรงเห็นนกเหล่านั้นแล้ว ทรงดาริว่า นกตัวใดๆ
คาบก้อนเนื้อ นกตัวนั้นๆ นั่นแหละมีความทุกข์ ส่วนนกตัวใดๆ
ทิ้งสละก้อนเนื้อนั้นทิ้ง นกตัวนั้นๆ นั่นแหละมีความสุข.
แม้กามคุณทั้ง ๕ เหล่านี้ ผู้ใดๆ ยึดถือไว้ ผู้นั้นๆ นั่นแหละมีความทุกข์
ส่วนผู้ไม่ยึดถือนั่นแหละมีความสุข เพราะว่า
กามเหล่านี้เป็นของสาธารณะสาหรับคนจานวนมาก.
ก็แลเรามีหญิงหมื่นหกพันนาง เราควรจะละกามคุณทั้ง ๕
แล้วเป็ นสุขเหมือนเหยี่ยวตัวที่ทิ้งก้อนเนื้อฉะนั้น.
พระองค์ทรงมนสิการโดยแยบคายอยู่ ทั้งๆ ที่ทรงนั่งอยู่นั่นแหละ
ทรงกาหนดไตรลักษณ์ เจริญวิปัสสนา แล้วยังปัจเจกโพธิญาณให้เกิดขึ้น.
ข้อความที่เหลือ เป็นเช่นกับข้อความแต่ก่อนนั่นแหละ.
แม้ในแคว้นอุตตรปัญจาละ ในกปิลนคร
พระราชาทรงพระนามว่าทุมมุขะ เสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว
ทรงประดับเครื่องอลังการพร้อมสรรพ มีหมู่อามาตย์ห้อมล้อม
ได้ประทับยืนทอดพระเนตรพระลานหลวงทางสีหบัญชรที่เปิดไว้.
ในขณะนั้น คนเลี้ยงวัวทั้งหลายต่างก็เปิดประตูคอกวัว.
พวกวัวตัวผู้ออกจากคอก แล้วก็ติดตามวัวตัวเมียตัวหนึ่งด้วยอานาจกิเลส
ในจานวนวัวเหล่านั้น โคถึกใหญ่ตัวหนึ่งเขาคม เห็นวัวตัวผู้อื่นกาลังเดินมา
มีความเห็นแก่ตัวคือหึงด้วยอานาจกิเลส
ครอบงาจึงใช้เขาแหลมขวิดที่ระหว่างขา.
ใส้ใหญ่ทั้งหลายของวัวตัวนั้นทะลักออกมาทางปากแผล มันถึงความสิ้นชีวิต ณ
ที่นั้นนั่นเอง.
พระราชาทรงเห็นเหตุการณ์นั้นแล้ว ทรงดาริว่า สัตวโลกทั้งหลาย
ตั้งต้นแต่สัตว์เดียรัจฉานไปถึงทุกข์ด้วยอานาจกิเลส
6
วัวผู้ตัวนี้อาศัยกิเลสถึงความสิ้นชีวิต สัตว์แม้เหล่าอื่นก็หวั่นไหว
เพราะกิเลสทั้งหลายนั่นเอง
เราควรจะประหารกิเลสที่เป็นเหตุให้สัตว์ทั้งหลายหวั่นไหว.
พระองค์ประทับยืนอยู่นั่นแหละ ทรงกาหนดไตรลักษณ์เจริญวิปัสสนา
แล้วยังปัจเจกโพธิญาณให้เกิดขึ้น.
ข้อความที่เหลือ เหมือนกับข้อความในตอนก่อนนั่นเอง.
อยู่มาวันหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้ง ๔
องค์เหล่านั้นกาหนดเวลาภิกขาจารแล้ว ก็เสด็จออกจากเงื้อมนันทมูล
ทรงเคี้ยวไม้ชาระฟันนาคลดา ที่สระอโนดาด ทรงทาการชาระพระวรกายแล้ว
ประทับยืนบนพื้นมโนศิลา ทรงนุ่งสบงแล้วถือเอาบาตรและจีวร
เหาะขึ้นไปบนอากาศด้วยฤทธิ์ ทรงย่าเมฆ ๕ สีไปแล้ว เสด็จลง
ณ ที่ไม่ไกลหมู่บ้าน ใกล้ประตูนครพาราณสี ทรงห่มจีวรในที่สาราญแห่งหนึ่ง
ทรงถือบาตรเสด็จเข้าไปในหมู่บ้าน ใกล้ประตูเมือง
เที่ยวบิณฑบาตลุถึงประตูบ้านพระโพธิสัตว์.
พระโพธิสัตว์เห็นพระปัจเจกเหล่านั้นแล้วดีใจ
นิมนต์ให้ท่านเข้าไปในบ้าน ให้นั่งบนอาสนะที่ปูไว้แล้ว ถวายทักขิโนทก
อังคาสด้วยของเคี้ยวของฉันอันประณีต นั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง
ไหว้พระสังฆเถระแล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
การบรรพชาของพระองค์ทั้งหลายงามเหลือเกิน
อินทรีย์ทั้งหลายของพระองค์ผ่องใส ฉวีวรรณก็ผุดผ่อง
พระองค์ทรงเห็นอารมณ์อะไรหนอ
จึงทรงเข้าถึงการบรรพชาด้วยอานาจภิกขาจารวัตร
และได้เข้าไปทูลถามพระเถระแม้ที่เหลือเหมือนทูลถามพระสังฆเถระ.
จึงท่านทั้ง ๔ เหล่านั้นได้ตรัสบอกเรื่องการออกบวชของตนๆ
แก่พระโพธิสัตว์นั้น โดยนัยมีอาทิว่า อาตมภาพเป็นพระราชาชื่อโน้น
ในนครโน้น ในแคว้นโน้น
แล้วได้ตรัสคาถาองค์ละ ๑ คาถาว่า :-
อาตมภาพได้เห็นต้นมะม่วง ที่งอกงามออกผลเขียวไปทั้งต้น
ในระหว่างป่ามะม่วง เมื่อกลับออกมา ได้เห็นมะม่วงต้นนั้นหักย่อยยับ
เพราะผลของมันเป็นเหตุ ครั้นเห็นแล้ว อาตมภาพจึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร.
