SlideShare a Scribd company logo
1
กิงฉันทชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๑๖. ติงสตินิบาต
๑. กิงฉันทชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๑๑)
ว่าด้วยดาบสผู้มีความพอใจอะไร
(เทพธิดาผู้รักษาแม่น้ากล่าวกับกิงฉันทดาบสว่า)
[๑] ท่านพราหมณ์ ท่านพอใจ (พอใจ หมายถึงอัธยาศัย) อะไร
ประสงค์อะไร ปรารถนาอะไร แสวงหาอะไรอยู่ และเพราะต้องการอะไร
จึงมาอยู่แต่ผู้เดียวในฤดูร้อน
(ดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า)
[๒] หม้อน้าใบใหญ่มีทรวดทรงงดงามฉันใด มะม่วงสุกที่อุดมไปด้วยสี
กลิ่น และรสก็อุปไมยได้ฉันนั้น
[๓] มะม่วงนั้นลอยมาตามกระแสน้าท่ามกลางสายน้าใส
อาตมาเห็นเข้าจึงยื่นมือไปเก็บมัน นามาเก็บไว้ในโรงบูชาไฟ
[๔] แต่นั้นอาตมาเองวางมะม่วงไว้บนใบตอง ใช้มีดฝานแล้วฉัน
มะม่วงนั้นระงับความหิวกระหายของอาตมาแล้ว
[๕] อาตมานั้นปราศจากความกระวนกระวาย ผลมะม่วงหมดไป
ก็ได้แต่ข่มความทุกข์ ยังไม่ประสบผลไม้อย่างอื่นชนิดใดชนิดหนึ่งเลย
[๖] มะม่วงสุกผลใดมีรสอร่อย มีรสเป็นเลิศ น่าพอใจ
ลอยมาในห้วงมหรรณพ อาตมาเก็บขึ้นมาจากทะเล
มะม่วงสุกผลนั้นทาอาตมาให้ซูบผอม จักนาความตายมาให้อาตมาแน่นอน
[๗] อาตมาเฝ้ าประจาอยู่เพราะเหตุใด เหตุนั้นทั้งหมด
อาตมาได้บอกแก่ท่านแล้ว อาตมานั่งเฝ้ าอยู่เฉพาะแม่น้าสายที่น่ารื่นรมย์
แม่น้าสายนี้กว้างใหญ่ไพศาล ขวักไขว่ไปด้วยปลาโลมาตัวใหญ่ๆ
[๘] แม่นางผู้ไม่แอบแฝงตน แม่นางนั้นแหละจงบอกแก่อาตมาเถิด
แม่นางผู้มีเรือนร่างสง่างาม นางเป็นใครกัน และมาที่นี่เพราะเหตุอะไร
[๙] เทพนารีเหล่าใดผู้มีเรือนร่างประดุจแผ่นทองคาที่ขัดสีดีแล้ว
หรือประดุจนางพยัคฆ์ที่เกิดอยู่ตามซอกเขา เป็นปริจาริกาของเทพ มีอยู่ในโลก
[๑๐] และสตรีรูปงามเหล่าใดมีอยู่ในมนุษยโลก บรรดาเทพนารี
คนธรรพ์ และหญิงมนุษย์ สตรีเหล่านั้นไม่มีรูปร่างเช่นกับแม่นาง
แม่นางผู้มีลาขาอ่อนกลมกลึงประดุจแท่งทอง อาตมาถามแล้ว
ขอแม่นางจงบอกนาม และเผ่าพันธุ์แก่อาตมาด้วยเถิด
(เทพธิดากล่าวว่า)
2
[๑๑] ท่านพราหมณ์ ท่านนั่งเฝ้ าอยู่เฉพาะ
แม่น้าโกสิกีอันน่ารื่นรมย์สายใด ข้าพเจ้าอยู่ที่วิมานมีกระแสน้าเชี่ยว
ซึ่งเป็ นห้วงน้าใหญ่สายนั้น
[๑๒] ลาธารจากภูเขาจานวนมาก ดื่นดาษไปด้วยหมู่ไม้นานาพันธุ์
ไหลรวมกัน ตรงมาหาข้าพเจ้า
[๑๓] อนึ่ง ธารน้าจากแนวป่า ก่อตัวเป็ นห้วงวารีสีเขียว
และธารน้าอันเป็ นที่ปลื้มใจแห่งพวกนาคเป็นจานวนมาก
ไหลมาท่วมข้าพเจ้าด้วยห้วงวารี
[๑๔] สายน้าเหล่านั้นย่อมพัดพาผลไม้หลายชนิด คือ มะม่วง ผลหว้า
ขนุนสาปะลอ กระทุ่ม ผลตาล และมะเดื่อมาเนืองๆ
[๑๕] ผลไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ฝั่งแม่น้าทั้ง ๒ หล่นลงไปในน้า
ผลไม้นั้นย่อมลอยไปตามอานาจกระแสน้าโดยไม่ต้องสงสัย
[๑๖] พระองค์ผู้จอมชนเป็ นปราชญ์ มีปัญญามาก
ขอพระองค์จงสดับคาของข้าพเจ้า พระองค์ทราบอย่างนี้แล้ว
อย่าทรงพอพระทัยความเกาะเกี่ยว (หมายถึงเกาะเกี่ยวด้วยอานาจตัณหา)
ทรงปฏิเสธเสียเถิด
[๑๗] พระราชฤๅษีผู้ผดุงแคว้นให้เจริญ
ข้าพเจ้าไม่เข้าใจความเป็นบัณฑิตของพระองค์เลย
ซึ่งพระองค์กาลังทรงพระเจริญวัย แต่กลับหวังความตาย
[๑๘] พระบิดา คนธรรพ์ พร้อมทั้งเทวดา
ย่อมทราบความที่พระองค์ตกอยู่ในอานาจแห่งตัณหา อนึ่ง
ฤๅษีทั้งหลายเหล่าใดในโลก ผู้สารวมตน มีตบะ ผู้เริ่มตั้งความเพียร มียศ
ฤๅษีแม้เหล่านั้นก็ย่อมทราบโดยไม่ต้องสงสัย
(ต่อแต่นั้น ดาบสได้กล่าวว่า)
[๑๙] บาปย่อมไม่เจริญแก่นรชนผู้รู้ เพราะรู้ธรรมทั้งปวง
รู้ความแตกสลาย และรู้การจุติแห่งชีวิต ถ้าเขาไม่จงใจจะฆ่าผู้อื่น
[๒๐] แม่นางผู้ที่หมู่ฤๅษีรู้จักกันดี เธอเป็นคนที่ผู้ลอยบาปรู้แจ้งชัดว่า
เป็นผู้เกื้อกูลแก่ชาวโลก แม่นางผู้มีความงาม เธอย่อมแสวงหาบาปกรรม
เพราะเจรจาถ้อยคาที่ไม่ประเสริฐ
[๒๑] แม่นางผู้มีสะโพกงามผึ่งผาย ถ้าอาตมาจักตายที่ริมฝั่งน้าของเธอ
ชื่อเสียงอันเลวทรามจักมาถึงเธอโดยไม่ต้องสงสัย เมื่ออาตมาล่วงลับไปแล้ว
[๒๒] เพราะเหตุนั้นแล แม่นางผู้มีเรือนร่างอันสวยงาม
เธอจงระวังบาปกรรม เมื่ออาตมาตายไปแล้ว
ขอชนทั้งปวงอย่าได้กล่าวติเตียนเธอในภายหลังเลย
(เทพธิดาได้สดับดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าวว่า)
3
[๒๓] เหตุนั้นข้าพเจ้าได้ทราบแล้ว
ขอพระองค์ทรงอดกลั้นสิ่งที่อดกลั้นได้ยากเถิด
ข้าพเจ้ายอมถวายตนและผลมะม่วงนั้นแก่พระองค์ ผู้ทรงละกามคุณที่ละได้ยาก
ดารงสันติและธรรม (สันติ หมายถึงศีลกล่าวคือความสงบจากความทุศีล ธรรม
หมายถึงสุจริตธรรม) ไว้อย่างมั่นคง
[๒๔] ผู้ใดละสังโยชน์อันเป็ นส่วนเบื้องต้นได้
แต่ยังติดอยู่ในสังโยชน์อันเป็ นส่วนเบื้องปลาย ประพฤติอธรรมอยู่นั่นเทียว
บาปย่อมเจริญแก่ผู้นั้น
[๒๕] เชิญเสด็จมาเถิด ข้าพเจ้าจะช่วยพระองค์
ขอพระองค์ทรงขวนขวายน้อยโดยส่วนเดียวเถิด
ข้าพเจ้าจะนาพระองค์ไปที่สวนมะม่วงอันร่มเย็น
ขอพระองค์ปราศจากความขวนขวายอยู่เถิด
[๒๖] ขอเดชะพระองค์ผู้ทรงข่มอริราชศัตรู
สวนมะม่วงนั้นเซ็งแซ่ไปด้วยหมู่นกที่มัวเมาด้วยรสดอกไม้ ทิพยสกุณปักษี คือ
นกกระเรียน นกยูง นกเขา และนกสาลิกาก็มีอยู่ในสวนมะม่วงนี้
และในสวนนี้ยังมีฝูงหงส์ส่งเสียงร้องระงม
นกดุเหว่าเร่าร้องกึกก้องปลุกเหล่าสัตว์ให้ตื่นอยู่
[๒๗] ณ สวนมะม่วงนี้ ต้นมะม่วงทั้งหลายมีปลายกิ่งโน้มลง
ด้วยพวงผลดกดื่นเช่นรวงข้าวสาลี มีทั้งต้นคา ต้นสน ต้นกระทุ่ม
และผลตาลสุกห้อยย้อยอยู่เรียงราย
(ดาบสเห็นเปรตเสวยทิพยสมบัติในเวลาดวงอาทิตย์ตก จึงได้กล่าวว่า)
[๒๘] เธอผู้ประดับมาลา โพกภูษา ประดับอาภรณ์
สวมใส่กาไลมือกาไลแขน มีร่างกายฟุ้ งไปด้วยจุรณแก่นจันทน์
ถูกบาเรอตลอดคืน ส่วนกลางวันเสวยเวทนา
[๒๙] เธอมีหญิง ๑๖,๐๐๐ นางเป็นนางบาเรอ มีอานุภาพมากอย่างนี้
ยังไม่เคยมี น่าขนพองสยองเกล้า
[๓๐] ในภพก่อนเธอได้ทาบาปกรรมอะไรที่นาทุกข์มาให้ตน
เธอทากรรมอะไรไว้ในมนุษย์ทั้งหลาย จึงต้องมากัดกินเนื้อหลังของตน
(เปรตจาดาบสนั้นได้ จึงกล่าวว่า)
[๓๑] ข้าพระองค์ได้เล่าเรียนพระเวท หมกมุ่นอยู่ในกามทั้งหลาย
ได้ประพฤติสิ่งไม่เป็ นประโยชน์แก่ชนเหล่าอื่นตลอดกาลนาน
[๓๒] ผู้หากินบนหลังคนอื่นต้องควักเนื้อหลังของตนกิน
เหมือนข้าพระองค์วันนี้ต้องกัดกินเนื้อหลังของตนเอง
กิงฉันทชาดกที่ ๑ จบ
-----------------------
4
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
กิงฉันทชาดก
ว่าด้วย โทษที่ฉกฉวยเอาประโยชน์ของคนอื่น
พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงปรารภอุโบสถกรรม ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
ความย่อว่า วันหนึ่ง พระศาสดาตรัสถามอุบาสก-
อุบาสิกาเป็นอันมากผู้รักษาอุโบสถ
ผู้มานั่งเพื่อจะฟังพระธรรมเทศนาอยู่ที่โรงธรรมสภาว่า
ดูก่อนอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย พวกท่านรักษาอุโบสถหรือ?
