SlideShare a Scribd company logo
1
อัฏฐสัททชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒. อัฏฐสัททชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๑๘)
ว่าด้วยเสียงของบุคคลทั้ง ๘
(พระดาบสกราบทูลชี้แจงเสียงทั้ง ๘ คือเสียงนกยางว่า)
[๑๐] สระนี้ เมื่อก่อนลุ่มลึก มีปลามาก มีน้ามาก
เป็ นที่อยู่อาศัยของพญานกยาง ซึ่งเป็ นที่อยู่แห่งบิดาของเรา ทุกวันนี้
พวกเรามีชีวิตอยู่ได้ด้วยกบ จึงละทิ้งน้าไปไม่ได้
(เสียงกาว่า)
[๑๑] ใครหนอจะทาลายนัยน์ตาดวงที่ ๒
ของควาญช้างชื่อพันธุระผู้ไม่มีศีล ใครหนอจักช่วยลูกๆ ของเรา รังของเรา
และตัวเราให้ปลอดภัย
(เสียงแมลงภู่ว่า)
[๑๒] กระพี้เท่าที่มีอยู่ถูกเจาะไปหมด ขอถวายพระพรมหาบพิตร
แมลงภู่หมดอาหารไม่ยินดีในแก่น
(เสียงนกดุเหว่า)
[๑๓] เรานั้นคงจักพ้นจากพระราชนิเวศน์ไปจากที่นี้แล้ว ทาตนให้ยินดี
อาศัยอยู่ตามต้นไม้กิ่งไม้แน่นอน
(เสียงเนื้อว่า)
[๑๔] เรานั้นคงจักพ้นจากพระราชนิเวศน์ไปจากที่นี้แล้ว เดินนาหน้าฝูง
ดื่มน้าที่ดีเลิศแน่นอน
(เสียงลิงว่า)
[๑๕] นายพรานชื่อภรตะชาวแคว้นพาหิกะได้นาเรา ผู้มัวเมาด้วยกาม
กาหนัดหมกมุ่นอยู่ในกามนั้นมา ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน
(เสียงกินนรว่า)
[๑๖] นางกินนรีได้กล่าวกับเราที่ยอดเขาแหลมในเวลามืดมิด
ด้วยถ้อยคาอันอ่อนหวานว่า โปรดระวังเท้า อย่าเหยียบพลาดไปถูกแง่หิน
(เสียงพระปัจเจกพุทธเจ้าว่า)
[๑๗] เราได้เห็นพระนิพพานอันเป็นที่สิ้นชาติ
จักไม่กลับมานอนในครรภ์อีกอย่างไม่ต้องสงสัย ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย
การนอนในครรภ์ก็เป็นครั้งสุดท้าย สังสารวัฏเพื่อภพต่อไปของเราสิ้นแล้ว
อัฏฐสัททชาดกที่ ๒ จบ
----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
2
อัฏฐสัททชาดก
ว่าด้วย นิพพาน
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภเสียงแสดงความแร้นแค้น
อันน่าสะดุ้งกลัวที่พระเจ้าโกศลได้ทรงสดับในเวลาเที่ยงคืน จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
เนื้อเรื่องก็เช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้วใน โลหกุมภิชาดก ในจตุกกนิบา
ตนั่นแหละ.
ส่วนในเรื่องนี้ เมื่อพระเจ้าโกศลทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
จะมีเหตุอะไรเกิดขึ้น เพราะเสียงที่ข้าพระองค์ได้สดับนี้.
พระบรมศาสดาจึงตรัสว่า มหาบพิตร ขอพระองค์อย่าได้ทรงกลัวเลย
จะไม่มีอันตรายใดๆ แก่พระองค์ เพราะเหตุที่ได้ทรงสดับเสียงเหล่านั้น
มหาบพิตร พระองค์ได้ทรงสดับเสียงแสดงความแร้นแค้นอันน่าสะดุ้งกลัวเช่นนี้
แต่พระองค์เดียวก็หามิได้ แม้พระราชาองค์ก่อนๆ ก็ได้สดับเสียงเช่นนี้
แล้วเชื่อคาของพวกพราหมณ์ประสงค์จะบูชายัญด้วยสัตว์อย่างละ ๔
ครั้นได้ฟังถ้อยคาของบัณฑิต จึงรับสั่งให้ปล่อยสัตว์ที่จับไว้เพื่อจะฆ่าบูชายัญ
แล้วให้ตีกลองเป่าประกาศห้ามฆ่าสัตว์ทั่วพระนคร.
พระเจ้าโกศลทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว
จึงทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ที่มีสมบัติแปดสิบโกฏิ ครั้นเจริญวัย
ได้ศึกษาศิลปวิทยาในเมืองตักกสิลา เมื่อมารดาบิดาตายไปแล้ว
จึงตรวจดูทรัพย์สมบัติ แล้วสละสมบัติทั้งหมดให้เป็นทาน
ละกามารมณ์เข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็ นฤๅษี ทาฌานอภิญญาให้บังเกิดแล้ว
แต่ต้องการจะเสพรสเค็ม รสเปรี้ยว จึงไปยังถิ่นมนุษย์ ถึงเมืองพาราณสีแล้ว
พานักอยู่ในพระราชอุทยาน.
ในครั้งนั้น พระเจ้าพาราณสีเสด็จประทับเหนือพระแท่นสิริไสยาสน์
ในเวลาเที่ยงคืน ได้ทรงสดับเสียง ๘ อย่าง คือ :-
๑. นกยางตัวหนึ่ง ในพระราชอุทยาน ใกล้พระราชวังร้อง.
๒. เสียงร้องของนกยางยังไม่ทันขาดเสียง
แม่กาซึ่งอาศัยอยู่ที่เสาระเนียดโรงช้าง ร้อง.
๓. แมลงภู่ซึ่งอาศัยอยู่ที่ช่อฟ้ าเรือนหลวง ร้อง.
๔. นกดุเหว่าที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง.
๕. เนื้อที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง.
๖. วานรที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง.
3
๗. กินนรที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง.
๘. เมื่อเสียงร้องของกินนรยังไม่ทันขาดเสียง พระปัจเจกพุทธเจ้าผู้ไป
ถึงพระราชอุทยานท้ายพระราชวัง เมื่อจะเปล่งอุทานครั้งหนึ่งได้ทาเสียงขึ้น.