หญิงสาวคนหนึ่งสวมกาไลแขนหินหยกเกลี้ยงกลมคู่หนึ่ง
ที่นายช่างผู้ชานาญเจียระไนแล้ว ไม่มีเสียงดัง แต่เพราะอาศัยกาไลแขนข้างทั้ง ๒
จึงมีเสียงดังขึ้น อาตมภาพได้เห็นเหตุนั้นแล้ว จึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร.
นกจานวนมากพากันบินตามรุมล้อม
ตีจิกนกตัวหนึ่งที่กาลังนาก้อนเนื้อมา เพราะอาหารเป็ นเหตุ
7
อาตมภาพได้เห็นเหตุนั้นแล้ว จึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร.
อาตมภาพได้เห็นวัวตัวผู้ตัวหนึ่ง ท่ามกลางฝูงมีหนอกขึ้นเปลี่ยว
ประกอบด้วยสีสวยและมีกาลังมาก ได้เห็นมันขวิดวัวตัวหนึ่งตาย
เพราะกามเป็นเหตุ ครั้นได้เห็นเหตุนั้นแล้ว จึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร.
พระโพธิสัตว์ ครั้นได้สดับคาถาแต่ละคาถา
ได้ทาการสดุดีพระปัจเจกพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ดังข้าพระองค์ขอโอกาส อารมณ์นั่นเหมาะสมสาหรับเหล่าข้าพระองค์ทีเดียว.
ก็แลพระโพธิสัตว์ ครั้นสดับธรรมกถานั้นที่ท่านทั้ง ๔ ทรงแสดงแล้ว
เป็นผู้ไม่มีเยื่อใยในฆราวาส เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปแล้ว
รับประทานอาหารเช้าแล้ว นั่งสาราญอยู่ ได้เรียกภรรยามาพูดว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้า ๔ องค์นี้สละราชสมบัติออกผนวชไม่มีกังวล ไม่มีห่วงใย
ให้กาลเวลาล่วงไปด้วยความสุขเกิดจากการบรรพชา ส่วนเราเลี้ยงชีพด้วยค่าจ้าง
เราจะประโยชน์อะไรด้วยการครองเรือน เธอจงสงเคราะห์
คือเลี้ยงดูลูกอยู่ในบ้านเกิด.
แล้วกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า :-
พระราชาเหล่านี้ คือ พระเจ้ากรกัณฑะของชาวกลิงคะ
๑ พระเจ้านัคคชิของชาวคันธาระ ๑ พระเจ้านิมิราชของชาววิเทหะ
๑ พระเจ้าทุมมุขะของชาวปัญจาละ ๑ ทรงละแว่นแคว้นออกผนวช
หาความห่วงใยมิได้. พระราชาเหล่านี้แม้ทุกพระองค์
เสมอด้วยเทพเจ้าเสด็จมาพบกัน ย่อมสง่างามเหมือนไฟลุกฉะนั้น
ดูก่อนนางผู้มีโชค แม้เราก็ละกามทั้งหลายทิ้งแล้ว
ดารงอยู่ตามส่วนของตนเที่ยวไปคนเดียว.
คาถาเหล่านั้นมีเนื้อความว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระปัจเจกพุทธเจ้าผู้เป็นสังฆเถระนั้น
เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาวคันธาระ ทรงพระนามว่ากรกัณฑะ
ในนครชื่อว่าทันตปุระ
องค์ที่ ๒ เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาวคันธาระ
ทรงพระนามว่านัคคชิ ในตักกสิลานคร
องค์ที่ ๓ เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาววิเทหะ
ทรงพระนามว่านิมิราชา ในนครมิถิลา
องค์ที่ ๔ เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาวอุตตรปัญจาละ
ทรงพระนามว่าทุมมุขะ ในนครกบิล.
พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นทรงละแคว้นทั้งหลายเห็นปานนี้แล้ว
เป็นผู้ไม่มีความห่วงใยทรงผนวชแล้ว.
8
ภรรยานั้น ครั้นได้ฟังถ้อยคาของเขาแล้ว จึงพูดว่า ข้าแต่นาย
ตั้งแต่เวลาได้ฟังธรรมกถาของพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว
แม้ฉันเองใจก็ไม่สถิตอยู่ในบ้าน แล้วได้กล่าวคาถานี้ว่า :-
เวลานี้เท่านั้น เวลาอื่นนอกจากนี้จะไม่มีเลย
ภายหลังคงไม่มีผู้พร่าสอนฉัน ข้าแต่ท่านผู้มีโชค ฉันเองก็จักพ้นจากมือชาย
เที่ยวไปคนเดียว เหมือนนางนกพ้นจากข้อง ฉะนั้น.
พระโพธิสัตว์ ครั้นได้ฟังคาของนางแล้ว ได้นิ่งอยู่.
ส่วนนางประสงค์จะลวงพระโพธิสัตว์แล้วบวชก่อน จึงกล่าวว่า ข้าแต่นาย
ฉันจักไปท่าน้าดื่ม ขอให้ท่านจงดูเด็ก คือลูกไว้
แล้วจึงถือเอาหม้อน้าที่ทาเป็นเหมือนเดินไปท่าน้าแล้วหนีไป
ถึงสานักของพวกดาบสที่ใกล้นครแล้วก็บวช.