เมื่อเขากราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ท่านทั้งหลายทาการรักษาอุโบสถ
จัดว่าได้ทาความดี โบราณกบัณฑิตทั้งหลายได้รับยศอันยิ่งใหญ่
ก็เพราะผลแห่งอุโบสถกรรมกึ่งหนึ่ง
อันพวกอุบาสกอุบาสิกากราบทูลอาราธนา
จึงทรงนาอดีตนิทานมาตรัสดังต่อไปนี้
ในอดีตกาล
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสีโดยธรรม
ทรงเป็นผู้มีศรัทธา ปสาทะ ไม่ประมาทในทานศีลและอุโบสถกรรม.
ท้าวเธอมีตรัสสั่งแม้กะชนที่เหลือมีอามาตย์เป็นต้น
ให้ตั้งมั่นในกุศลจริยามีทานเป็นต้น.
แต่ปุโรหิตของพระองค์ มีปกติรีดเลือดเนื้อประชาชน กินสินบน
วินิจฉัยอรรถคดีโดยอยุติธรรม.
ในวันอุโบสถตรัสสั่งให้ประชาชนมีอามาตย์เป็นต้นมาเฝ้ า แล้วตรัสสั่งว่า
พวกท่านทั้งหลายจงมารักษาอุโบสถ. ปุโรหิตก็ไม่ยอมสมาทานอุโบสถ คราวนั้น
เมื่อพระราชากาลังทรงซักถามพวกอามาตย์ว่า
ท่านทั้งหลายสมาทานอุโบสถละหรือ?
จึงตรัสถามปุโรหิตนั้นผู้รับสินบนและตัดสินอรรถคดีโดยอยุติธรรมในเวลากลางวั
นแล้วมาสู่ที่เฝ้ าว่า ท่านอาจารย์ ท่านสมาทานอุโบสถแล้วหรือ?
ปุโรหิตนั้นทูลคาเท็จว่า สมาทานแล้ว พะย่ะค่ะ แล้วลงจากปราสาทไป.
ครั้งนั้น อามาตย์ผู้หนึ่งท้วงว่า ท่านไม่ได้สมาทานอุโบสถมิใช่หรือ?
ปุโรหิตนั้นพูดแก้ตัวว่า ข้าพเจ้าบริโภคอาหารเฉพาะในเวลาเท่านั้น
และข้าพเจ้ากลับไปเรือนแล้ว จักบ้วนปากอธิษฐานอุโบสถ
ไม่บริโภคอาหารในเวลาเย็น ข้าพเจ้าจักรักษาอุโบสถศีลในเวลากลางคืน
ด้วยอาการอย่างนี้ ข้าพเจ้าก็จักมีอุโบสถกรรมกึ่งหนึ่ง.
อามาตย์ผู้นั้นกล่าวว่า ดีละขอรับ ท่านอาจารย์.
เขากลับเรือนแล้วก็ได้กระทาอย่างนั้น.
5
อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อปุโรหิตนั้นนั่งอยู่ในศาล.
สตรีผู้มีศีลคนหนึ่งมายื่นฟ้ องคดี เมื่อไม่ได้โอกาสที่จะกลับไปเรือนจึงคิดว่า
เราจักไม่ละเลยอุโบสถกรรม พอใกล้เวลา นางจึงเริ่มบ้วนปาก.
ขณะนั้น มีผู้นาผลมะม่วงสุกมาให้พราหมณ์ปุโรหิตพวงหนึ่ง.
พราหมณ์ปุโรหิตรู้ว่า หญิงนั้นจะสมาทานอุโบสถ จึงหยิบมะม่วงส่งให้
พร้อมกับพูดว่า
เจ้าจงรับประทานมะม่วงสุกเหล่านี้ก่อนแล้วจึงสมาทานอุโบสถเถิด.
หญิงนั้นก็ได้กระทาตามนั้น. กุศลกรรมของพราหมณ์ปุโรหิตมีเพียงเท่านี้.
ในเวลาต่อมา พราหมณ์ปุโรหิตนั้นทากาลกิริยาแล้ว
ได้ไปบังเกิดเหนือสิริไสยาสน์ อันอลงกตในวิมานทองอันงามเรืองรอง
มีภูมิภาคเป็นรมณียสถาน ในสวนอัมพวัน มีบริเวณ ๓ โยชน์
ใกล้ฝั่งน้าโกสิกิคงคานทีในหิมวันตประเทศ ดุจคนที่หลับแล้วตื่นขึ้น
มีเรือนร่างอันประดับตกแต่งดีแล้ว
ทรงรูปโฉมงามสง่าแวดล้อมด้วยนางเทพกัญญาหมื่นหกพันเป็ นบริวาร.
เขาได้เสวยสิริสมบัตินั้น เฉพาะในเวลากลางคืนเท่านั้น.
ความจริง เทพบุตรนั้นได้เสวยวิบากผลสมกับกรรมที่ตนทาไว้
โดยภาวะเป็ นเวมานิกเปรต เพราะฉะนั้น เมื่อเวลาอรุณขึ้น
เขาจะต้องไปสู่สวนอัมพวัน. ในขณะที่ย่างเข้าไปสู่สวนอัมพวันเท่านั้น
อัตภาพอันเป็นทิพย์ของเขาก็อันตรธานไป เกิดอัตภาพประมาณเท่าลาตาล สูง
๘๐ ศอกแทน ไฟติดทั่วร่างกาย เป็ นเหมือนดอกทองกวาวที่บานเต็มที่ฉะนั้น
นิ้วแต่ละนิ้วที่มือทั้งสองข้าง มีเล็บโตประมาณเท่าจอบใหญ่.
เขาเอาเล็บเหล่านั้นกรีดจิกควักเนื้อข้างหลังของตนออกมากิน
เสวยทุกขเวทนาร้องโอดครวญอยู่.
เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว ร่างนั้นก็อันตรธานไป
ร่างอันเป็ นทิพย์ก็เกิดขึ้นแทน.
เหล่านางฟ้ อนอันเป็ นทิพย์ผู้ประดับตกแต่งแล้วด้วยทิพพาลังการ
ต่างถือดุริยางดนตรีมาห้อมล้อมบาเรอ
เมื่อจะเสวยมหาสมบัติก็ขึ้นไปยังปราสาทอันเป็ นทิพย์
ในสวนอัมพวันอันเป็ นรมณียสถาน. เวมานิกเปรตนั้นได้เฉพาะซึ่งสวนอัมพวัน
อันมีปริมณฑล ๓ โยชน์ ด้วยผลแห่งการให้ผลมะม่วงแก่สตรีผู้สมาทานอุโบสถ
แต่เพราะผลแห่งการกินสินบน ตัดสินคดีโดยอยุติธรรม
จึงต้องจิกควักเนื้อหลังของตนกิน
และเพราะผลแห่งอุโบสถกรรมกึ่งหนึ่งจึงได้เสวยยศอันเป็ นทิพย์แวดล้อมด้วยหญิ
งฟ้ อนหมื่นหกพันเป็ นบริวารบารุงบาเรอด้วยประการฉะนี้.
กาลนั้น
6
พระเจ้าพาราณสีเห็นโทษในกามารมณ์จึงเสด็จออกทรงผนวชเป็นดาบส
ให้กระทาบรรณศาลาที่ภูมิประเทศอันน่ารื่นรมย์ประทับอยู่
ยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยอุญฉาจริยวัตร (เที่ยวภิกษาเลี้ยงชีวิต).