พระเจ้าพาราณสีได้ทรงสดับเสียง ๘ อย่างเหล่านี้แล้วตกพระทัย
สะดุ้งกลัว ในวันรุ่งขึ้นจึงตรัสถามพวกพราหมณ์.
พราหมณ์ทั้งหลายพากันกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า
อันตรายปรากฏแก่พระองค์ พวกข้าพระองค์จักบูชายัญด้วยวิธีสัตว์อย่างละ ๔
เมื่อพระราชาทรงอนุญาตว่า ท่านทั้งหลายจงทาตามชอบใจ
ต่างก็พากันร่าเริงยินดีออกจากราชสานักไปเริ่มยัญญกรรม.
ครั้งนั้น มาณพผู้เป็นศิษย์ของหัวหน้าพราหมณ์ผู้ทายัญญกรรม
เป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด กล่าวกะอาจารย์ว่า ข้าแต่อาจารย์ ยัญญกรรมอย่างนี้
เป็นกรรมหยาบช้ากล้าแข็ง ไม่เป็นที่น่ายินดี ก่อความพินาศแก่สัตว์เป็นอันมาก
ขอท่านอย่าได้ทาเลย.
อาจารย์กล่าวว่า พ่อเอย เจ้าช่างไม่รู้อะไรเสียเลย
ถ้าจักไม่มีอะไรอย่างอื่นขึ้น พวกเราก็จักได้กินปลาและเนื้อมากมายก่อน.
มาณพกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ขอท่านอย่าได้ทากรรมที่จะให้เกิดในนรก
เพราะอาศัยท้องเลย. พวกพราหมณ์ที่เหลือได้ฟังดังนั้น ก็โกรธมาณพว่า
มาณพเป็นอันตรายต่อลาภของพวกเรา.
เพราะกลัวพราหมณ์เหล่านั้น มาณพจึงกล่าวว่า
ถ้าเช่นนั้นพวกท่านจงทาอุบายกินปลาและเนื้อเถิด แล้วออกไปนอกพระนคร
พิจารณาดูสมณะผู้มีธรรมซึ่งสามารถจะห้ามพระราชาได้ ไปพระราชอุทยาน
เห็นพระโพธิสัตว์ ไหว้แล้วกล่าวว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านไม่มีความอนุเคราะห์ในสัตว์ทั้งหลายบ้างหรือ
พระราชารับสั่งให้ฆ่าสัตว์เป็นอันมากบูชายัญ
การที่ท่านจะทาให้มหาชนพ้นจากเครื่องพันธนาการ จะไม่สมควรหรือ?
พระโพธิสัตว์ตอบว่า ถูกแล้วมาณพ แต่เราอยู่ที่นี่ พระราชาก็ไม่รู้จักเร
า เราก็ไม่รู้จักพระราชา.
มาณพถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
ก็ท่านรู้ความสาเร็จผลแห่งเสียงที่พระราชาทรงสดับหรือ?
พระโพธิสัตว์ตอบว่า เออ เรารู้
มาณพถามว่า เมื่อรู้ เหตุไรจึงไม่กราบทูลพระราชา?
พระโพธิสัตว์ตอบว่า ดูก่อนมาณพ
เราผูกเขาสัตว์ไว้ที่หน้าผากจะอาจบอกว่า เรารู้ได้อย่างไร
ถ้าพระราชาเสด็จมาที่นี้แล้วตรัสถามว่า เราก็จักกราบทูลให้ทรงทราบ.
มาณพก็รีบไปราชสานักโดยเร็ว เมื่อพระราชาตรัสถามว่า
4
อะไรกันเล่าพ่อคุณ?
ก็กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มีดาบสองค์หนึ่ง
รู้ความสาเร็จผลแห่งเสียงที่พระองค์ได้ทรงสดับ นั่งอยู่บนมงคลศิลา
ในพระราชอุทยานของพระองค์ กล่าวว่า ถ้าพระราชาตรัสถามเรา
เราจักกราบทูลให้ทรงทราบ พระองค์ควรเสด็จไปถามพระดาบสนั้น พระเจ้าข้า.
พระราชาเสด็จไปในที่นั้นโดยเร็ว ไหว้พระดาบสแล้ว
อันพระดาบสทาปฏิสันถารแล้ว ประทับนั่งแล้วตรัสถามว่า ได้ยินว่า
พระคุณเจ้ารู้ความสาเร็จผลแห่งเสียง ที่ข้าพเจ้าได้ฟังจริงหรือ?
ถูกแล้ว มหาบพิตร.
ถ้าเช่นนั้น ขอพระคุณเจ้าได้กรุณาชี้แจง
ความสาเร็จผลแห่งเสียงที่ข้าพเจ้าได้ฟังนั้น แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด.
มหาบพิตร จะไม่มีอันตรายไรๆ แก่พระองค์เลย
เพราะได้ทรงสดับเสียงเหล่านั้น ก็นกยางตัวหนึ่งมีอยู่ที่สวนเก่า
นกยางนั้นเมื่อไม่ได้เหยื่อ ถูกความหิวครอบงาได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงแรก.
พระดาบสกราบทูลดังนี้แล้ว โดยที่กาหนดรู้กิริยาของนกยางด้วยญาณของตน.
จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า :-
สระมงคลโบกขรณีนี้ แต่ก่อนเป็นที่ลุ่มลึก มีน้ามาก มีปลามาก
เป็นที่อยู่อาศัยของพญานกยาง เป็ นที่อยู่แห่งบิดาของเรา บัดนี้น้าแห้ง
วันนี้พวกเราจะพากันเลี้ยงชีพด้วยกบ ถึงพวกเราจะถูกความหิวบีบคั้นถึงเพียงนี้
ก็จะไม่ละที่อยู่.
พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร ด้วยเหตุดังทูลมานี้
นกยางนั้นถูกความหิวบีบคั้นจึงร้อง
แม้ถ้าพระองค์ประสงค์จะเปลื้องนกยางนั้นให้พ้นจากความหิว
จงชาระสวนให้สะอาด แล้วไขน้าเข้าให้เต็มสระโบกขรณี.
พระราชารับสั่งให้อามาตย์คนหนึ่งกระทาตามนั้น.
พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาราชเจ้า
แม่กาตัวหนึ่งอยู่ที่เสาระเนียดโรงช้างของพระองค์ โศกเศร้าถึงลูกของตัว
จึงได้ร้องเป็ นเสียงที่สอง แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์.
ดังนี้แล้วกล่าวคาถาที่ ๒ ความว่า :-
ใครจะทาลายนัยน์ตาข้างที่สองของนายพันธุระ
ผู้มีอาวุธในมือให้แตกได้ ใครจักกระทาลูกรักของเรา
และตัวเราให้มีความสวัสดีได้.
ครั้นกล่าวดังนี้ ได้ทูลถามว่า ดูก่อนมหาบพิตร
นายควาญช้างที่โรงช้างของพระองค์ชื่อไร?
5
ชื่อพันธุระขอรับ ท่านผู้เจริญ
มหาบพิตร เขาตาบอดข้างหนึ่งหรือ?
พระราชา ถูกแล้ว ท่านผู้เจริญ
ดูก่อนมหาบพิตร แม่กาตัวหนึ่งทารังอยู่ที่เสาระเนียดประตูโรงช้าง
ออกไข่ ฟักไข่แล้ว ลูกก็ออกจากฟองไข่ นายควาญช้างขี่ช้างเข้าออกจากโรงช้าง
เอาขอตีแม่กาบ้าง ลูกกาบ้าง รื้อรังเสียบ้าง แม่กาได้รับความลาบากเช่นนั้น
จึงร้องขอให้นัยน์ตานายควาญช้างนั้นบอดเสียทั้งสองข้าง.
ถ้าพระองค์จะทรงมีพระทัยเมตตาแก่แม่กา
โปรดเรียกนายพันธุระนั้นมา จงห้ามอย่าให้รื้อรังอีก.
พระราชาให้หาตัวนายพันธุระมา ทรงบริภาษแล้วไล่ออก
แล้วทรงตั้งคนอื่นเป็ นนายควาญช้างแทน.
พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร
มีแมลงภู่ตัวหนึ่งอยู่ที่ช่อฟ้ ามหาปราสาท กัดกระพี้กินหมดแล้ว
ไม่อาจกัดแก่นกินได้ เมื่อไม่ได้อาหารก็ไม่อาจออกไป
จึงคร่าครวญเป็นเสียงที่สาม แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้แล้ว
โดยที่กาหนดรู้กิริยาของแมลงภู่นั้นด้วยญาณของตน.
จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า :-
ดูก่อนมหาบพิตร คติของกระพี้ไม้นั้นมีอยู่เพียงใด กระพี้ไม้ทั้งหมด
แมลงภู่เจาะกินสิ้นแล้วเพียงนั้น แมลงภู่หมดอาหารแล้ว จึงไม่ยินดีในไม้แก่น.
พระราชารับสั่งให้บุรุษคนหนึ่ง นาแมลงภู่ออกได้ด้วยอุบาย.
พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร
ในพระราชวังของพระองค์ มีนกดุเหว่าที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งมิใช่หรือ?
พระราชาตรัสว่า มีอยู่ขอรับ.
พระดาบสกราบทูลว่า ดูก่อนมหาบพิตร
นกดุเหว่านั้นคิดถึงไพรสณฑ์ที่ตนเคยอยู่ ดิ้นรนคิดว่า
เมื่อไรหนอเราจึงจะพ้นกรงนี้ ไปสู่ไพรสณฑ์ที่น่ารื่นรมย์
จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่สี่ แม้เพราะเหตุนี้ ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๔ ความว่า :-
ไฉนหนอ เราจึงจะจากที่นี่ไปให้พ้นจากราชนิเวศน์เสียได้ บันเทิงใจ
ชมต้นไม้กิ่งไม้ที่มีดอก ทารังอาศัยอยู่ตามประสาของเรา.
ก็แหละครั้นกราบทูลอย่างนี้แล้ว ได้กราบทูลต่อไปว่า
ดูก่อนมหาบพิตร นกดุเหว่านั้นดิ้นรน ขอพระองค์จงปล่อยนกดุเหว่านั้นเถิด.
พระราชารับสั่งให้กระทาตามนั้น.
พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า
ในพระราชวังของพระองค์มีเนื้อที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งมิใช่หรือ?
6
พระราชาตรัสว่า มีขอรับ.
พระดาบสกราบทูลว่า เนื้อนั้นเป็นนายฝูง คิดถึงนางเนื้อของตน
ดิ้นรนด้วยอานาจกิเลส จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่ห้า แม้เพราะเหตุนั้น
ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๕ ความว่า :-
ไฉนหนอ เราจึงจะไปจากที่นี้ ให้พ้นพระราชนิเวศน์ไปเสียได้
เราจักนาหน้าฝูง ไปดื่มน้าที่ดีเลิศได้.
พระมหาสัตว์ผู้ดาบสได้กราบทูลขอให้พระราชาทรงปล่อยเนื้อนั้นไป
แล้วกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร ในพระราชวังของพระองค์
มีลิงที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งมิใช่หรือ?
เมื่อพระราชารับสั่งว่า มีขอรับ.
พระดาบสได้กราบทูลว่า
ลิงนั้นกาหนัดอยู่ด้วยกามกับฝูงนางลิงในป่าหิมวันตประเทศเที่ยวไป
ถูกนายพรานชื่อภารตะนามาที่นี่ บัดนี้ ดิ้นรนอยากจะไปที่นั้น
จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่หก แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ดังนี้.
แล้วกล่าวคาถาที่ ๖ ความว่า :-
นายพรานภารตะชาวพาหิกรัฐ นาเราผู้มัวเมาด้วยกามทั้งหลาย
ผู้กาหนัดหมกมุ่นอยู่ในกามมาแล้ว ลิงนั้นกล่าวว่า ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน
ขอท่านจงปล่อยข้าพเจ้าเถิด.
พระมหาสัตว์ขอให้พระราชาทรงปล่อยลิงนั้นแล้ว
ทูลถามต่อไปว่า ในพระราชวังของพระองค์
มีกินนรที่เลี้ยงไว้มิใช่หรือ? เมื่อพระราชาตรัสว่า มี จึงกราบทูลว่า
ดูก่อนมหาบพิตร กินนรนั้นคิดถึงคุณที่นางกินรีทาไว้แก่ตน เร่าร้อนเพราะกิเลส
จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่เจ็ด.
ด้วยว่า วันหนึ่ง กินนรนั้นขึ้นไปสู่ยอดเขาตุงคบรรพตกับนางกินรี
พากันเลือกเก็บดอกไม้ที่มีสีงาม กลิ่นหอมและมีรสอร่อยนานาชนิด
ประดับกายตน ไม่ได้กาหนดพระอาทิตย์ที่กาลังจะอัสดงคต
เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว
ความมืดได้มีแก่กินนรและกินรีผู้กาลังลงจากยอดเขา
นางกินรีได้กล่าวกะกินนรว่า ที่รักมืดเหลือเกิน ท่านจงระวังก้าวลงอย่าให้พลาด
แล้วจับมือก้าวลงไป กินนรคิดถึงคาของนางกินรีนั้น จึงได้ร้องขึ้น.
แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้
เมื่อจะกระทาเรื่องราวนั้นให้ปรากฏ โดยที่กาหนดรู้ได้ด้วยญาณของตน
จึงกล่าวคาถาที่ ๗ ความว่า :-
เมื่อความมืดมิดปรากฏเบื้องบนภูเขาอันแข็งคม
7
นางกินรีนั้นได้กล่าวกะเราด้วยถ้อยคาอันไพเราะอ่อนหวาน
ท่านอย่าจรดเท้าลงบนแผ่นหิน.
มีคาอธิบายดังนี้
นางกินรีนั้นได้พูดกะเราด้วยวาจาอันอ่อนหวานนุ่มนวลว่า ที่รักท่านอย่าประมาท
ท่านอย่ากดเท้าลงบนแผ่นหิน คือค่อยๆ ก้าวลง อย่าให้ลื่นพลาดไปที่แผ่นหินได้
ดังนี้แล้ว จับมือก้าวลงไป.
พระมหาสัตว์ได้กราบทูลถึงเหตุที่กินนรร้องดังนี้แล้ว
ได้ทูลขอให้ทรงปล่อยกินนรนั้น แล้วกราบทูลต่อไปว่า
ดูก่อนมหาบพิตร เสียงที่ ๘ เป็นเสียงเปล่งอุทาน คือ
ที่เงื้อมภูเขานันทมูลกะ พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งว่า
อายุสังขารของตนจะสิ้นแล้ว จึงคิดว่าจักไปแดนมนุษย์
ปรินิพพานในพระราชอุทยานของพระเจ้าพาราณสี พวกมนุษย์จักเผาศพเรา
จักเล่นสาธุกีฬา บูชาธาตุบาเพ็ญทางสวรรค์ ดังนี้ แล้วเหาะมาด้วยฤทธานุภาพ
เวลามาถึงยอดปราสาทของพระองค์
โดยปลงขันธภาระเปล่งอุทานแสดงเมืองแก้วคือนิพพาน ดังนี้
แล้วกล่าวคาถาที่พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวไว้ ความว่า :-
เราเห็นพระนิพพานอันเป็ นที่สิ้นชาติ ไม่ต้องกลับมานอนในครรภ์อีก
โดยไม่ต้องสงสัย ความเกิดของเรานี้มีในที่สุดแล้ว
การนอนในครรภ์เป็ นหนสุดท้ายแล้ว สงสารเพื่อภพใหม่ต่อไปของเราสิ้นสุดแล้ว.
คาถานั้นมีอรรถาธิบายดังนี้
เราชื่อว่าเห็นชัดที่สุดแห่งความสิ้นชาติ เพราะได้เห็นพระนิพพาน
กล่าวคือความสิ้นไปแห่งชาติแล้ว ไม่ต้องเวียนมาสู่การนอนในครรภ์อีก
โดยไม่ต้องสงสัย ความเกิดของเรานี้มีในที่สุดแล้ว
การนอนในครรภ์เป็ นหนสุดท้ายแล้ว สงสาร
กล่าวคือลาดับแห่งเบญจขันธ์เพื่อภพใหม่ของเรา ก็สิ้นสุดแล้ว.
ก็และพระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวคาถานี้ด้วยสามารถแห่งอุทาน
แล้วมาสู่พระราชอุทยานนี้ ปรินิพพานที่โคนต้นรังอันมีดอกบานสะพรั่งต้นหนึ่ง.
ดูก่อนมหาบพิตร
ขอเชิญพระองค์เสด็จไปปลงศพพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นเถิด.
พระมหาสัตว์พาพระราชาไปที่พระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพาน
ชี้ให้ทอดพระเนตรสรีระนั้น.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นสรีระของพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นแล้ว
พร้อมด้วยพลนิกาย บูชาด้วยของหอมเป็นต้น
ทรงอาศัยคาของพระโพธิสัตว์รับสั่งให้งดยัญญกรรม
8
พระราชทานชีวิตแก่สัตว์ทั้งหมด ให้ตีกลองประกาศห้ามฆ่าสัตว์ในพระนคร
ให้เล่นสาธุกีฬาเจ็ดวัน
แล้วให้เผาศพพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วยสักการะใหญ่บนจิตกาธานที่ทาด้วยของหอ
มทุกอย่าง แล้วให้สร้างสถูปไว้ที่ทาง ๔ แพร่ง.