พระโพธิสัตว์ทราบว่า นางไม่มา จึงเลี้ยงเด็กเอง. ต่อมา
เมื่อเด็กเหล่านั้นเติบโตขึ้นหน่อยหนึ่ง
ถึงความเป็นผู้สามารถรู้ความเจริญและความเสื่อมของตน คือดีชั่วแล้ว
เพื่อจะทดลองเด็กเหล่านั้น วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์เมื่อหุงข้าวสวย
ได้หุงดิบไปหน่อย วันหนึ่งแฉะไปหน่อย วันหนึ่งไหม้ วันหนึ่งปรุงอาหารจืดไป
วันหนึ่งเค็มไป.
เด็กทั้งหลายพูดว่า วันนี้ข้าวดิบ วันนี้แฉะ วันนี้ไหม้ วันนี้จืด
วันนี้เค็มไป. พระโพธิสัตว์พูดว่า ลูกเอ๋ย วันนี้ข้าวดิบ แล้วคิดว่า บัดนี้
เด็กเหล่านี้รู้จักดิบ สุก จืดและเค็มจัดแล้ว จักสามารถเลี้ยงชีพตามธรรมดาของตน
เราควรจะบวชละ.
ต่อมา ท่านได้มอบเด็กเหล่านั้นให้พวกญาติพูดว่า ดูก่อนพ่อและแม่
ขอจงเลี้ยงเด็กเหล่านี้ให้ดีเถิด แล้วเมื่อพวกญาติกาลังโอดครวญอยู่นั่นเอง
ได้ออกจากพระนครไปบวชเป็นฤๅษีอยู่ใกล้ๆ พระนครนั่นเอง.
อยู่มาวันหนึ่ง นางปริพาชิกา คือภริยาเก่า
ได้เห็นท่านกาลังเที่ยวภิกขาจารในนครพาราณสี ไหว้แล้วจึงพูดว่า
ข้าแต่พระคุณเจ้า ท่านเห็นจะให้เด็ก คือลูกทั้งหลายพินาศแล้ว.
พระมหาสัตว์ตอบว่า เราไม่ได้ให้เด็กคือลูกพินาศ
ออกบวชในเวลาที่พวกเขาสามารถรู้ความเจริญและความเสื่อม
คือดีชั่วของตนแล้ว เธออย่าคิดถึงพวกเขา จงยินดีในการบวชเถิด.
แล้วได้กล่าวคาถาสุดท้ายว่า :-
เด็กทั้งหลายรู้จักดิบ รู้จักสุก รู้จักเค็มและจืด ฉันเห็นข้อนั้นแล้วจึงบวช
เธอจงเที่ยวไปเพื่อภิกษาเถิด ฉันก็จะเที่ยวไปเพื่อภิกษา.
พระโพธิสัตว์ตักเตือนปริพาชิกาด้วยประการอย่างนี้แล้ว ก็ส่งตัวไป.
ฝ่ายปริพาชิการับโอวาทไหว้พระมหาสัตว์แล้ว
9
จึงไปสู่สถานที่ตามที่ชอบใจ. ได้ทราบว่า นอกจากวันนั้นแล้วทั้ง ๒
ท่านนั้นก็ไม่ได้พบเห็นกันอีก.
ฝ่ายพระโพธิสัตว์ให้ฌานและอภิญญาเกิดขึ้นแล้ว
ได้เป็นผู้เข้าถึงพรหมโลก.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ได้ทรงประกาศสัจธ
รรมทั้งหลาย ประชุมชาดกไว้ว่า ในที่สุดแห่งสัจธรรม ภิกษุ ๕๐๐ รูป
ดารงอยู่แล้วในอรหัตผล.
ธิดาในครั้งนั้น ได้แก่ อุบลวรรณาเถรี ในบัดนี้
บุตร ได้แก่ พระราหุลเถระ
ปริพาชิกา ได้แก่ มารดาพระราหุลเถระ.
ส่วนปริพาชก คือ เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถากุมภการชาดกที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1kutoyseta
 
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
479 กาลิงคโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
425 อัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
280 ปุฏทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
-------------- --- 3
 -------------- --- 3 -------------- --- 3
-------------- --- 3
 
276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
276 กุรุธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
7 62+ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๑
 
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
509 หัตถิปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 

408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๓. กุมภการชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๐๘) ว่าด้วยนายช่างหม้อ (พระปัจเจกพุทธเจ้า ๔ องค์กล่าวกับพระโพธิสัตว์องค์ละคาถาว่า) [๙๐] อาตมาได้เห็นต้นมะม่วงกลางป่า เขียวชะอุ่ม งอกงาม ผลิดอกออกผลสะพรั่ง อาตมาได้เห็นมะม่วงต้นนั้นถูกทาลาย เพราะผลเป็ นเหตุ ครั้นเห็นเช่นนั้นจึงเที่ยวภิกขาจาร (ออกบวช) [๙๑] กาไลแก้วคู่หนึ่งที่นายช่างผู้ชาญฉลาดเจียรไนแล้ว เป็นของเกลี้ยงเกลา ที่สตรีสวมใส่ย่อมไม่เกิดเสียงดัง (สวมใส่ย่อมไม่เกิดเสียงดัง หมายถึงสวมข้างละวง) แต่เพราะสวมใส่วงที่ ๒ เข้าจึงได้มีเสียงดัง อาตมาเห็นเช่นนั้นแล้วจึงเที่ยวภิกขาจาร [๙๒] นกจานวนมากพากันรุมจิกตีนกตัวหนึ่ง ซึ่งกาลังคาบชิ้นเนื้อมาอยู่เพราะอาหารเป็ นเหตุ อาตมาได้เห็นเช่นนั้นแล้วจึงเที่ยวภิกขาจาร [๙๓] อาตมาได้เห็นโคผู้มีหนอกกระเพื่อม มีสีสันและมีกาลังอยู่ท่ามกลางฝูงโค อาตมาได้เห็นมันขวิดโคผู้ตัวหนึ่งเพราะกามเป็ นเหตุ ครั้นเห็นเช่นนั้นแล้วจึงเที่ยวภิกขาจาร (พระโพธิสัตว์กล่าวกับภรรยาว่า) [๙๔] พระเจ้ากรัณฑกะ ราชาแห่งแคว้นกาลิงคะ พระเจ้านัคคชิ ราชาแห่งแคว้นคันธาระ พระเจ้านิมิราช ราชาแห่งแคว้นวิเทหะ และพระเจ้าทุมมุขะ ราชาแห่งแคว้นปัญจาละ ทรงละทิ้งแคว้นเหล่านั้นแล้ว หมดความกังวล ทรงผนวชแล้ว [๙๕] แม้พระราชาทุกพระองค์เสมอด้วยเทพเจ้า เสด็จมาประชุมกัน ย่อมรุ่งเรืองเหมือนไฟที่ลุกโชน นี่น้องหญิงผู้มีโชค ถึงพี่ก็จะเป็นเหมือนพระราชาเหล่านี้ จักละกามซึ่งมีประการต่างๆ แล้วเที่ยวไปผู้เดียว (ภรรยากล่าวว่า) [๙๖] เวลานี้เท่านั้นเหมาะที่จะบวช เวลาอื่นไม่เหมาะ ภายหลังคงจะไม่มีผู้ที่จะพร่าสอนดิฉัน ท่านผู้มีโชค ถึงดิฉันก็จักเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนสกุณีที่รอดพ้นจากมือคน (พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
  • 2. 2 [๙๗] พวกเด็กๆ รู้จักของดิบ ของสุก ของเค็ม และของจืด อาตมาเห็นเช่นนั้นแล้วจึงบวช น้องหญิงจงเที่ยวภิกขาจารไปเถิด อาตมาก็จะเที่ยวภิกขาจารไป กุมภการชาดกที่ ๓ จบ --------------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา กุมภการชาดก ว่าด้วย เหตุให้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภการข่มกิเลสแล้ว ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. เรื่องจักมีแจ้งในปัญญาสชาดก. ก็กาลครั้งนั้น ที่นครสาวัตถี สหาย ๕๐๐ คนบวชแล้ว พักอยู่ภายในโกฏิสัณฐาร ในเวลาเที่ยงคืนได้ตรึกถึงเรื่องกามวิตก. พระศาสดาทรงตรวจดูสาวกของพระองค์ทั้งคืนทั้งวัน ๖ ครั้ง คือกลางคืน ๓ ครั้ง กลางวัน ๓ ครั้ง ทรงพิทักษ์รักษาเหมือนนกกะต้อยติวิดรักษาไข่ จามรีรักษาขนหาง มารดารักษาลูกน้อยที่น่ารัก และเหมือนคนตาข้างเดียวรักษาตาที่เหลืออยู่ฉะนั้น เพราะฉะนั้น พระองค์จึงทรงข่มกิเลสที่เกิดขึ้นของสาวกทั้งหลายในขณะนั้น. วันนั้นเวลาเที่ยงคืน พระองค์กาหนดตรวจดูพระเชตวันอยู่ ทรงทราบวิตกของภิกษุเหล่านั้นฟุ้ งขึ้น ทรงดาริว่า กิเลสนี้เมื่อฟุ้ งขึ้นในภายในของภิกษุเหล่านี้ จักทาลายเหตุแห่งอรหัตผลเสีย เราตถาคตจักข่มกิเลสแล้วมอบให้ซึ่งอรหัตผลแก่ภิกษุเหล่านั้นเดี๋ยวนี้แหละ แล้วเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้หาพระอานนท์เถระมาแล้ว ตรัสสั่งให้ประชุมว่า ดูก่อนอานนท์ เธอจงให้ภิกษุผู้อยู่ภายในโกฏิสัณฐารทั้งหมดประชุมกัน. เสด็จประทับนั่งบนพุทธอาสน์ที่ปูลาดไว้แล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่ควรเป็นไปในอานาจของกิเลสที่เป็นไปแล้วในภายใน ด้วยว่ากิเลส เมื่อเจริญขึ้น ย่อมให้ถึงความพินาศมากเหมือนปัจจามิตร. ธรรมดาภิกษุ กิเลสแม้มีประมาณเล็กน้อยก็ควรข่มไว้ บัณฑิตในกาลก่อน เห็นอารมณ์ประมาณเล็กน้อย ก็ข่มกิเลสที่เป็นไปแล้วในภายในไว้ ให้ปัจเจกโพธิญาณเกิดขึ้น แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์ถือกาเนิดในตระกูลช่างหม้อ ในหมู่บ้านใกล้ประตูนครพาราณสี เจริญวัยแล้วได้ครอบครองสมบัติ มีบุตรชาย ๑ คน บุตรหญิง ๑ คน
  • 3. 3 เลี้ยงบุตรภรรยาโดยอาศัยการทาหม้อ. ในกาลครั้งนั้น พระราชาทรงพระนามว่ากรกัณฑะ ในทันตปุรนคร แคว้นกลิงคะมีพระราชบริพารมาก เมื่อเสด็จไปพระราชอุทยาน ทอดพระเนตรเห็นต้นมะม่วงใกล้ประตูพระราชอุทยาน มีผลน่าเสวย เต็มไปด้วยผลเป็นพวง ประทับบนคอช้างต้นนั้นเอง ทรงเหยียดพระหัตถ์ออกไปเก็บผลมะม่วงพวงหนึ่ง แล้วเสด็จเข้าไปพระราชอุทยาน ประทับนั่งบนมงคลสิลาอาสน์ พระราชทานแก่คนที่ควรพระราชทาน แล้วจึงเสวยผลมะม่วง. จาเดิมแต่เวลาที่พระราชาทรงเก็บผลมะม่วงแล้ว ตามธรรมดาคนที่เหลือทั้งหลาย ก็ต้องพากันเก็บเหมือนกัน ดังนั้น อามาตย์บ้าง พราหมณ์และคหบดีบ้าง จึงพากันเขย่าผลมะม่วงให้หล่นแล้วรับประทานกัน. ผู้ที่มาหลังๆ ก็ขึ้นต้นใช้ไม้ค้อนฟาดทาให้กิ่งหักทะลายลงกินกัน แม้แต่ผลดิบๆ ก็ไม่เหลือ. ฝ่ายพระราชาทรงกรีฑาในพระราชอุทยานตลอดทั้งวันแล้ว ตอนเย็นเมื่อทรงประทับนั่งบนคอช้างต้นที่ตกแต่งแล้ว เสด็จไปทอดพระเนตรเห็นต้นมะม่วงนั้น จึงเสด็จลงจากคอช้างแล้วเสด็จไปที่โคนต้นมะม่วง ทรงมองดูลาต้นพลาง ทรงดาริว่า ต้นมะม่วงต้นนั้นเมื่อเช้านี้เอง เต็มไปด้วยผลเป็นพวงสง่างาม ทาความอิ่มตาให้แก่ผู้ดูทั้งหลายยืนต้นอยู่ บัดนี้ เขาเก็บผลหมดแล้ว หักห้อยรุ่งริ่งยืนต้นอยู่ไม่งาม. เมื่อทรงมองดูต้นอื่นอีก ได้ทรงเห็นต้นมะม่วงต้นอื่นที่ไม่มีผล แล้วประทับยืนที่ควงไม้นั่นเอง ทรงทาต้นมะม่วงมีผลให้เป็ นอารมณ์ว่า ต้นไม้ต้นนั้นยืนต้นสง่างาม เหมือนภูเขาแก้วมณีโล้น เพราะตัวเองไม่มีผล ส่วนมะม่วงต้นนี้ถึงความย่อยยับอย่างนี้เพราะออกผล แม้ท่ามกลางเรือนนี้ก็เช่นกันกับต้นมะม่วงที่ออกผล ส่วนการบรรพชาเป็ นเช่นกับต้นไม้ที่ไม่มีผล ผู้มีทรัพย์นั่นแหละมีภัย ส่วนผู้ไม่มีทรัพย์ไม่มีภัย แม้เราก็ควรเป็ นเหมือนต้นไม้ที่ไม่มีผลดังนี้แล้ว ทรงกาหนดไตรลักษณ์เจริญวิปัสสนายังปัจเจกโพธิญาณให้เกิดขึ้นแล้ว ทรงราลึกอยู่ว่า บัดนี้เราทาลายกระท่อมคือท้องของมารดาแล้ว. การปฏิสนธิในภพทั้ง ๓ เราตัดขาดแล้ว. ส้วมแหล่งอุจจาระ คือสงสารเราล้างแล้ว. ทะเลน้าตาเราวิดแห้งแล้ว. กาแพงกระดูกเราพังแล้ว. เราจะไม่มีการปฏิสนธิอีกดังนี้ ได้ทรงแต่งองค์ด้วยเครื่องประดับทั้งหมดประทับยืนอยู่แล้ว. จึงอามาตย์ทั้งหลายได้ทูลพระองค์ว่า ข้าแต่มหาราช พระองค์เสด็จประทับยืนนานเกินไปแล้ว.
  • 4. 4 รา. เราไม่ใช่พระราชา แต่เราเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า. อา. ข้าแต่สมมติเทพ ธรรมดา พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายจะไม่เป็นเช่นกับด้วยพระองค์. รา. ถ้าเช่นนั้นเป็ นอย่างไร? อา. โกนผมโกนหนวด ปกปิดร่างกายด้วยผ้ากาสาวพัสตร์ มีส่วนเปรียบเทียบด้วยดวงจันทร์ที่พ้นจากปากพระราหู พานักอยู่ที่เงื้อมนันทมูลในป่าหิมพานต์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นเช่นนี้. ในขณะนั้น พระราชาทรงยกพระหัตถ์ขึ้นลูบพระเกษา ในทันทีนั้นเอง เพศคฤหัสถ์ก็อันตรธานไป เพศสมณะก็ปรากฏขึ้น สมณบริขารทั้งหลายที่พระองค์ตรัสถึงอย่างนี้ว่า :- ไตรจีวร บาตร มีดโกน เข็ม รัดประคตพร้อมด้วยกระบอกกรองน้า ๘ อย่างเหล่านี้ เป็นบริขารของภิกษุผู้ประกอบความเพียร ได้ปกปิดพระกายของพระองค์ทันที. พระองค์ประทับที่อากาศ ประทานพระโอวาทแก่มหาชนแล้ว ได้เสด็จไปสู่เงื้อมนันทมูลนั่นแหละ. ฝ่ายพระราชาทรงพระนามว่านัคคชิ ในนครตักกสิลา ที่แคว้นคันธาระ เสด็จไปที่ท่ามกลางพระราชบัลลังก์ เบื้องบนปราสาททอดพระเนตรเห็นหญิงคนหนึ่ง ในมือแต่ละข้างประดับกาไลแก้วมณี คือหยกข้างละอัน นั่งบดของหอมอยู่ไม่ไกล ประทับนั่งทอดพระเนตร พลางดาริว่า กาไลแก้วมณี คือหยกเหล่านั้นไม่กระทบกัน ไม่มีเสียงดัง เพราะเป็ นข้างละอัน คือแยกกันอยู่. ภายหลัง นางเอากาไลแขนจากข้างขวามาสวมไว้ที่ข้างซ้ายรวมกัน แล้วเริ่มเอามือขวาดึงของหอมมาบด. กาไลแก้วมณีคือหยกที่มือซ้ายมากระทบกาไลข้างที่ ๒ จึงมีเสียงดังขึ้น. พระราชาทอดพระเนตรเห็นกาไลแขนทั้ง ๒ ข้างเหล่านั้นกระทบกัน อยู่มีเสียงดัง จึงทรงดาริว่า กาไลแขนนี้เวลาอยู่ข้างละอันไม่กระทบกัน แต่อาศัยข้างที่ ๒ กระทบกันก็มีเสียงดังฉันใด แม้สัตว์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน แต่ละคนๆ ไม่กระทบกัน ก็ไม่ส่งเสียง แต่พอมี ๒, ๓ คนขึ้นไปก็กระทบกัน ทาการทะเลาะกัน. ส่วนเราวิจารณ์ราษฎรในราชสมบัติ ๒ แห่ง ในกัสมิระและคันธาระ เราควรจะเป็ นเหมือนกาไลแขนข้างเดียว ไม่วิจารณ์คนอื่น วิจารณ์ตัวเองเท่านั้นอยู่ ดังนี้แล้ว ทรงทาการกระทบกันแห่งกาไลให้เป็นอารมณ์แล้ว ทั้งๆ ที่ทรงนั่งอยู่นั่นแหละ ทรงกาหนดไตรลักษณ์ เจริญวิปัสสนา แล้วยังปัจเจกโพธิญาณให้เกิด. ข้อความที่เหลือ เป็นเช่นกับข้อความแต่ก่อนนั่นแหละ.