อยู่มาวันหนึ่ง ผลมะม่วงสุกโตประมาณเท่าหม้อเขื่องๆ
ตกมาจากสวนอัมพวันนั้น ลอยมาตามกระแสแม่น้าคงคา
มาถึงตรงท่าน้าซึ่งเป็ นที่บริโภคใช้สอยของพระดาบสนั้น.
พระดาบสกาลังล้างปากอยู่ เหลือบเห็นผลมะม่วงสุกนั้นลอยมากลางน้า
จึงลงว่ายน้าเก็บมานาไปอาศรมบท เก็บไว้ในเรือนไฟ
ผ่าด้วยมีดแล้วฉันพอเป็นเครื่องประทังชีวิต ส่วนที่เหลือเอาใบตองปิดไว้
แล้วต่อมาก็ฉันผลมะม่วงนั้นทุกๆ วันจนหมด.
เมื่อมะม่วงสุกผลนั้นหมดแล้ว ก็ไม่อยากฉันผลไม้อื่นๆ เพราะติดรส
จึงตั้งใจว่า จักฉันเฉพาะผลมะม่วงสุกชนิดนั้น จึงไปนั่งคอยดูอยู่ที่ริมแม่น้า
ตกลงใจว่า ถ้าไม่ได้ผลมะม่วงสุกจักไม่ยอมลุกขึ้น.
ดาบสนั้นไม่ยอมขบฉัน สู้นั่งคอยดูผลมะม่วงอยู่ที่ริมน้านั้นถึง ๖ วัน
จนร่างกายซูบซีดเพราะลมและแดดแผดเผา
ครั้นถึงวันที่เจ็ด นางเทพธิดาผู้รักษาแม่น้าพิจารณาดูรู้เหตุนั้น
แล้วคิดว่า พระดาบสผู้นี้เป็นผู้ตกอยู่ในอานาจของความอยาก สู้อดอาหารถึง ๗
วัน มานั่งคอยดูแม่น้าคงคา
การที่เราจะไม่ถวายผลมะม่วงสุกแก่ดาบสนี้ไม่สมควรเลย
เมื่อดาบสนี้ไม่ได้ผลมะม่วงสุกคงจักมรณภาพ
เราจักถวายแก่ท่านจึงมายืนบนอากาศเหนือแม่น้าคงคา
เมื่อจะสนทนากับดาบสนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า
ดูก่อนพราหมณ์ ท่านมีความพอใจอะไร ประสงค์อะไร
ปรารถนาอะไร แสวงหาอะไร จึงมานั่งอยู่แต่ผู้เดียวในเวลาร้อน เพราะเหตุไร
ท่านจึงมานั่งดูแม่น้า.
นางเทพธิดากล่าวเรียกดาบสนั้นว่า "พราหมณ์" เพราะบวชแล้ว.
ท่านอธิบายไว้ว่า ดูก่อนพราหมณ์ ท่านประสงค์อะไร คิดถึงอะไร ปรารถนาอะไร
แสวงหาอะไร เพราะต้องการอะไร ท่านจึงมาแลดูแม่น้าอยู่ที่ฝั่งคงคานี้
พระดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถา ๑๐ คาถาความว่า
หม้อน้าใหญ่มีรูปทรงงดงามฉันใด
ผลมะม่วงสุกอันมีสีกลีบและรสดีเยี่ยมก็มีอุปไมยฉันนั้น
เราได้เห็นผลมะม่วงนั้นอันกระแสน้าพัดลอยมาท่ามกลางแม่น้า
จึงได้หยิบเอามาเก็บไว้ในเรือนไฟ
แต่นั้นก็วางไว้บนใบตอง ทาวิกัปด้วยมีดเองแล้วก็ฉัน
ความหิวและความระหายของเราก็หายไป.
7
เราหมดความกระวนกระวายใจ พอมะม่วงหมด
เราต้องอดทนต่อความทุกข์ ย่อมไม่ได้ประสบความพอใจในผลไม้ไรๆ อื่น.
ผลมะม่วงใดเกิดมีแก่ข้าพเจ้า ผลมะม่วงนั้นมีรสอร่อยเป็นเลิศ
เป็นที่น่ารื่นรมย์ใจ คงจักนาความตายมาแก่ข้าพเจ้าแน่ เพราะซูบผอม
เนื่องจากอดอาหาร.
ข้าพเจ้าเก็บผลมะม่วงสุกอันลอยมาจากทะเลในห้วงมหรรณพได้
ข้าพเจ้าเข้าใจว่าผลมะม่วงสุกนั้นคงจักนาความตายมาแก่ข้าพเจ้า
ข้าพเจ้าต้องมานั่งอยู่ที่นี่เพราะเหตุใด เหตุนั้นทั้งหมดข้าพเจ้าบอกท่านแล้ว.
ข้าพเจ้านั่งอยู่เฉพาะแม่น้าอันน่ารื่นรมย์
แม่น้านี้กว้างขวางมีปลาโลมาใหญ่อาศัยอยู่ น่าจะพึงมีความสบาย
ข้าแต่ท่านผู้ยืนอยู่เฉพาะหน้าแห่งเราไม่หนีไป ท่านจงบอกความนั้นแก่เราเถิด.
ดูก่อนท่านผู้มีร่างกายอันสันทัดงามดี
ท่านผู้มีร่างอันงามเช่นกับด้วยทองใบทั้งแผ่น หรือดุจนางพยัคฆี
ที่สัญจรไปตามซอกเขา ท่านเป็นใคร หรือว่าท่านมาที่นี่เพื่ออะไร.
เทพนารีทั้งหลายในเทวโลก
ซึ่งเป็ นบริจาริกาแห่งทวยเทพในฉกามาพจรสวรรค์ มีอยู่เหล่าใด
หรือสตรีมีรูปงามในมนุษยโลกเหล่าใด
เทพนารีและสตรีทั้งหลายเหล่านั้นในหมู่เทวดาคนธรรพ์และมนุษย์
ไม่มีที่จะเสมอเหมือนท่านด้วยรูป
ท่านผู้มีตะโพกอันงามประหนึ่งทอง เราถามท่านแล้ว
ขอจงบอกชื่อและเผ่าพันธุ์เถิด.
ลาดับนั้น นางเทพธิดาได้กล่าวคาถา ๘ คาถาความว่า
ดูก่อนพราหมณ์ดาบส ท่านนั่งอยู่
เฉพาะแม่น้าโกสิกิคงคาอันน่ารื่นรมย์ใด โกสิกิคงคานั้น มีกระแสอันเชียว
เป็นห้วงน้าใหญ่ ข้าพเจ้าสิงสถิตอยู่ในวิมานอันตั้งอยู่ที่แม่น้านั้น.
มีลาห้วย และลาธาร
ไหลมาจากเขาหลายแห่งเกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่ไม้นานาพรรณ
ย่อมไหลตรงมารวมอยู่ที่ข้าพเจ้าทั้งนั้น.
ใช่แต่เท่านั้น ยังมีน้าที่ไหลมาจากป่า มีกระแสไหลเชี่ยว สีเขียวปัด
อีกมากหลาย และน้าที่พวกนาคกระทาให้มีสีวิจิตรต่างๆ
ย่อมไหลมาตามกระแสน้า.
แม่น้าเหล่านั้นย่อมพัดเอาผลมะม่วง ผลชมพู่ ผลขนุนสามะลอ
ผลกระทุ่ม ผลตาล และผลมะเดื่อเป็นอันมากมาเนืองๆ.
ผลไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ฝั่งทั้งสองตกลงในน้าแล้ว
ผลไม้นั้นย่อมเป็นไปในอานาจแห่งกระแสน้าของข้าพเจ้า โดยไม่ต้องสงสัย.
8
ดูก่อนท่านผู้เป็นปราชญ์ มีปัญญามาก ผู้เป็นใหญ่กว่านรชน
ท่านรู้อย่างนี้แล้ว จงฟังข้าพเจ้า
ท่านอย่าพอใจความเกี่ยวเกาะด้วยตัณหาอย่างนี้เลย จงเลิกคิดเสียเถิด.
ดูก่อนพระราชฤาษีผู้ยังรัฐให้เจริญ ข้าพเจ้าไม่เข้าใจว่า
ท่านจะเจริญรุ่งเรืองไปได้อย่างไร เมื่อท่านซูบผอมรอความตายอยู่.
พรหม คนธรรพ์ เทวดา และฤาษีทั้งหลายในโลกนี้
ผู้มีตนอันสารวมแล้ว เรืองตบะ เริ่มตั้งความเพียร
ผู้เรืองยศย่อมรู้ความที่ท่านตกอยู่ในอานาจแห่งตัณหา อย่างไม่ต้องสงสัยเลย.
เมื่อนทีเทพธิดาจะให้ดาบสนั้นเกิดความสังเวช จึงกล่าวอย่างนี้ว่า
พรหมผู้ที่ถึงการนับว่าเป็นบิดา คนธรรพ์พร้อมทั้งกามาวจรเทพยดา
และฤาษีผู้มีจักษุทิพย์ดังที่กล่าวมาแล้ว
ย่อมรู้ความที่บุคคลนั้นเป็นผู้ตกอยู่ในอานาจตัณหาโดยไม่ต้องสงสัย
แต่ข้อที่ท่านผู้มีฤทธิเหล่านั้นรู้ว่า
ดาบสชื่อโน้นเป็นผู้ตกอยู่ในอานาจของตัณหาดังนี้ ไม่น่าอัศจรรย์
ถึงปริจาริกชนของฤาษีผู้เริ่มตั้งความเพียร ผู้ยงยศเหล่านั้น
ก็จะรู้เพราะฟังคาของชนเหล่านั้นพูดกันอยู่อีก
เพราะขึ้นชื่อว่าความลับของบุคคลผู้ทาความชั่ว ย่อมไม่มี.