แม้พระโพธิสัตว์แสดงธรรมแก่พระราชาแล้วกล่าวสอนว่า
ขอพระราชาจงเป็นผู้ไม่ประมาทเถิดดังนี้ แล้วเข้าป่าหิมพานต์
เจริญพรหมวิหารไม่เสื่อมจากฌาน มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
พระบรมศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า
มหาบพิตร อันตรายไรๆ จะมีแก่พระองค์
เพราะทรงสดับเสียงนั้นหามิได้ พระองค์จงงดการบูชายัญนั้นเสีย
จงประทานชีวิตแก่มหาชน ดังนี้แล้วให้พระราชาทรงบาเพ็ญชีวิตทาน
ให้ตีกลองประกาศให้มาฟังธรรมทั่วพระนคร
แล้วทรงแสดงธรรมประชุมชาดกว่า
พระราชาในครั้งนั้น ได้เป็ น พระอานนท์
มาณพ ได้เป็น พระสารีบุตร
พระดาบส ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาอัฏฐสัททชาดกที่ ๒
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 

Similar to 418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
314 โลหกุมภิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
442 สังขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๖๒. ตติยนาควิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๕. อุตตราวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...040  ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
040 ขทิรังคารชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
405 พกพรหมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
 
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
220 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
268 อารามทูสกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 

418 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 อัฏฐสัททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๒. อัฏฐสัททชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๑๘) ว่าด้วยเสียงของบุคคลทั้ง ๘ (พระดาบสกราบทูลชี้แจงเสียงทั้ง ๘ คือเสียงนกยางว่า) [๑๐] สระนี้ เมื่อก่อนลุ่มลึก มีปลามาก มีน้ามาก เป็ นที่อยู่อาศัยของพญานกยาง ซึ่งเป็ นที่อยู่แห่งบิดาของเรา ทุกวันนี้ พวกเรามีชีวิตอยู่ได้ด้วยกบ จึงละทิ้งน้าไปไม่ได้ (เสียงกาว่า) [๑๑] ใครหนอจะทาลายนัยน์ตาดวงที่ ๒ ของควาญช้างชื่อพันธุระผู้ไม่มีศีล ใครหนอจักช่วยลูกๆ ของเรา รังของเรา และตัวเราให้ปลอดภัย (เสียงแมลงภู่ว่า) [๑๒] กระพี้เท่าที่มีอยู่ถูกเจาะไปหมด ขอถวายพระพรมหาบพิตร แมลงภู่หมดอาหารไม่ยินดีในแก่น (เสียงนกดุเหว่า) [๑๓] เรานั้นคงจักพ้นจากพระราชนิเวศน์ไปจากที่นี้แล้ว ทาตนให้ยินดี อาศัยอยู่ตามต้นไม้กิ่งไม้แน่นอน (เสียงเนื้อว่า) [๑๔] เรานั้นคงจักพ้นจากพระราชนิเวศน์ไปจากที่นี้แล้ว เดินนาหน้าฝูง ดื่มน้าที่ดีเลิศแน่นอน (เสียงลิงว่า) [๑๕] นายพรานชื่อภรตะชาวแคว้นพาหิกะได้นาเรา ผู้มัวเมาด้วยกาม กาหนัดหมกมุ่นอยู่ในกามนั้นมา ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน (เสียงกินนรว่า) [๑๖] นางกินนรีได้กล่าวกับเราที่ยอดเขาแหลมในเวลามืดมิด ด้วยถ้อยคาอันอ่อนหวานว่า โปรดระวังเท้า อย่าเหยียบพลาดไปถูกแง่หิน (เสียงพระปัจเจกพุทธเจ้าว่า) [๑๗] เราได้เห็นพระนิพพานอันเป็นที่สิ้นชาติ จักไม่กลับมานอนในครรภ์อีกอย่างไม่ต้องสงสัย ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย การนอนในครรภ์ก็เป็นครั้งสุดท้าย สังสารวัฏเพื่อภพต่อไปของเราสิ้นแล้ว อัฏฐสัททชาดกที่ ๒ จบ ---------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
  • 2. 2 อัฏฐสัททชาดก ว่าด้วย นิพพาน พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภเสียงแสดงความแร้นแค้น อันน่าสะดุ้งกลัวที่พระเจ้าโกศลได้ทรงสดับในเวลาเที่ยงคืน จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. เนื้อเรื่องก็เช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้วใน โลหกุมภิชาดก ในจตุกกนิบา ตนั่นแหละ. ส่วนในเรื่องนี้ เมื่อพระเจ้าโกศลทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ จะมีเหตุอะไรเกิดขึ้น เพราะเสียงที่ข้าพระองค์ได้สดับนี้. พระบรมศาสดาจึงตรัสว่า มหาบพิตร ขอพระองค์อย่าได้ทรงกลัวเลย จะไม่มีอันตรายใดๆ แก่พระองค์ เพราะเหตุที่ได้ทรงสดับเสียงเหล่านั้น มหาบพิตร พระองค์ได้ทรงสดับเสียงแสดงความแร้นแค้นอันน่าสะดุ้งกลัวเช่นนี้ แต่พระองค์เดียวก็หามิได้ แม้พระราชาองค์ก่อนๆ ก็ได้สดับเสียงเช่นนี้ แล้วเชื่อคาของพวกพราหมณ์ประสงค์จะบูชายัญด้วยสัตว์อย่างละ ๔ ครั้นได้ฟังถ้อยคาของบัณฑิต จึงรับสั่งให้ปล่อยสัตว์ที่จับไว้เพื่อจะฆ่าบูชายัญ แล้วให้ตีกลองเป่าประกาศห้ามฆ่าสัตว์ทั่วพระนคร. พระเจ้าโกศลทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว จึงทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ที่มีสมบัติแปดสิบโกฏิ ครั้นเจริญวัย ได้ศึกษาศิลปวิทยาในเมืองตักกสิลา เมื่อมารดาบิดาตายไปแล้ว จึงตรวจดูทรัพย์สมบัติ แล้วสละสมบัติทั้งหมดให้เป็นทาน ละกามารมณ์เข้าป่าหิมพานต์ บวชเป็ นฤๅษี ทาฌานอภิญญาให้บังเกิดแล้ว แต่ต้องการจะเสพรสเค็ม รสเปรี้ยว จึงไปยังถิ่นมนุษย์ ถึงเมืองพาราณสีแล้ว พานักอยู่ในพระราชอุทยาน. ในครั้งนั้น พระเจ้าพาราณสีเสด็จประทับเหนือพระแท่นสิริไสยาสน์ ในเวลาเที่ยงคืน ได้ทรงสดับเสียง ๘ อย่าง คือ :- ๑. นกยางตัวหนึ่ง ในพระราชอุทยาน ใกล้พระราชวังร้อง. ๒. เสียงร้องของนกยางยังไม่ทันขาดเสียง แม่กาซึ่งอาศัยอยู่ที่เสาระเนียดโรงช้าง ร้อง. ๓. แมลงภู่ซึ่งอาศัยอยู่ที่ช่อฟ้ าเรือนหลวง ร้อง. ๔. นกดุเหว่าที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง. ๕. เนื้อที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง. ๖. วานรที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง.