  • 5. 5 ที่มิถิลานครในวิเทหรัฐ พระเจ้านิมิราช เสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว มีคณะอามาตย์แวดล้อม ได้ประทับยืนทอดพระเนตรระหว่างถนน ทางสีหบัญชรที่เปิดไว้. ครั้งนั้น เหยี่ยวตัวหนึ่งคาบเอาชิ้นเนื้อจากเขียงที่ตลาดแล้วบินขึ้นฟ้ าไป. นกทั้งหลายมีแร้งเป็ นต้น บินล้อมเหยี่ยวตัวนั้น ข้างโน้นบ้าง ข้างนี้บ้าง ใช้จะงอยปากจิก ใช้ปีกตี ใช้เท้าเฉี่ยวไป เพราะเหตุแห่งอาหาร. มันทนการรังแกตนไม่ไหว จึงทิ้งก้อนเนื้อก้อนนั้นไป. นกตัวอื่นก็คาบเอาเนื้อก้อนนั้นไป. นกเหล่าอื่นก็พากันละเหยี่ยวตัวนี้ติดตามนกตัวนั้นไป. ถึงนกตัวนั้นปล่อยแล้ว ตัวอื่นก็คาบไป นกทั้งหลายก็พากันรุมตีนกแม้ตัวนั้นอย่างนั้นเหมือนกัน. พระราชาทรงเห็นนกเหล่านั้นแล้ว ทรงดาริว่า นกตัวใดๆ คาบก้อนเนื้อ นกตัวนั้นๆ นั่นแหละมีความทุกข์ ส่วนนกตัวใดๆ ทิ้งสละก้อนเนื้อนั้นทิ้ง นกตัวนั้นๆ นั่นแหละมีความสุข. แม้กามคุณทั้ง ๕ เหล่านี้ ผู้ใดๆ ยึดถือไว้ ผู้นั้นๆ นั่นแหละมีความทุกข์ ส่วนผู้ไม่ยึดถือนั่นแหละมีความสุข เพราะว่า กามเหล่านี้เป็นของสาธารณะสาหรับคนจานวนมาก. ก็แลเรามีหญิงหมื่นหกพันนาง เราควรจะละกามคุณทั้ง ๕ แล้วเป็ นสุขเหมือนเหยี่ยวตัวที่ทิ้งก้อนเนื้อฉะนั้น. พระองค์ทรงมนสิการโดยแยบคายอยู่ ทั้งๆ ที่ทรงนั่งอยู่นั่นแหละ ทรงกาหนดไตรลักษณ์ เจริญวิปัสสนา แล้วยังปัจเจกโพธิญาณให้เกิดขึ้น. ข้อความที่เหลือ เป็นเช่นกับข้อความแต่ก่อนนั่นแหละ. แม้ในแคว้นอุตตรปัญจาละ ในกปิลนคร พระราชาทรงพระนามว่าทุมมุขะ เสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว ทรงประดับเครื่องอลังการพร้อมสรรพ มีหมู่อามาตย์ห้อมล้อม ได้ประทับยืนทอดพระเนตรพระลานหลวงทางสีหบัญชรที่เปิดไว้. ในขณะนั้น คนเลี้ยงวัวทั้งหลายต่างก็เปิดประตูคอกวัว. พวกวัวตัวผู้ออกจากคอก แล้วก็ติดตามวัวตัวเมียตัวหนึ่งด้วยอานาจกิเลส ในจานวนวัวเหล่านั้น โคถึกใหญ่ตัวหนึ่งเขาคม เห็นวัวตัวผู้อื่นกาลังเดินมา มีความเห็นแก่ตัวคือหึงด้วยอานาจกิเลส ครอบงาจึงใช้เขาแหลมขวิดที่ระหว่างขา. ใส้ใหญ่ทั้งหลายของวัวตัวนั้นทะลักออกมาทางปากแผล มันถึงความสิ้นชีวิต ณ ที่นั้นนั่นเอง. พระราชาทรงเห็นเหตุการณ์นั้นแล้ว ทรงดาริว่า สัตวโลกทั้งหลาย ตั้งต้นแต่สัตว์เดียรัจฉานไปถึงทุกข์ด้วยอานาจกิเลส
  • 6. 6 วัวผู้ตัวนี้อาศัยกิเลสถึงความสิ้นชีวิต สัตว์แม้เหล่าอื่นก็หวั่นไหว เพราะกิเลสทั้งหลายนั่นเอง เราควรจะประหารกิเลสที่เป็นเหตุให้สัตว์ทั้งหลายหวั่นไหว. พระองค์ประทับยืนอยู่นั่นแหละ ทรงกาหนดไตรลักษณ์เจริญวิปัสสนา แล้วยังปัจเจกโพธิญาณให้เกิดขึ้น. ข้อความที่เหลือ เหมือนกับข้อความในตอนก่อนนั่นเอง. อยู่มาวันหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้ง ๔ องค์เหล่านั้นกาหนดเวลาภิกขาจารแล้ว ก็เสด็จออกจากเงื้อมนันทมูล ทรงเคี้ยวไม้ชาระฟันนาคลดา ที่สระอโนดาด ทรงทาการชาระพระวรกายแล้ว ประทับยืนบนพื้นมโนศิลา ทรงนุ่งสบงแล้วถือเอาบาตรและจีวร เหาะขึ้นไปบนอากาศด้วยฤทธิ์ ทรงย่าเมฆ ๕ สีไปแล้ว เสด็จลง ณ ที่ไม่ไกลหมู่บ้าน ใกล้ประตูนครพาราณสี ทรงห่มจีวรในที่สาราญแห่งหนึ่ง ทรงถือบาตรเสด็จเข้าไปในหมู่บ้าน ใกล้ประตูเมือง เที่ยวบิณฑบาตลุถึงประตูบ้านพระโพธิสัตว์. พระโพธิสัตว์เห็นพระปัจเจกเหล่านั้นแล้วดีใจ นิมนต์ให้ท่านเข้าไปในบ้าน ให้นั่งบนอาสนะที่ปูไว้แล้ว ถวายทักขิโนทก อังคาสด้วยของเคี้ยวของฉันอันประณีต นั่ง ณ ที่สมควรข้างหนึ่ง ไหว้พระสังฆเถระแล้วทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การบรรพชาของพระองค์ทั้งหลายงามเหลือเกิน