ลาดับนั้น พระดาบสได้กล่าวคาถา ๔ คาถาความว่า
บาปย่อมไม่เจริญแก่นรชนผู้รู้จักศีลและความไม่เที่ยง
ดารงอยู่เหมือนเราฉะนั้น ซึ่งรู้ธรรมทั้งปวง รู้ความสลายและความจุติแห่งชีวิต
ถ้านระนั้นไม่คิดฆ่าบุคคลอื่นผู้มีความสุข.
ดูก่อนท่านผู้อันหมู่ฤาษีรู้กันทั่วแล้ว
ท่านเป็นผู้อันชนผู้ลอยบาปรู้แจ้งแล้วว่า เป็ นผู้เกื้อกูลแก่โลก
แต่ต้องปรารถนาบาปกรรมแก่ตน เพราะใช้คาบริภาษอันไม่ประเสริฐไพเราะ.
ดูก่อนท่านผู้มีตะโพกอันผึ่งผาย ถ้าเราจักตายอยู่ที่ริมฝั่งน้าของท่าน
เมื่อเราตายไปแล้ว ความติเตียนก็จักมาถึงท่านโดยไม่ต้องสงสัย.
ดูก่อนท่านผู้มีสะเอวอันกลมกลึง เพราะฉะนั้นแล
ท่านจงรักษาบาปกรรมไว้เถิด อย่าให้คนทั้งปวงติเตียนท่านได้ในภายหลัง
ในเมื่อเราตายไปแล้ว.
นางเทพธิดาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถา ๕ คาถาความว่า
เหตุนั้นข้าพเจ้าทราบแล้วท่านจงอดกลั้นไว้ก่อน
ข้าพเจ้าจะยอมตนและให้มะม่วงแก่ท่าน เพราะท่านละกามคุณที่ละได้ยาก
แล้วตั้งไว้ซึ่งความสงบและสุจริตธรรม.
บุคคลใดละสังโยชน์ในก่อนได้ แล้วภายหลังมาตั้งอยู่ในสังโยชน์
ประพฤติอธรรมอยู่ บาปย่อมเจริญแก่บุคคลนั้น.
9
มาเถิด ข้าพเจ้าจะนาท่านไปยังสวนมะม่วง
ท่านจงเป็ นผู้มีความขวนขวายน้อยโดยส่วนเดียวเถิด
ข้าพเจ้าจักนาท่านไปในสวนมะม่วงอันร่มเย็น ท่านจงเป็ นผู้ไม่ขวนขวายอยู่เถิด.
ดูก่อนท่านผู้ปราบปรามข้าศึก สวนนั้นเกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่นก
ที่มัวเมาอยู่ในรสดอกไม้ มีนกกระเรียน นกยูง นกเขา ซึ่งมีสร้อยคออันน่าชม
มีหมู่หงส์ส่งเสียงร้องขรม
ฝูงนกดุเหว่าที่ร้องปลุกสัตว์ทั้งหลายอยู่ในสวนมะม่วงนั้น.
ผลมะม่วงในสวนนั้นดกเป็นพวงๆ ดุจฟ่อนฟาง ปลายกิ่งห้อยโน้มลงมา
มีทั้งต้นคา ต้นสน ต้นกระทุ่มและผลตาลสุกห้อยอยู่เรียงราย.
ก็แหละครั้นนางเทพธิดาพรรณนา
แล้วพาพระดาบสมาในสวนอัมพวัน แล้วสั่งว่า
ท่านโปรดขบฉันผลมะม่วงทั้งหลาย
ยังความอยากของตนให้เต็มบริบูรณ์ในสวนอัมพวันนี้ แล้วหลีกไป.
ครั้นพระดาบสขบฉันผลมะม่วงจนอิ่มสมอยากแล้ว พักผ่อนแล้ว
จึงเที่ยวไปในสวนอัมพวัน พบเห็นเปรตนั้นกาลังเสวยทุกข์
(แต่)ไม่สามารถจะพูดอะไรได้ แต่เมื่อพระอาทิตย์อัสดงแล้ว
เห็นเปรตนั้นมีหญิงฟ้ อนแวดล้อมบาเรอ เสวยทิพยสมบัติอยู่
จึงกล่าวคาถา ๓ คาถา ความว่า
ท่านทรงทิพมาลา ผ้าโพกศีรษะ และเครื่องอาภรณ์ล้วนแต่เป็ นทิพย์
มีทองต้นแขน ลูบไล้ด้วยจุรณจันทน์ กลางคืนมีหญิง ๑๖,๐๐๐
คนเป็นปริจาริกาบาเรอท่านอยู่ แต่กลางวันต้องเสวยทุกขเวทนา.
หญิงเหล่านี้ได้เป็ นปริจาริกาของท่าน มีถึง ๑๖,๐๐๐ นาง
ท่านมีอานุภาพมากอย่างนี้ ไม่เคยมีในมนุษยโลก น่าขนพองสยองเกล้า.
ในปุริมภพ ท่านทาบาปกรรมอะไรไว้ จึงต้องนาทุกขเวทนามาสู่ตน
ท่านทากรรมอะไรไว้ในมนุษยโลก จึงต้องเคี้ยวกินเนื้อหลังของตนเองในบัดนี้.
เปรตจาพระดาบสได้จึงทูลว่า พระองค์คงจาข้าพระพุทธเจ้าไม่ได้
ข้าพระพุทธเจ้า คือผู้ที่ได้เป็นปุโรหิตของพระองค์
ข้าพระพุทธเจ้าต้องเสวยความสุขในกลางคืนนี้
เพราะผลแห่งอุโบสถกึ่งหนึ่งที่ตนได้ทามา เพราะอาศัยพระองค์
แต่ที่ได้เสวยทุกขเวทนาในเวลากลางวัน
เพราะผลแห่งบาปกรรมที่ทาไว้แล้วเหมือนกัน
แท้จริง ข้าพระพุทธเจ้าอันพระองค์ทรงตั้งไว้ในตาแหน่งผู้พิพากษา
ได้ชาระคดีโดยอยุติธรรมรับสินบน ขูดเลือดเนื้อประชาชนทางเบื้องหลัง
เพราะผลแห่งกรรมที่ทาไว้นั้น ตอนกลางวัน
ข้าพระพุทธเจ้าจึงได้เสวยทุกขเวทนานี้
10
แล้วกล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า
ข้าพเจ้าเรียนจบไตรเพท หมกมุ่นอยู่ในกามทั้งหลาย
ได้ประพฤติเพื่อความฉิบหายมิใช่ประโยชน์แก่ชนเหล่าอื่นตลอดกาลนาน.
บุคคลใดเป็นผู้ขูดเลือดเนื้อผู้อื่น บุคคลนั้นย่อมต้องควักเนื้อของตนกิน
เช่นเดียวกับข้าพระพุทธเจ้ากินเนื้อหลังของตนอยู่จนทุกวันนี้.
ก็แลครั้นเปรตกราบทูลอย่างนี้แล้ว จึงทูลถามพระดาบสว่า
พระองค์เสด็จมาในที่นี้ได้อย่างไร? พระดาบสเล่าเรื่องทั้งหมดให้ฟังโดยพิสดาร.
เปรตทูลถามอีกว่า ก็บัดนี้พระองค์จะประทับอยู่ในที่นี้ต่อไป
หรือจักเสด็จไปที่อื่น?
พระดาบสตรัสตอบว่า เราหาอยู่ไม่ จักกลับไปสู่อาศรมบทนั่นเทียว.
เปรตทูลว่า ดีละพระเจ้าข้า
ข้าพระพุทธเจ้าจักบารุงพระองค์ด้วยผลมะม่วงสุกเป็นประจา
แล้วนาพระดาบสไปในอาศรมบทด้วยอานุภาพของตน ทูลขอปฏิญญาว่า
ขอพระองค์อย่าได้มีความกระสัน ประทับอยู่ในที่นี้เถิด แล้วทูลลาไป
ตั้งแต่นั้นมา เปรตนั้นก็บารุงพระดาบสด้วยผลมะม่วงสุกเป็นนิตย์.
พระดาบสเมื่อได้ฉันผลมะม่วงสุกนั้น ก็กระทากสิณบริกรรม
ยังฌานและอภิญญาให้บังเกิด แล้วได้เป็ นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า.
พระบรมศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแก่อุบาสกอุบาสิกา
ทั้งหลายแล้ว
ทรงประกาศอริยสัจธรรม ในที่สุดแห่งอริยสัจเทศนา
บางพวกได้เป็ นพระโสดาบัน บางพวกได้เป็นพระสกทาคามี
บางพวกได้เป็ นพระอนาคามี
ทรงประชุมชาดกว่า
นางเทพธิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็น ภิกษุณีอุบลวรรณา
ส่วนดาบสได้มาเป็น เราผู้ตถาคต ฉะนี้แล.