  • 3. 3 ๗. กินนรที่เลี้ยงไว้ในเรือนหลวง ร้อง. ๘. เมื่อเสียงร้องของกินนรยังไม่ทันขาดเสียง พระปัจเจกพุทธเจ้าผู้ไป ถึงพระราชอุทยานท้ายพระราชวัง เมื่อจะเปล่งอุทานครั้งหนึ่งได้ทาเสียงขึ้น. พระเจ้าพาราณสีได้ทรงสดับเสียง ๘ อย่างเหล่านี้แล้วตกพระทัย สะดุ้งกลัว ในวันรุ่งขึ้นจึงตรัสถามพวกพราหมณ์. พราหมณ์ทั้งหลายพากันกราบทูลว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า อันตรายปรากฏแก่พระองค์ พวกข้าพระองค์จักบูชายัญด้วยวิธีสัตว์อย่างละ ๔ เมื่อพระราชาทรงอนุญาตว่า ท่านทั้งหลายจงทาตามชอบใจ ต่างก็พากันร่าเริงยินดีออกจากราชสานักไปเริ่มยัญญกรรม. ครั้งนั้น มาณพผู้เป็นศิษย์ของหัวหน้าพราหมณ์ผู้ทายัญญกรรม เป็นผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาด กล่าวกะอาจารย์ว่า ข้าแต่อาจารย์ ยัญญกรรมอย่างนี้ เป็นกรรมหยาบช้ากล้าแข็ง ไม่เป็นที่น่ายินดี ก่อความพินาศแก่สัตว์เป็นอันมาก ขอท่านอย่าได้ทาเลย. อาจารย์กล่าวว่า พ่อเอย เจ้าช่างไม่รู้อะไรเสียเลย ถ้าจักไม่มีอะไรอย่างอื่นขึ้น พวกเราก็จักได้กินปลาและเนื้อมากมายก่อน. มาณพกล่าวว่า ข้าแต่ท่านอาจารย์ ขอท่านอย่าได้ทากรรมที่จะให้เกิดในนรก เพราะอาศัยท้องเลย. พวกพราหมณ์ที่เหลือได้ฟังดังนั้น ก็โกรธมาณพว่า มาณพเป็นอันตรายต่อลาภของพวกเรา. เพราะกลัวพราหมณ์เหล่านั้น มาณพจึงกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นพวกท่านจงทาอุบายกินปลาและเนื้อเถิด แล้วออกไปนอกพระนคร พิจารณาดูสมณะผู้มีธรรมซึ่งสามารถจะห้ามพระราชาได้ ไปพระราชอุทยาน เห็นพระโพธิสัตว์ ไหว้แล้วกล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านไม่มีความอนุเคราะห์ในสัตว์ทั้งหลายบ้างหรือ พระราชารับสั่งให้ฆ่าสัตว์เป็นอันมากบูชายัญ การที่ท่านจะทาให้มหาชนพ้นจากเครื่องพันธนาการ จะไม่สมควรหรือ? พระโพธิสัตว์ตอบว่า ถูกแล้วมาณพ แต่เราอยู่ที่นี่ พระราชาก็ไม่รู้จักเร า เราก็ไม่รู้จักพระราชา. มาณพถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็ท่านรู้ความสาเร็จผลแห่งเสียงที่พระราชาทรงสดับหรือ? พระโพธิสัตว์ตอบว่า เออ เรารู้ มาณพถามว่า เมื่อรู้ เหตุไรจึงไม่กราบทูลพระราชา? พระโพธิสัตว์ตอบว่า ดูก่อนมาณพ เราผูกเขาสัตว์ไว้ที่หน้าผากจะอาจบอกว่า เรารู้ได้อย่างไร ถ้าพระราชาเสด็จมาที่นี้แล้วตรัสถามว่า เราก็จักกราบทูลให้ทรงทราบ. มาณพก็รีบไปราชสานักโดยเร็ว เมื่อพระราชาตรัสถามว่า
  • 4. 4 อะไรกันเล่าพ่อคุณ? ก็กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มีดาบสองค์หนึ่ง รู้ความสาเร็จผลแห่งเสียงที่พระองค์ได้ทรงสดับ นั่งอยู่บนมงคลศิลา ในพระราชอุทยานของพระองค์ กล่าวว่า ถ้าพระราชาตรัสถามเรา เราจักกราบทูลให้ทรงทราบ พระองค์ควรเสด็จไปถามพระดาบสนั้น พระเจ้าข้า. พระราชาเสด็จไปในที่นั้นโดยเร็ว ไหว้พระดาบสแล้ว อันพระดาบสทาปฏิสันถารแล้ว ประทับนั่งแล้วตรัสถามว่า ได้ยินว่า พระคุณเจ้ารู้ความสาเร็จผลแห่งเสียง ที่ข้าพเจ้าได้ฟังจริงหรือ? ถูกแล้ว มหาบพิตร. ถ้าเช่นนั้น ขอพระคุณเจ้าได้กรุณาชี้แจง ความสาเร็จผลแห่งเสียงที่ข้าพเจ้าได้ฟังนั้น แก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด. มหาบพิตร จะไม่มีอันตรายไรๆ แก่พระองค์เลย เพราะได้ทรงสดับเสียงเหล่านั้น ก็นกยางตัวหนึ่งมีอยู่ที่สวนเก่า นกยางนั้นเมื่อไม่ได้เหยื่อ ถูกความหิวครอบงาได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงแรก. พระดาบสกราบทูลดังนี้แล้ว โดยที่กาหนดรู้กิริยาของนกยางด้วยญาณของตน. จึงได้กล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า :- สระมงคลโบกขรณีนี้ แต่ก่อนเป็นที่ลุ่มลึก มีน้ามาก มีปลามาก เป็นที่อยู่อาศัยของพญานกยาง เป็ นที่อยู่แห่งบิดาของเรา บัดนี้น้าแห้ง วันนี้พวกเราจะพากันเลี้ยงชีพด้วยกบ ถึงพวกเราจะถูกความหิวบีบคั้นถึงเพียงนี้ ก็จะไม่ละที่อยู่. พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร ด้วยเหตุดังทูลมานี้ นกยางนั้นถูกความหิวบีบคั้นจึงร้อง แม้ถ้าพระองค์ประสงค์จะเปลื้องนกยางนั้นให้พ้นจากความหิว จงชาระสวนให้สะอาด แล้วไขน้าเข้าให้เต็มสระโบกขรณี. พระราชารับสั่งให้อามาตย์คนหนึ่งกระทาตามนั้น. พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาราชเจ้า แม่กาตัวหนึ่งอยู่ที่เสาระเนียดโรงช้างของพระองค์ โศกเศร้าถึงลูกของตัว จึงได้ร้องเป็ นเสียงที่สอง แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์. ดังนี้แล้วกล่าวคาถาที่ ๒ ความว่า :- ใครจะทาลายนัยน์ตาข้างที่สองของนายพันธุระ ผู้มีอาวุธในมือให้แตกได้ ใครจักกระทาลูกรักของเรา และตัวเราให้มีความสวัสดีได้. ครั้นกล่าวดังนี้ ได้ทูลถามว่า ดูก่อนมหาบพิตร นายควาญช้างที่โรงช้างของพระองค์ชื่อไร?