อินทรีย์ทั้งหลายของพระองค์ผ่องใส ฉวีวรรณก็ผุดผ่อง พระองค์ทรงเห็นอารมณ์อะไรหนอ จึงทรงเข้าถึงการบรรพชาด้วยอานาจภิกขาจารวัตร และได้เข้าไปทูลถามพระเถระแม้ที่เหลือเหมือนทูลถามพระสังฆเถระ. จึงท่านทั้ง ๔ เหล่านั้นได้ตรัสบอกเรื่องการออกบวชของตนๆ แก่พระโพธิสัตว์นั้น โดยนัยมีอาทิว่า อาตมภาพเป็นพระราชาชื่อโน้น ในนครโน้น ในแคว้นโน้น แล้วได้ตรัสคาถาองค์ละ ๑ คาถาว่า :- อาตมภาพได้เห็นต้นมะม่วง ที่งอกงามออกผลเขียวไปทั้งต้น ในระหว่างป่ามะม่วง เมื่อกลับออกมา ได้เห็นมะม่วงต้นนั้นหักย่อยยับ เพราะผลของมันเป็นเหตุ ครั้นเห็นแล้ว อาตมภาพจึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร. หญิงสาวคนหนึ่งสวมกาไลแขนหินหยกเกลี้ยงกลมคู่หนึ่ง ที่นายช่างผู้ชานาญเจียระไนแล้ว ไม่มีเสียงดัง แต่เพราะอาศัยกาไลแขนข้างทั้ง ๒ จึงมีเสียงดังขึ้น อาตมภาพได้เห็นเหตุนั้นแล้ว จึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร. นกจานวนมากพากันบินตามรุมล้อม ตีจิกนกตัวหนึ่งที่กาลังนาก้อนเนื้อมา เพราะอาหารเป็ นเหตุ
  • 7. 7 อาตมภาพได้เห็นเหตุนั้นแล้ว จึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร. อาตมภาพได้เห็นวัวตัวผู้ตัวหนึ่ง ท่ามกลางฝูงมีหนอกขึ้นเปลี่ยว ประกอบด้วยสีสวยและมีกาลังมาก ได้เห็นมันขวิดวัวตัวหนึ่งตาย เพราะกามเป็นเหตุ ครั้นได้เห็นเหตุนั้นแล้ว จึงได้ประพฤติภิกขาจาริยวัตร. พระโพธิสัตว์ ครั้นได้สดับคาถาแต่ละคาถา ได้ทาการสดุดีพระปัจเจกพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพระองค์ขอโอกาส อารมณ์นั่นเหมาะสมสาหรับเหล่าข้าพระองค์ทีเดียว. ก็แลพระโพธิสัตว์ ครั้นสดับธรรมกถานั้นที่ท่านทั้ง ๔ ทรงแสดงแล้ว เป็นผู้ไม่มีเยื่อใยในฆราวาส เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปแล้ว รับประทานอาหารเช้าแล้ว นั่งสาราญอยู่ ได้เรียกภรรยามาพูดว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า ๔ องค์นี้สละราชสมบัติออกผนวชไม่มีกังวล ไม่มีห่วงใย ให้กาลเวลาล่วงไปด้วยความสุขเกิดจากการบรรพชา ส่วนเราเลี้ยงชีพด้วยค่าจ้าง เราจะประโยชน์อะไรด้วยการครองเรือน เธอจงสงเคราะห์ คือเลี้ยงดูลูกอยู่ในบ้านเกิด. แล้วกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า :- พระราชาเหล่านี้ คือ พระเจ้ากรกัณฑะของชาวกลิงคะ ๑ พระเจ้านัคคชิของชาวคันธาระ ๑ พระเจ้านิมิราชของชาววิเทหะ ๑ พระเจ้าทุมมุขะของชาวปัญจาละ ๑ ทรงละแว่นแคว้นออกผนวช หาความห่วงใยมิได้. พระราชาเหล่านี้แม้ทุกพระองค์ เสมอด้วยเทพเจ้าเสด็จมาพบกัน ย่อมสง่างามเหมือนไฟลุกฉะนั้น ดูก่อนนางผู้มีโชค แม้เราก็ละกามทั้งหลายทิ้งแล้ว ดารงอยู่ตามส่วนของตนเที่ยวไปคนเดียว. คาถาเหล่านั้นมีเนื้อความว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระปัจเจกพุทธเจ้าผู้เป็นสังฆเถระนั้น เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาวคันธาระ ทรงพระนามว่ากรกัณฑะ ในนครชื่อว่าทันตปุระ องค์ที่ ๒ เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาวคันธาระ ทรงพระนามว่านัคคชิ ในตักกสิลานคร องค์ที่ ๓ เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาววิเทหะ ทรงพระนามว่านิมิราชา ในนครมิถิลา องค์ที่ ๔ เป็นพระราชาแห่งชนบทของชาวอุตตรปัญจาละ ทรงพระนามว่าทุมมุขะ ในนครกบิล. พระปัจเจกพุทธเจ้าเหล่านั้นทรงละแคว้นทั้งหลายเห็นปานนี้แล้ว เป็นผู้ไม่มีความห่วงใยทรงผนวชแล้ว.