จบอรรถกถากิงฉันทชาดกที่ ๑
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
maruay songtanin
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
maruay songtanin
 
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
maruay songtanin
 
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

Similar to 511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf๐๕. มโหสธชาดก.pdf
๐๕. มโหสธชาดก.pdf
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
407 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๔. วิหารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
154 อุรคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
440 กัณหชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
506 จัมเปยยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
413 ธูมการิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
172 ทัททรชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
465 ภัททสาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
330 สีลวีมังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
333 โคธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
329 กาฬพาหุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
303 เอกราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

More from maruay songtanin

๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
maruay songtanin
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
maruay songtanin
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๖. อภิชชมานเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๕. อุพพรีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๒๓. สุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๒๒. อุตตรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๒๑. อังกุรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๒๐. จูฬเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๙. ธนปาลเสฏฐิเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๘. กัณหเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๗. มัฏฐกุณฑลีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๖. นันทาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๑๕. มัตตาเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
๑๔. สารีปุตตเถรมาตุเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉ...
 
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
๑๓. สังสารโมจกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมห...
 
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๑๒. อุรคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
๑๑. นาคเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๑๐. ขัลลาฏิยเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๙. มหาเปสการเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๘. โคณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๗. สัตตปุตตขาทิกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 

511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๑๖. ติงสตินิบาต ๑. กิงฉันทชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๕๑๑) ว่าด้วยดาบสผู้มีความพอใจอะไร (เทพธิดาผู้รักษาแม่น้ากล่าวกับกิงฉันทดาบสว่า) [๑] ท่านพราหมณ์ ท่านพอใจ (พอใจ หมายถึงอัธยาศัย) อะไร ประสงค์อะไร ปรารถนาอะไร แสวงหาอะไรอยู่ และเพราะต้องการอะไร จึงมาอยู่แต่ผู้เดียวในฤดูร้อน (ดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวว่า) [๒] หม้อน้าใบใหญ่มีทรวดทรงงดงามฉันใด มะม่วงสุกที่อุดมไปด้วยสี กลิ่น และรสก็อุปไมยได้ฉันนั้น [๓] มะม่วงนั้นลอยมาตามกระแสน้าท่ามกลางสายน้าใส อาตมาเห็นเข้าจึงยื่นมือไปเก็บมัน นามาเก็บไว้ในโรงบูชาไฟ [๔] แต่นั้นอาตมาเองวางมะม่วงไว้บนใบตอง ใช้มีดฝานแล้วฉัน มะม่วงนั้นระงับความหิวกระหายของอาตมาแล้ว [๕] อาตมานั้นปราศจากความกระวนกระวาย ผลมะม่วงหมดไป ก็ได้แต่ข่มความทุกข์ ยังไม่ประสบผลไม้อย่างอื่นชนิดใดชนิดหนึ่งเลย [๖] มะม่วงสุกผลใดมีรสอร่อย มีรสเป็นเลิศ น่าพอใจ ลอยมาในห้วงมหรรณพ อาตมาเก็บขึ้นมาจากทะเล มะม่วงสุกผลนั้นทาอาตมาให้ซูบผอม จักนาความตายมาให้อาตมาแน่นอน [๗] อาตมาเฝ้ าประจาอยู่เพราะเหตุใด เหตุนั้นทั้งหมด อาตมาได้บอกแก่ท่านแล้ว อาตมานั่งเฝ้ าอยู่เฉพาะแม่น้าสายที่น่ารื่นรมย์ แม่น้าสายนี้กว้างใหญ่ไพศาล ขวักไขว่ไปด้วยปลาโลมาตัวใหญ่ๆ [๘] แม่นางผู้ไม่แอบแฝงตน แม่นางนั้นแหละจงบอกแก่อาตมาเถิด แม่นางผู้มีเรือนร่างสง่างาม นางเป็นใครกัน และมาที่นี่เพราะเหตุอะไร [๙] เทพนารีเหล่าใดผู้มีเรือนร่างประดุจแผ่นทองคาที่ขัดสีดีแล้ว หรือประดุจนางพยัคฆ์ที่เกิดอยู่ตามซอกเขา เป็นปริจาริกาของเทพ มีอยู่ในโลก [๑๐] และสตรีรูปงามเหล่าใดมีอยู่ในมนุษยโลก บรรดาเทพนารี คนธรรพ์ และหญิงมนุษย์ สตรีเหล่านั้นไม่มีรูปร่างเช่นกับแม่นาง แม่นางผู้มีลาขาอ่อนกลมกลึงประดุจแท่งทอง อาตมาถามแล้ว ขอแม่นางจงบอกนาม และเผ่าพันธุ์แก่อาตมาด้วยเถิด (เทพธิดากล่าวว่า)