  • 5. 5 ชื่อพันธุระขอรับ ท่านผู้เจริญ มหาบพิตร เขาตาบอดข้างหนึ่งหรือ? พระราชา ถูกแล้ว ท่านผู้เจริญ ดูก่อนมหาบพิตร แม่กาตัวหนึ่งทารังอยู่ที่เสาระเนียดประตูโรงช้าง ออกไข่ ฟักไข่แล้ว ลูกก็ออกจากฟองไข่ นายควาญช้างขี่ช้างเข้าออกจากโรงช้าง เอาขอตีแม่กาบ้าง ลูกกาบ้าง รื้อรังเสียบ้าง แม่กาได้รับความลาบากเช่นนั้น จึงร้องขอให้นัยน์ตานายควาญช้างนั้นบอดเสียทั้งสองข้าง. ถ้าพระองค์จะทรงมีพระทัยเมตตาแก่แม่กา โปรดเรียกนายพันธุระนั้นมา จงห้ามอย่าให้รื้อรังอีก. พระราชาให้หาตัวนายพันธุระมา ทรงบริภาษแล้วไล่ออก แล้วทรงตั้งคนอื่นเป็ นนายควาญช้างแทน. พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร มีแมลงภู่ตัวหนึ่งอยู่ที่ช่อฟ้ ามหาปราสาท กัดกระพี้กินหมดแล้ว ไม่อาจกัดแก่นกินได้ เมื่อไม่ได้อาหารก็ไม่อาจออกไป จึงคร่าครวญเป็นเสียงที่สาม แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้แล้ว โดยที่กาหนดรู้กิริยาของแมลงภู่นั้นด้วยญาณของตน. จึงกล่าวคาถาที่ ๓ ความว่า :- ดูก่อนมหาบพิตร คติของกระพี้ไม้นั้นมีอยู่เพียงใด กระพี้ไม้ทั้งหมด แมลงภู่เจาะกินสิ้นแล้วเพียงนั้น แมลงภู่หมดอาหารแล้ว จึงไม่ยินดีในไม้แก่น. พระราชารับสั่งให้บุรุษคนหนึ่ง นาแมลงภู่ออกได้ด้วยอุบาย. พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร ในพระราชวังของพระองค์ มีนกดุเหว่าที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งมิใช่หรือ? พระราชาตรัสว่า มีอยู่ขอรับ. พระดาบสกราบทูลว่า ดูก่อนมหาบพิตร นกดุเหว่านั้นคิดถึงไพรสณฑ์ที่ตนเคยอยู่ ดิ้นรนคิดว่า เมื่อไรหนอเราจึงจะพ้นกรงนี้ ไปสู่ไพรสณฑ์ที่น่ารื่นรมย์ จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่สี่ แม้เพราะเหตุนี้ ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้. แล้วกล่าวคาถาที่ ๔ ความว่า :- ไฉนหนอ เราจึงจะจากที่นี่ไปให้พ้นจากราชนิเวศน์เสียได้ บันเทิงใจ ชมต้นไม้กิ่งไม้ที่มีดอก ทารังอาศัยอยู่ตามประสาของเรา. ก็แหละครั้นกราบทูลอย่างนี้แล้ว ได้กราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร นกดุเหว่านั้นดิ้นรน ขอพระองค์จงปล่อยนกดุเหว่านั้นเถิด. พระราชารับสั่งให้กระทาตามนั้น. พระดาบสกราบทูลต่อไปว่า ในพระราชวังของพระองค์มีเนื้อที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งมิใช่หรือ?
  • 6. 6 พระราชาตรัสว่า มีขอรับ. พระดาบสกราบทูลว่า เนื้อนั้นเป็นนายฝูง คิดถึงนางเนื้อของตน ดิ้นรนด้วยอานาจกิเลส จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่ห้า แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้. แล้วกล่าวคาถาที่ ๕ ความว่า :- ไฉนหนอ เราจึงจะไปจากที่นี้ ให้พ้นพระราชนิเวศน์ไปเสียได้ เราจักนาหน้าฝูง ไปดื่มน้าที่ดีเลิศได้. พระมหาสัตว์ผู้ดาบสได้กราบทูลขอให้พระราชาทรงปล่อยเนื้อนั้นไป แล้วกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร ในพระราชวังของพระองค์ มีลิงที่เลี้ยงไว้ตัวหนึ่งมิใช่หรือ? เมื่อพระราชารับสั่งว่า มีขอรับ. พระดาบสได้กราบทูลว่า ลิงนั้นกาหนัดอยู่ด้วยกามกับฝูงนางลิงในป่าหิมวันตประเทศเที่ยวไป ถูกนายพรานชื่อภารตะนามาที่นี่ บัดนี้ ดิ้นรนอยากจะไปที่นั้น จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่หก แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ดังนี้. แล้วกล่าวคาถาที่ ๖ ความว่า :- นายพรานภารตะชาวพาหิกรัฐ นาเราผู้มัวเมาด้วยกามทั้งหลาย ผู้กาหนัดหมกมุ่นอยู่ในกามมาแล้ว ลิงนั้นกล่าวว่า ขอความเจริญจงมีแก่ท่าน ขอท่านจงปล่อยข้าพเจ้าเถิด. พระมหาสัตว์ขอให้พระราชาทรงปล่อยลิงนั้นแล้ว ทูลถามต่อไปว่า ในพระราชวังของพระองค์ มีกินนรที่เลี้ยงไว้มิใช่หรือ? เมื่อพระราชาตรัสว่า มี จึงกราบทูลว่า ดูก่อนมหาบพิตร กินนรนั้นคิดถึงคุณที่นางกินรีทาไว้แก่ตน เร่าร้อนเพราะกิเลส จึงได้ร้องขึ้นเป็ นเสียงที่เจ็ด. ด้วยว่า วันหนึ่ง กินนรนั้นขึ้นไปสู่ยอดเขาตุงคบรรพตกับนางกินรี พากันเลือกเก็บดอกไม้ที่มีสีงาม