  • 8. 8 ภรรยานั้น ครั้นได้ฟังถ้อยคาของเขาแล้ว จึงพูดว่า ข้าแต่นาย ตั้งแต่เวลาได้ฟังธรรมกถาของพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว แม้ฉันเองใจก็ไม่สถิตอยู่ในบ้าน แล้วได้กล่าวคาถานี้ว่า :- เวลานี้เท่านั้น เวลาอื่นนอกจากนี้จะไม่มีเลย ภายหลังคงไม่มีผู้พร่าสอนฉัน ข้าแต่ท่านผู้มีโชค ฉันเองก็จักพ้นจากมือชาย เที่ยวไปคนเดียว เหมือนนางนกพ้นจากข้อง ฉะนั้น. พระโพธิสัตว์ ครั้นได้ฟังคาของนางแล้ว ได้นิ่งอยู่. ส่วนนางประสงค์จะลวงพระโพธิสัตว์แล้วบวชก่อน จึงกล่าวว่า ข้าแต่นาย ฉันจักไปท่าน้าดื่ม ขอให้ท่านจงดูเด็ก คือลูกไว้ แล้วจึงถือเอาหม้อน้าที่ทาเป็นเหมือนเดินไปท่าน้าแล้วหนีไป ถึงสานักของพวกดาบสที่ใกล้นครแล้วก็บวช. พระโพธิสัตว์ทราบว่า นางไม่มา จึงเลี้ยงเด็กเอง. ต่อมา เมื่อเด็กเหล่านั้นเติบโตขึ้นหน่อยหนึ่ง ถึงความเป็นผู้สามารถรู้ความเจริญและความเสื่อมของตน คือดีชั่วแล้ว เพื่อจะทดลองเด็กเหล่านั้น วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์เมื่อหุงข้าวสวย ได้หุงดิบไปหน่อย วันหนึ่งแฉะไปหน่อย วันหนึ่งไหม้ วันหนึ่งปรุงอาหารจืดไป วันหนึ่งเค็มไป. เด็กทั้งหลายพูดว่า วันนี้ข้าวดิบ วันนี้แฉะ วันนี้ไหม้ วันนี้จืด วันนี้เค็มไป. พระโพธิสัตว์พูดว่า ลูกเอ๋ย วันนี้ข้าวดิบ แล้วคิดว่า บัดนี้ เด็กเหล่านี้รู้จักดิบ สุก จืดและเค็มจัดแล้ว จักสามารถเลี้ยงชีพตามธรรมดาของตน เราควรจะบวชละ. ต่อมา ท่านได้มอบเด็กเหล่านั้นให้พวกญาติพูดว่า ดูก่อนพ่อและแม่ ขอจงเลี้ยงเด็กเหล่านี้ให้ดีเถิด แล้วเมื่อพวกญาติกาลังโอดครวญอยู่นั่นเอง ได้ออกจากพระนครไปบวชเป็นฤๅษีอยู่ใกล้ๆ พระนครนั่นเอง. อยู่มาวันหนึ่ง นางปริพาชิกา คือภริยาเก่า ได้เห็นท่านกาลังเที่ยวภิกขาจารในนครพาราณสี ไหว้แล้วจึงพูดว่า ข้าแต่พระคุณเจ้า ท่านเห็นจะให้เด็ก คือลูกทั้งหลายพินาศแล้ว. พระมหาสัตว์ตอบว่า เราไม่ได้ให้เด็กคือลูกพินาศ ออกบวชในเวลาที่พวกเขาสามารถรู้ความเจริญและความเสื่อม คือดีชั่วของตนแล้ว เธออย่าคิดถึงพวกเขา จงยินดีในการบวชเถิด. แล้วได้กล่าวคาถาสุดท้ายว่า :- เด็กทั้งหลายรู้จักดิบ รู้จักสุก รู้จักเค็มและจืด ฉันเห็นข้อนั้นแล้วจึงบวช เธอจงเที่ยวไปเพื่อภิกษาเถิด ฉันก็จะเที่ยวไปเพื่อภิกษา. พระโพธิสัตว์ตักเตือนปริพาชิกาด้วยประการอย่างนี้แล้ว ก็ส่งตัวไป. ฝ่ายปริพาชิการับโอวาทไหว้พระมหาสัตว์แล้ว
  • 9. 9 จึงไปสู่สถานที่ตามที่ชอบใจ. ได้ทราบว่า นอกจากวันนั้นแล้วทั้ง ๒ ท่านนั้นก็ไม่ได้พบเห็นกันอีก. ฝ่ายพระโพธิสัตว์ให้ฌานและอภิญญาเกิดขึ้นแล้ว ได้เป็นผู้เข้าถึงพรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ได้ทรงประกาศสัจธ รรมทั้งหลาย ประชุมชาดกไว้ว่า ในที่สุดแห่งสัจธรรม ภิกษุ ๕๐๐ รูป ดารงอยู่แล้วในอรหัตผล. ธิดาในครั้งนั้น ได้แก่ อุบลวรรณาเถรี ในบัดนี้ บุตร ได้แก่ พระราหุลเถระ ปริพาชิกา ได้แก่ มารดาพระราหุลเถระ. ส่วนปริพาชก คือ เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถากุมภการชาดกที่ ๓ -----------------------------------------------------