  • 2. 2 [๑๑] ท่านพราหมณ์ ท่านนั่งเฝ้ าอยู่เฉพาะ แม่น้าโกสิกีอันน่ารื่นรมย์สายใด ข้าพเจ้าอยู่ที่วิมานมีกระแสน้าเชี่ยว ซึ่งเป็ นห้วงน้าใหญ่สายนั้น [๑๒] ลาธารจากภูเขาจานวนมาก ดื่นดาษไปด้วยหมู่ไม้นานาพันธุ์ ไหลรวมกัน ตรงมาหาข้าพเจ้า [๑๓] อนึ่ง ธารน้าจากแนวป่า ก่อตัวเป็ นห้วงวารีสีเขียว และธารน้าอันเป็ นที่ปลื้มใจแห่งพวกนาคเป็นจานวนมาก ไหลมาท่วมข้าพเจ้าด้วยห้วงวารี [๑๔] สายน้าเหล่านั้นย่อมพัดพาผลไม้หลายชนิด คือ มะม่วง ผลหว้า ขนุนสาปะลอ กระทุ่ม ผลตาล และมะเดื่อมาเนืองๆ [๑๕] ผลไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ฝั่งแม่น้าทั้ง ๒ หล่นลงไปในน้า ผลไม้นั้นย่อมลอยไปตามอานาจกระแสน้าโดยไม่ต้องสงสัย [๑๖] พระองค์ผู้จอมชนเป็ นปราชญ์ มีปัญญามาก ขอพระองค์จงสดับคาของข้าพเจ้า พระองค์ทราบอย่างนี้แล้ว อย่าทรงพอพระทัยความเกาะเกี่ยว (หมายถึงเกาะเกี่ยวด้วยอานาจตัณหา) ทรงปฏิเสธเสียเถิด [๑๗] พระราชฤๅษีผู้ผดุงแคว้นให้เจริญ ข้าพเจ้าไม่เข้าใจความเป็นบัณฑิตของพระองค์เลย ซึ่งพระองค์กาลังทรงพระเจริญวัย แต่กลับหวังความตาย [๑๘] พระบิดา คนธรรพ์ พร้อมทั้งเทวดา ย่อมทราบความที่พระองค์ตกอยู่ในอานาจแห่งตัณหา อนึ่ง ฤๅษีทั้งหลายเหล่าใดในโลก ผู้สารวมตน มีตบะ ผู้เริ่มตั้งความเพียร มียศ ฤๅษีแม้เหล่านั้นก็ย่อมทราบโดยไม่ต้องสงสัย (ต่อแต่นั้น ดาบสได้กล่าวว่า) [๑๙] บาปย่อมไม่เจริญแก่นรชนผู้รู้ เพราะรู้ธรรมทั้งปวง รู้ความแตกสลาย และรู้การจุติแห่งชีวิต ถ้าเขาไม่จงใจจะฆ่าผู้อื่น [๒๐] แม่นางผู้ที่หมู่ฤๅษีรู้จักกันดี เธอเป็นคนที่ผู้ลอยบาปรู้แจ้งชัดว่า เป็นผู้เกื้อกูลแก่ชาวโลก แม่นางผู้มีความงาม เธอย่อมแสวงหาบาปกรรม เพราะเจรจาถ้อยคาที่ไม่ประเสริฐ [๒๑] แม่นางผู้มีสะโพกงามผึ่งผาย ถ้าอาตมาจักตายที่ริมฝั่งน้าของเธอ ชื่อเสียงอันเลวทรามจักมาถึงเธอโดยไม่ต้องสงสัย เมื่ออาตมาล่วงลับไปแล้ว [๒๒] เพราะเหตุนั้นแล แม่นางผู้มีเรือนร่างอันสวยงาม เธอจงระวังบาปกรรม เมื่ออาตมาตายไปแล้ว ขอชนทั้งปวงอย่าได้กล่าวติเตียนเธอในภายหลังเลย (เทพธิดาได้สดับดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าวว่า)
  • 3. 3 [๒๓] เหตุนั้นข้าพเจ้าได้ทราบแล้ว ขอพระองค์ทรงอดกลั้นสิ่งที่อดกลั้นได้ยากเถิด ข้าพเจ้ายอมถวายตนและผลมะม่วงนั้นแก่พระองค์ ผู้ทรงละกามคุณที่ละได้ยาก ดารงสันติและธรรม (สันติ หมายถึงศีลกล่าวคือความสงบจากความทุศีล ธรรม หมายถึงสุจริตธรรม) ไว้อย่างมั่นคง [๒๔] ผู้ใดละสังโยชน์อันเป็ นส่วนเบื้องต้นได้ แต่ยังติดอยู่ในสังโยชน์อันเป็ นส่วนเบื้องปลาย ประพฤติอธรรมอยู่นั่นเทียว บาปย่อมเจริญแก่ผู้นั้น [๒๕] เชิญเสด็จมาเถิด ข้าพเจ้าจะช่วยพระองค์ ขอพระองค์ทรงขวนขวายน้อยโดยส่วนเดียวเถิด ข้าพเจ้าจะนาพระองค์ไปที่สวนมะม่วงอันร่มเย็น ขอพระองค์ปราศจากความขวนขวายอยู่เถิด [๒๖] ขอเดชะพระองค์ผู้ทรงข่มอริราชศัตรู สวนมะม่วงนั้นเซ็งแซ่ไปด้วยหมู่นกที่มัวเมาด้วยรสดอกไม้ ทิพยสกุณปักษี คือ นกกระเรียน นกยูง นกเขา และนกสาลิกาก็มีอยู่ในสวนมะม่วงนี้ และในสวนนี้ยังมีฝูงหงส์ส่งเสียงร้องระงม นกดุเหว่าเร่าร้องกึกก้องปลุกเหล่าสัตว์ให้ตื่นอยู่ [๒๗] ณ สวนมะม่วงนี้ ต้นมะม่วงทั้งหลายมีปลายกิ่งโน้มลง ด้วยพวงผลดกดื่นเช่นรวงข้าวสาลี มีทั้งต้นคา ต้นสน ต้นกระทุ่ม และผลตาลสุกห้อยย้อยอยู่เรียงราย (ดาบสเห็นเปรตเสวยทิพยสมบัติในเวลาดวงอาทิตย์ตก จึงได้กล่าวว่า) [๒๘] เธอผู้ประดับมาลา โพกภูษา ประดับอาภรณ์ สวมใส่กาไลมือกาไลแขน มีร่างกายฟุ้ งไปด้วยจุรณแก่นจันทน์ ถูกบาเรอตลอดคืน ส่วนกลางวันเสวยเวทนา [๒๙] เธอมีหญิง ๑๖,๐๐๐ นางเป็นนางบาเรอ มีอานุภาพมากอย่างนี้ ยังไม่เคยมี น่าขนพองสยองเกล้า [๓๐] ในภพก่อนเธอได้ทาบาปกรรมอะไรที่นาทุกข์มาให้ตน เธอทากรรมอะไรไว้ในมนุษย์ทั้งหลาย จึงต้องมากัดกินเนื้อหลังของตน (เปรตจาดาบสนั้นได้ จึงกล่าวว่า) [๓๑] ข้าพระองค์ได้เล่าเรียนพระเวท หมกมุ่นอยู่ในกามทั้งหลาย ได้ประพฤติสิ่งไม่เป็ นประโยชน์แก่ชนเหล่าอื่นตลอดกาลนาน [๓๒] ผู้หากินบนหลังคนอื่นต้องควักเนื้อหลังของตนกิน เหมือนข้าพระองค์วันนี้ต้องกัดกินเนื้อหลังของตนเอง กิงฉันทชาดกที่ ๑ จบ -----------------------
  • 4. 4 คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา กิงฉันทชาดก ว่าด้วย โทษที่ฉกฉวยเอาประโยชน์ของคนอื่น พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภอุโบสถกรรม ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. ความย่อว่า วันหนึ่ง พระศาสดาตรัสถามอุบาสก- อุบาสิกาเป็นอันมากผู้รักษาอุโบสถ ผู้มานั่งเพื่อจะฟังพระธรรมเทศนาอยู่ที่โรงธรรมสภาว่า ดูก่อนอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย พวกท่านรักษาอุโบสถหรือ? เมื่อเขากราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ท่านทั้งหลายทาการรักษาอุโบสถ จัดว่าได้ทาความดี โบราณกบัณฑิตทั้งหลายได้รับยศอันยิ่งใหญ่ ก็เพราะผลแห่งอุโบสถกรรมกึ่งหนึ่ง อันพวกอุบาสกอุบาสิกากราบทูลอาราธนา จึงทรงนาอดีตนิทานมาตรัสดังต่อไปนี้ ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ในพระนครพาราณสีโดยธรรม ทรงเป็นผู้มีศรัทธา ปสาทะ ไม่ประมาทในทานศีลและอุโบสถกรรม. ท้าวเธอมีตรัสสั่งแม้กะชนที่เหลือมีอามาตย์เป็นต้น ให้ตั้งมั่นในกุศลจริยามีทานเป็นต้น. แต่ปุโรหิตของพระองค์ มีปกติรีดเลือดเนื้อประชาชน กินสินบน วินิจฉัยอรรถคดีโดยอยุติธรรม. ในวันอุโบสถตรัสสั่งให้ประชาชนมีอามาตย์เป็นต้นมาเฝ้ า แล้วตรัสสั่งว่า พวกท่านทั้งหลายจงมารักษาอุโบสถ. ปุโรหิตก็ไม่ยอมสมาทานอุโบสถ คราวนั้น เมื่อพระราชากาลังทรงซักถามพวกอามาตย์ว่า ท่านทั้งหลายสมาทานอุโบสถละหรือ? จึงตรัสถามปุโรหิตนั้นผู้รับสินบนและตัดสินอรรถคดีโดยอยุติธรรมในเวลากลางวั นแล้วมาสู่ที่เฝ้ าว่า ท่านอาจารย์ ท่านสมาทานอุโบสถแล้วหรือ? ปุโรหิตนั้นทูลคาเท็จว่า สมาทานแล้ว พะย่ะค่ะ แล้วลงจากปราสาทไป. ครั้งนั้น อามาตย์ผู้หนึ่งท้วงว่า ท่านไม่ได้สมาทานอุโบสถมิใช่หรือ? ปุโรหิตนั้นพูดแก้ตัวว่า ข้าพเจ้าบริโภคอาหารเฉพาะในเวลาเท่านั้น และข้าพเจ้ากลับไปเรือนแล้ว จักบ้วนปากอธิษฐานอุโบสถ ไม่บริโภคอาหารในเวลาเย็น ข้าพเจ้าจักรักษาอุโบสถศีลในเวลากลางคืน ด้วยอาการอย่างนี้ ข้าพเจ้าก็จักมีอุโบสถกรรมกึ่งหนึ่ง. อามาตย์ผู้นั้นกล่าวว่า ดีละขอรับ ท่านอาจารย์. เขากลับเรือนแล้วก็ได้กระทาอย่างนั้น.