กลิ่นหอมและมีรสอร่อยนานาชนิด ประดับกายตน ไม่ได้กาหนดพระอาทิตย์ที่กาลังจะอัสดงคต เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว ความมืดได้มีแก่กินนรและกินรีผู้กาลังลงจากยอดเขา นางกินรีได้กล่าวกะกินนรว่า ที่รักมืดเหลือเกิน ท่านจงระวังก้าวลงอย่าให้พลาด แล้วจับมือก้าวลงไป กินนรคิดถึงคาของนางกินรีนั้น จึงได้ร้องขึ้น. แม้เพราะเหตุนั้น ภัยก็มิได้มีแก่พระองค์ ดังนี้ เมื่อจะกระทาเรื่องราวนั้นให้ปรากฏ โดยที่กาหนดรู้ได้ด้วยญาณของตน จึงกล่าวคาถาที่ ๗ ความว่า :- เมื่อความมืดมิดปรากฏเบื้องบนภูเขาอันแข็งคม
  • 7. 7 นางกินรีนั้นได้กล่าวกะเราด้วยถ้อยคาอันไพเราะอ่อนหวาน ท่านอย่าจรดเท้าลงบนแผ่นหิน. มีคาอธิบายดังนี้ นางกินรีนั้นได้พูดกะเราด้วยวาจาอันอ่อนหวานนุ่มนวลว่า ที่รักท่านอย่าประมาท ท่านอย่ากดเท้าลงบนแผ่นหิน คือค่อยๆ ก้าวลง อย่าให้ลื่นพลาดไปที่แผ่นหินได้ ดังนี้แล้ว จับมือก้าวลงไป. พระมหาสัตว์ได้กราบทูลถึงเหตุที่กินนรร้องดังนี้แล้ว ได้ทูลขอให้ทรงปล่อยกินนรนั้น แล้วกราบทูลต่อไปว่า ดูก่อนมหาบพิตร เสียงที่ ๘ เป็นเสียงเปล่งอุทาน คือ ที่เงื้อมภูเขานันทมูลกะ พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งว่า อายุสังขารของตนจะสิ้นแล้ว จึงคิดว่าจักไปแดนมนุษย์ ปรินิพพานในพระราชอุทยานของพระเจ้าพาราณสี พวกมนุษย์จักเผาศพเรา จักเล่นสาธุกีฬา บูชาธาตุบาเพ็ญทางสวรรค์ ดังนี้ แล้วเหาะมาด้วยฤทธานุภาพ เวลามาถึงยอดปราสาทของพระองค์ โดยปลงขันธภาระเปล่งอุทานแสดงเมืองแก้วคือนิพพาน ดังนี้ แล้วกล่าวคาถาที่พระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวไว้ ความว่า :- เราเห็นพระนิพพานอันเป็ นที่สิ้นชาติ ไม่ต้องกลับมานอนในครรภ์อีก โดยไม่ต้องสงสัย ความเกิดของเรานี้มีในที่สุดแล้ว การนอนในครรภ์เป็ นหนสุดท้ายแล้ว สงสารเพื่อภพใหม่ต่อไปของเราสิ้นสุดแล้ว. คาถานั้นมีอรรถาธิบายดังนี้ เราชื่อว่าเห็นชัดที่สุดแห่งความสิ้นชาติ เพราะได้เห็นพระนิพพาน กล่าวคือความสิ้นไปแห่งชาติแล้ว ไม่ต้องเวียนมาสู่การนอนในครรภ์อีก โดยไม่ต้องสงสัย ความเกิดของเรานี้มีในที่สุดแล้ว การนอนในครรภ์เป็ นหนสุดท้ายแล้ว สงสาร กล่าวคือลาดับแห่งเบญจขันธ์เพื่อภพใหม่ของเรา ก็สิ้นสุดแล้ว. ก็และพระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวคาถานี้ด้วยสามารถแห่งอุทาน แล้วมาสู่พระราชอุทยานนี้ ปรินิพพานที่โคนต้นรังอันมีดอกบานสะพรั่งต้นหนึ่ง. ดูก่อนมหาบพิตร ขอเชิญพระองค์เสด็จไปปลงศพพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นเถิด. พระมหาสัตว์พาพระราชาไปที่พระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพาน ชี้ให้ทอดพระเนตรสรีระนั้น. พระราชาทอดพระเนตรเห็นสรีระของพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นแล้ว พร้อมด้วยพลนิกาย บูชาด้วยของหอมเป็นต้น ทรงอาศัยคาของพระโพธิสัตว์รับสั่งให้งดยัญญกรรม
  • 8. 8 พระราชทานชีวิตแก่สัตว์ทั้งหมด ให้ตีกลองประกาศห้ามฆ่าสัตว์ในพระนคร ให้เล่นสาธุกีฬาเจ็ดวัน แล้วให้เผาศพพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วยสักการะใหญ่บนจิตกาธานที่ทาด้วยของหอ มทุกอย่าง แล้วให้สร้างสถูปไว้ที่ทาง ๔ แพร่ง. แม้พระโพธิสัตว์แสดงธรรมแก่พระราชาแล้วกล่าวสอนว่า ขอพระราชาจงเป็นผู้ไม่ประมาทเถิดดังนี้ แล้วเข้าป่าหิมพานต์ เจริญพรหมวิหารไม่เสื่อมจากฌาน มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า. พระบรมศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า มหาบพิตร อันตรายไรๆ จะมีแก่พระองค์ เพราะทรงสดับเสียงนั้นหามิได้ พระองค์จงงดการบูชายัญนั้นเสีย จงประทานชีวิตแก่มหาชน ดังนี้แล้วให้พระราชาทรงบาเพ็ญชีวิตทาน ให้ตีกลองประกาศให้มาฟังธรรมทั่วพระนคร แล้วทรงแสดงธรรมประชุมชาดกว่า พระราชาในครั้งนั้น ได้เป็ น พระอานนท์ มาณพ ได้เป็น พระสารีบุตร พระดาบส ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาอัฏฐสัททชาดกที่ ๒ -----------------------------------------------------