  • 5. 5 อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อปุโรหิตนั้นนั่งอยู่ในศาล. สตรีผู้มีศีลคนหนึ่งมายื่นฟ้ องคดี เมื่อไม่ได้โอกาสที่จะกลับไปเรือนจึงคิดว่า เราจักไม่ละเลยอุโบสถกรรม พอใกล้เวลา นางจึงเริ่มบ้วนปาก. ขณะนั้น มีผู้นาผลมะม่วงสุกมาให้พราหมณ์ปุโรหิตพวงหนึ่ง. พราหมณ์ปุโรหิตรู้ว่า หญิงนั้นจะสมาทานอุโบสถ จึงหยิบมะม่วงส่งให้ พร้อมกับพูดว่า เจ้าจงรับประทานมะม่วงสุกเหล่านี้ก่อนแล้วจึงสมาทานอุโบสถเถิด. หญิงนั้นก็ได้กระทาตามนั้น. กุศลกรรมของพราหมณ์ปุโรหิตมีเพียงเท่านี้. ในเวลาต่อมา พราหมณ์ปุโรหิตนั้นทากาลกิริยาแล้ว ได้ไปบังเกิดเหนือสิริไสยาสน์ อันอลงกตในวิมานทองอันงามเรืองรอง มีภูมิภาคเป็นรมณียสถาน ในสวนอัมพวัน มีบริเวณ ๓ โยชน์ ใกล้ฝั่งน้าโกสิกิคงคานทีในหิมวันตประเทศ ดุจคนที่หลับแล้วตื่นขึ้น มีเรือนร่างอันประดับตกแต่งดีแล้ว ทรงรูปโฉมงามสง่าแวดล้อมด้วยนางเทพกัญญาหมื่นหกพันเป็ นบริวาร. เขาได้เสวยสิริสมบัตินั้น เฉพาะในเวลากลางคืนเท่านั้น. ความจริง เทพบุตรนั้นได้เสวยวิบากผลสมกับกรรมที่ตนทาไว้ โดยภาวะเป็ นเวมานิกเปรต เพราะฉะนั้น เมื่อเวลาอรุณขึ้น เขาจะต้องไปสู่สวนอัมพวัน. ในขณะที่ย่างเข้าไปสู่สวนอัมพวันเท่านั้น อัตภาพอันเป็นทิพย์ของเขาก็อันตรธานไป เกิดอัตภาพประมาณเท่าลาตาล สูง ๘๐ ศอกแทน ไฟติดทั่วร่างกาย เป็ นเหมือนดอกทองกวาวที่บานเต็มที่ฉะนั้น นิ้วแต่ละนิ้วที่มือทั้งสองข้าง มีเล็บโตประมาณเท่าจอบใหญ่. เขาเอาเล็บเหล่านั้นกรีดจิกควักเนื้อข้างหลังของตนออกมากิน เสวยทุกขเวทนาร้องโอดครวญอยู่. เมื่อพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว ร่างนั้นก็อันตรธานไป ร่างอันเป็ นทิพย์ก็เกิดขึ้นแทน. เหล่านางฟ้ อนอันเป็ นทิพย์ผู้ประดับตกแต่งแล้วด้วยทิพพาลังการ ต่างถือดุริยางดนตรีมาห้อมล้อมบาเรอ เมื่อจะเสวยมหาสมบัติก็ขึ้นไปยังปราสาทอันเป็ นทิพย์ ในสวนอัมพวันอันเป็ นรมณียสถาน. เวมานิกเปรตนั้นได้เฉพาะซึ่งสวนอัมพวัน อันมีปริมณฑล ๓ โยชน์ ด้วยผลแห่งการให้ผลมะม่วงแก่สตรีผู้สมาทานอุโบสถ แต่เพราะผลแห่งการกินสินบน ตัดสินคดีโดยอยุติธรรม จึงต้องจิกควักเนื้อหลังของตนกิน และเพราะผลแห่งอุโบสถกรรมกึ่งหนึ่งจึงได้เสวยยศอันเป็ นทิพย์แวดล้อมด้วยหญิ งฟ้ อนหมื่นหกพันเป็ นบริวารบารุงบาเรอด้วยประการฉะนี้. กาลนั้น
  • 6. 6 พระเจ้าพาราณสีเห็นโทษในกามารมณ์จึงเสด็จออกทรงผนวชเป็นดาบส ให้กระทาบรรณศาลาที่ภูมิประเทศอันน่ารื่นรมย์ประทับอยู่ ยังอัตภาพให้เป็นไปด้วยอุญฉาจริยวัตร (เที่ยวภิกษาเลี้ยงชีวิต). อยู่มาวันหนึ่ง ผลมะม่วงสุกโตประมาณเท่าหม้อเขื่องๆ ตกมาจากสวนอัมพวันนั้น ลอยมาตามกระแสแม่น้าคงคา มาถึงตรงท่าน้าซึ่งเป็ นที่บริโภคใช้สอยของพระดาบสนั้น. พระดาบสกาลังล้างปากอยู่ เหลือบเห็นผลมะม่วงสุกนั้นลอยมากลางน้า จึงลงว่ายน้าเก็บมานาไปอาศรมบท เก็บไว้ในเรือนไฟ ผ่าด้วยมีดแล้วฉันพอเป็นเครื่องประทังชีวิต ส่วนที่เหลือเอาใบตองปิดไว้ แล้วต่อมาก็ฉันผลมะม่วงนั้นทุกๆ วันจนหมด. เมื่อมะม่วงสุกผลนั้นหมดแล้ว ก็ไม่อยากฉันผลไม้อื่นๆ เพราะติดรส จึงตั้งใจว่า จักฉันเฉพาะผลมะม่วงสุกชนิดนั้น จึงไปนั่งคอยดูอยู่ที่ริมแม่น้า ตกลงใจว่า ถ้าไม่ได้ผลมะม่วงสุกจักไม่ยอมลุกขึ้น. ดาบสนั้นไม่ยอมขบฉัน สู้นั่งคอยดูผลมะม่วงอยู่ที่ริมน้านั้นถึง ๖ วัน จนร่างกายซูบซีดเพราะลมและแดดแผดเผา ครั้นถึงวันที่เจ็ด นางเทพธิดาผู้รักษาแม่น้าพิจารณาดูรู้เหตุนั้น แล้วคิดว่า พระดาบสผู้นี้เป็นผู้ตกอยู่ในอานาจของความอยาก สู้อดอาหารถึง ๗ วัน มานั่งคอยดูแม่น้าคงคา การที่เราจะไม่ถวายผลมะม่วงสุกแก่ดาบสนี้ไม่สมควรเลย เมื่อดาบสนี้ไม่ได้ผลมะม่วงสุกคงจักมรณภาพ เราจักถวายแก่ท่านจึงมายืนบนอากาศเหนือแม่น้าคงคา เมื่อจะสนทนากับดาบสนั้น จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ความว่า ดูก่อนพราหมณ์ ท่านมีความพอใจอะไร ประสงค์อะไร ปรารถนาอะไร แสวงหาอะไร จึงมานั่งอยู่แต่ผู้เดียวในเวลาร้อน เพราะเหตุไร ท่านจึงมานั่งดูแม่น้า. นางเทพธิดากล่าวเรียกดาบสนั้นว่า "พราหมณ์" เพราะบวชแล้ว. ท่านอธิบายไว้ว่า ดูก่อนพราหมณ์ ท่านประสงค์อะไร คิดถึงอะไร ปรารถนาอะไร แสวงหาอะไร เพราะต้องการอะไร ท่านจึงมาแลดูแม่น้าอยู่ที่ฝั่งคงคานี้ พระดาบสได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถา ๑๐ คาถาความว่า หม้อน้าใหญ่มีรูปทรงงดงามฉันใด ผลมะม่วงสุกอันมีสีกลีบและรสดีเยี่ยมก็มีอุปไมยฉันนั้น เราได้เห็นผลมะม่วงนั้นอันกระแสน้าพัดลอยมาท่ามกลางแม่น้า จึงได้หยิบเอามาเก็บไว้ในเรือนไฟ แต่นั้นก็วางไว้บนใบตอง ทาวิกัปด้วยมีดเองแล้วก็ฉัน ความหิวและความระหายของเราก็หายไป.
  • 7. 7 เราหมดความกระวนกระวายใจ พอมะม่วงหมด เราต้องอดทนต่อความทุกข์ ย่อมไม่ได้ประสบความพอใจในผลไม้ไรๆ อื่น. ผลมะม่วงใดเกิดมีแก่ข้าพเจ้า ผลมะม่วงนั้นมีรสอร่อยเป็นเลิศ เป็นที่น่ารื่นรมย์ใจ คงจักนาความตายมาแก่ข้าพเจ้าแน่ เพราะซูบผอม เนื่องจากอดอาหาร. ข้าพเจ้าเก็บผลมะม่วงสุกอันลอยมาจากทะเลในห้วงมหรรณพได้ ข้าพเจ้าเข้าใจว่าผลมะม่วงสุกนั้นคงจักนาความตายมาแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าต้องมานั่งอยู่ที่นี่เพราะเหตุใด เหตุนั้นทั้งหมดข้าพเจ้าบอกท่านแล้ว. ข้าพเจ้านั่งอยู่เฉพาะแม่น้าอันน่ารื่นรมย์ แม่น้านี้กว้างขวางมีปลาโลมาใหญ่อาศัยอยู่ น่าจะพึงมีความสบาย ข้าแต่ท่านผู้ยืนอยู่เฉพาะหน้าแห่งเราไม่หนีไป ท่านจงบอกความนั้นแก่เราเถิด. ดูก่อนท่านผู้มีร่างกายอันสันทัดงามดี ท่านผู้มีร่างอันงามเช่นกับด้วยทองใบทั้งแผ่น หรือดุจนางพยัคฆี ที่สัญจรไปตามซอกเขา ท่านเป็นใคร หรือว่าท่านมาที่นี่เพื่ออะไร. เทพนารีทั้งหลายในเทวโลก ซึ่งเป็ นบริจาริกาแห่งทวยเทพในฉกามาพจรสวรรค์ มีอยู่เหล่าใด หรือสตรีมีรูปงามในมนุษยโลกเหล่าใด เทพนารีและสตรีทั้งหลายเหล่านั้นในหมู่เทวดาคนธรรพ์และมนุษย์ ไม่มีที่จะเสมอเหมือนท่านด้วยรูป ท่านผู้มีตะโพกอันงามประหนึ่งทอง เราถามท่านแล้ว ขอจงบอกชื่อและเผ่าพันธุ์เถิด. ลาดับนั้น นางเทพธิดาได้กล่าวคาถา ๘ คาถาความว่า ดูก่อนพราหมณ์ดาบส ท่านนั่งอยู่ เฉพาะแม่น้าโกสิกิคงคาอันน่ารื่นรมย์ใด โกสิกิคงคานั้น มีกระแสอันเชียว เป็นห้วงน้าใหญ่ ข้าพเจ้าสิงสถิตอยู่ในวิมานอันตั้งอยู่ที่แม่น้านั้น. มีลาห้วย และลาธาร ไหลมาจากเขาหลายแห่งเกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่ไม้นานาพรรณ ย่อมไหลตรงมารวมอยู่ที่ข้าพเจ้าทั้งนั้น. ใช่แต่เท่านั้น ยังมีน้าที่ไหลมาจากป่า มีกระแสไหลเชี่ยว สีเขียวปัด อีกมากหลาย และน้าที่พวกนาคกระทาให้มีสีวิจิตรต่างๆ ย่อมไหลมาตามกระแสน้า. แม่น้าเหล่านั้นย่อมพัดเอาผลมะม่วง ผลชมพู่ ผลขนุนสามะลอ ผลกระทุ่ม ผลตาล และผลมะเดื่อเป็นอันมากมาเนืองๆ. ผลไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งที่ฝั่งทั้งสองตกลงในน้าแล้ว ผลไม้นั้นย่อมเป็นไปในอานาจแห่งกระแสน้าของข้าพเจ้า โดยไม่ต้องสงสัย.
  • 8. 8 ดูก่อนท่านผู้เป็นปราชญ์ มีปัญญามาก ผู้เป็นใหญ่กว่านรชน ท่านรู้อย่างนี้แล้ว จงฟังข้าพเจ้า ท่านอย่าพอใจความเกี่ยวเกาะด้วยตัณหาอย่างนี้เลย จงเลิกคิดเสียเถิด. ดูก่อนพระราชฤาษีผู้ยังรัฐให้เจริญ ข้าพเจ้าไม่เข้าใจว่า ท่านจะเจริญรุ่งเรืองไปได้อย่างไร เมื่อท่านซูบผอมรอความตายอยู่. พรหม คนธรรพ์ เทวดา และฤาษีทั้งหลายในโลกนี้ ผู้มีตนอันสารวมแล้ว เรืองตบะ เริ่มตั้งความเพียร ผู้เรืองยศย่อมรู้ความที่ท่านตกอยู่ในอานาจแห่งตัณหา อย่างไม่ต้องสงสัยเลย. เมื่อนทีเทพธิดาจะให้ดาบสนั้นเกิดความสังเวช จึงกล่าวอย่างนี้ว่า พรหมผู้ที่ถึงการนับว่าเป็นบิดา คนธรรพ์พร้อมทั้งกามาวจรเทพยดา และฤาษีผู้มีจักษุทิพย์ดังที่กล่าวมาแล้ว ย่อมรู้ความที่บุคคลนั้นเป็นผู้ตกอยู่ในอานาจตัณหาโดยไม่ต้องสงสัย แต่ข้อที่ท่านผู้มีฤทธิเหล่านั้นรู้ว่า ดาบสชื่อโน้นเป็นผู้ตกอยู่ในอานาจของตัณหาดังนี้ ไม่น่าอัศจรรย์ ถึงปริจาริกชนของฤาษีผู้เริ่มตั้งความเพียร ผู้ยงยศเหล่านั้น ก็จะรู้เพราะฟังคาของชนเหล่านั้นพูดกันอยู่อีก เพราะขึ้นชื่อว่าความลับของบุคคลผู้ทาความชั่ว ย่อมไม่มี. ลาดับนั้น พระดาบสได้กล่าวคาถา ๔ คาถาความว่า บาปย่อมไม่เจริญแก่นรชนผู้รู้จักศีลและความไม่เที่ยง ดารงอยู่เหมือนเราฉะนั้น ซึ่งรู้ธรรมทั้งปวง รู้ความสลายและความจุติแห่งชีวิต ถ้านระนั้นไม่คิดฆ่าบุคคลอื่นผู้มีความสุข. ดูก่อนท่านผู้อันหมู่ฤาษีรู้กันทั่วแล้ว ท่านเป็นผู้อันชนผู้ลอยบาปรู้แจ้งแล้วว่า เป็ นผู้เกื้อกูลแก่โลก แต่ต้องปรารถนาบาปกรรมแก่ตน เพราะใช้คาบริภาษอันไม่ประเสริฐไพเราะ. ดูก่อนท่านผู้มีตะโพกอันผึ่งผาย ถ้าเราจักตายอยู่ที่ริมฝั่งน้าของท่าน เมื่อเราตายไปแล้ว ความติเตียนก็จักมาถึงท่านโดยไม่ต้องสงสัย. ดูก่อนท่านผู้มีสะเอวอันกลมกลึง เพราะฉะนั้นแล ท่านจงรักษาบาปกรรมไว้เถิด อย่าให้คนทั้งปวงติเตียนท่านได้ในภายหลัง ในเมื่อเราตายไปแล้ว. นางเทพธิดาได้ฟังดังนั้น จึงกล่าวคาถา ๕ คาถาความว่า เหตุนั้นข้าพเจ้าทราบแล้วท่านจงอดกลั้นไว้ก่อน ข้าพเจ้าจะยอมตนและให้มะม่วงแก่ท่าน เพราะท่านละกามคุณที่ละได้ยาก แล้วตั้งไว้ซึ่งความสงบและสุจริตธรรม. บุคคลใดละสังโยชน์ในก่อนได้ แล้วภายหลังมาตั้งอยู่ในสังโยชน์ ประพฤติอธรรมอยู่ บาปย่อมเจริญแก่บุคคลนั้น.
  • 9. 9 มาเถิด ข้าพเจ้าจะนาท่านไปยังสวนมะม่วง ท่านจงเป็ นผู้มีความขวนขวายน้อยโดยส่วนเดียวเถิด ข้าพเจ้าจักนาท่านไปในสวนมะม่วงอันร่มเย็น ท่านจงเป็ นผู้ไม่ขวนขวายอยู่เถิด. ดูก่อนท่านผู้ปราบปรามข้าศึก สวนนั้นเกลื่อนกล่นไปด้วยหมู่นก ที่มัวเมาอยู่ในรสดอกไม้ มีนกกระเรียน นกยูง นกเขา ซึ่งมีสร้อยคออันน่าชม มีหมู่หงส์ส่งเสียงร้องขรม ฝูงนกดุเหว่าที่ร้องปลุกสัตว์ทั้งหลายอยู่ในสวนมะม่วงนั้น. ผลมะม่วงในสวนนั้นดกเป็นพวงๆ ดุจฟ่อนฟาง ปลายกิ่งห้อยโน้มลงมา มีทั้งต้นคา ต้นสน ต้นกระทุ่มและผลตาลสุกห้อยอยู่เรียงราย. ก็แหละครั้นนางเทพธิดาพรรณนา แล้วพาพระดาบสมาในสวนอัมพวัน แล้วสั่งว่า ท่านโปรดขบฉันผลมะม่วงทั้งหลาย ยังความอยากของตนให้เต็มบริบูรณ์ในสวนอัมพวันนี้ แล้วหลีกไป. ครั้นพระดาบสขบฉันผลมะม่วงจนอิ่มสมอยากแล้ว พักผ่อนแล้ว จึงเที่ยวไปในสวนอัมพวัน พบเห็นเปรตนั้นกาลังเสวยทุกข์ (แต่)ไม่สามารถจะพูดอะไรได้ แต่เมื่อพระอาทิตย์อัสดงแล้ว เห็นเปรตนั้นมีหญิงฟ้ อนแวดล้อมบาเรอ เสวยทิพยสมบัติอยู่ จึงกล่าวคาถา ๓ คาถา ความว่า ท่านทรงทิพมาลา ผ้าโพกศีรษะ และเครื่องอาภรณ์ล้วนแต่เป็ นทิพย์ มีทองต้นแขน ลูบไล้ด้วยจุรณจันทน์ กลางคืนมีหญิง ๑๖,๐๐๐ คนเป็นปริจาริกาบาเรอท่านอยู่ แต่กลางวันต้องเสวยทุกขเวทนา. หญิงเหล่านี้ได้เป็ นปริจาริกาของท่าน มีถึง ๑๖,๐๐๐ นาง ท่านมีอานุภาพมากอย่างนี้ ไม่เคยมีในมนุษยโลก น่าขนพองสยองเกล้า. ในปุริมภพ ท่านทาบาปกรรมอะไรไว้ จึงต้องนาทุกขเวทนามาสู่ตน ท่านทากรรมอะไรไว้ในมนุษยโลก จึงต้องเคี้ยวกินเนื้อหลังของตนเองในบัดนี้. เปรตจาพระดาบสได้จึงทูลว่า พระองค์คงจาข้าพระพุทธเจ้าไม่ได้ ข้าพระพุทธเจ้า คือผู้ที่ได้เป็นปุโรหิตของพระองค์ ข้าพระพุทธเจ้าต้องเสวยความสุขในกลางคืนนี้ เพราะผลแห่งอุโบสถกึ่งหนึ่งที่ตนได้ทามา เพราะอาศัยพระองค์ แต่ที่ได้เสวยทุกขเวทนาในเวลากลางวัน เพราะผลแห่งบาปกรรมที่ทาไว้แล้วเหมือนกัน แท้จริง ข้าพระพุทธเจ้าอันพระองค์ทรงตั้งไว้ในตาแหน่งผู้พิพากษา ได้ชาระคดีโดยอยุติธรรมรับสินบน ขูดเลือดเนื้อประชาชนทางเบื้องหลัง เพราะผลแห่งกรรมที่ทาไว้นั้น ตอนกลางวัน ข้าพระพุทธเจ้าจึงได้เสวยทุกขเวทนานี้
  • 10. 10 แล้วกล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ข้าพเจ้าเรียนจบไตรเพท หมกมุ่นอยู่ในกามทั้งหลาย ได้ประพฤติเพื่อความฉิบหายมิใช่ประโยชน์แก่ชนเหล่าอื่นตลอดกาลนาน. บุคคลใดเป็นผู้ขูดเลือดเนื้อผู้อื่น บุคคลนั้นย่อมต้องควักเนื้อของตนกิน เช่นเดียวกับข้าพระพุทธเจ้ากินเนื้อหลังของตนอยู่จนทุกวันนี้. ก็แลครั้นเปรตกราบทูลอย่างนี้แล้ว จึงทูลถามพระดาบสว่า พระองค์เสด็จมาในที่นี้ได้อย่างไร? พระดาบสเล่าเรื่องทั้งหมดให้ฟังโดยพิสดาร. เปรตทูลถามอีกว่า ก็บัดนี้พระองค์จะประทับอยู่ในที่นี้ต่อไป หรือจักเสด็จไปที่อื่น? พระดาบสตรัสตอบว่า เราหาอยู่ไม่ จักกลับไปสู่อาศรมบทนั่นเทียว. เปรตทูลว่า ดีละพระเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าจักบารุงพระองค์ด้วยผลมะม่วงสุกเป็นประจา แล้วนาพระดาบสไปในอาศรมบทด้วยอานุภาพของตน ทูลขอปฏิญญาว่า ขอพระองค์อย่าได้มีความกระสัน ประทับอยู่ในที่นี้เถิด แล้วทูลลาไป ตั้งแต่นั้นมา เปรตนั้นก็บารุงพระดาบสด้วยผลมะม่วงสุกเป็นนิตย์. พระดาบสเมื่อได้ฉันผลมะม่วงสุกนั้น ก็กระทากสิณบริกรรม ยังฌานและอภิญญาให้บังเกิด แล้วได้เป็ นผู้มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า. พระบรมศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแก่อุบาสกอุบาสิกา ทั้งหลายแล้ว ทรงประกาศอริยสัจธรรม ในที่สุดแห่งอริยสัจเทศนา บางพวกได้เป็ นพระโสดาบัน บางพวกได้เป็นพระสกทาคามี บางพวกได้เป็ นพระอนาคามี ทรงประชุมชาดกว่า นางเทพธิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็น ภิกษุณีอุบลวรรณา ส่วนดาบสได้มาเป็น เราผู้ตถาคต ฉะนี้แล. จบอรรถกถากิงฉันทชาดกที่ ๑ -----------------------------------------------------