SlideShare a Scribd company logo
1
ชวนหังสชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๓. ชวนหังสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๗๖)
ว่าด้วยพญาชวนหงส์
(พระราชาทรงเชื้อเชิญชวนพญาหงส์โพธิสัตว์ว่า)
[๒๗] เจ้าจับอยู่ที่ตั่งทองนี้แหละพญาหงส์ ข้าพเจ้ารักที่จะเห็นท่าน
ท่านมาเป็นเจ้าของสถานที่นี้แล้ว สิ่งที่มีอยู่ในพระราชนิเวศน์นี้ ท่านไม่รังเกียจ
จงบอกมาให้เราทราบ
(และทรงขอร้องว่า)
[๒๘] เพราะการฟัง คนบางหมู่จึงเป็นที่รักของคนบางคน เพราะได้เห็น
ความพอใจของคนบางคนจึงเสื่อมคลาย เพราะได้เห็นและเพราะได้ฟัง
คนบางหมู่จึงเป็นที่รัก เพราะการเห็น ท่านรักใคร่ข้าพเจ้าบ้างไหม
[๒๙] เพราะการฟัง ท่านจึงเป็นที่รักของข้าพเจ้า และเป็นที่รักยิ่ง
เพราะได้มาพบกัน พญาหงส์ ท่านเป็ นที่น่ารักน่าดูอย่างนี้สาหรับข้าพเจ้า
ขอท่านจงอยู่ใกล้ๆ ข้าพเจ้าเถิด
(พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๓๐] ข้าพเจ้าได้รับสักการบูชาอยู่เป็นนิตย์
พึงอยู่ในพระราชนิเวศน์ของพระองค์ แต่บางคราวพระองค์ทรงมึนเมา
จะพึงตรัสว่า จงย่างพญาหงส์ให้เรา
(พระราชาตรัสให้ปฏิญาณว่า)
[๓๑] น่าติเตียนจริง การดื่มน้าเมา
ซึ่งเป็ นที่พอใจของข้าพเจ้ายิ่งกว่าท่าน เอาเถิด ข้าพเจ้าจะไม่ดื่มน้าเมา
ตลอดเวลาที่ท่านอยู่ในนิเวศน์ของข้าพเจ้า
(พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๓๒] ขอเดชะพระราชา เสียงเหล่าสุนัขจิ้งจอกเห่าหอนก็ดี
เสียงเหล่านกร้องขันก็ดี รู้ได้ง่าย ส่วนถ้อยคาที่พวกมนุษย์เปล่งออกมา
รู้ได้ยากกว่านั้น
[๓๓] คนบางคนเบื้องต้นเป็ นคนใจดี ย่อมนับถือกันว่า เป็นญาติ
เป็นมิตร หรือเป็นเพื่อนอย่างนี้บ้าง ภายหลังกลายเป็ นศัตรูไปก็มี
[๓๔] ใจจดจ่ออยู่ในผู้ใด ผู้นั้นแม้จะอยู่ไกลกันก็เหมือนอยู่ใกล้
ใจเหินห่างจากผู้ใด ผู้นั้นแม้จะอยู่ใกล้ก็เหมือนอยู่ไกล
[๓๕] สหายผู้มีจิตเลื่อมใส ถึงจะอยู่ยังฟากฝั่งสมุทร
ถ้ามีจิตเลื่อมใสต่อกัน ก็ชื่อว่าอยู่ใกล้กัน
2
ส่วนสหายผู้มีจิตคิดประทุษร้ายถึงจะอยู่ใกล้ ถ้ามีจิตคิดประทุษร้ายต่อกัน
ก็ชื่อว่าอยู่ยังฟากฝั่งสมุทร
[๓๖] ขอเดชะพระองค์ผู้จอมทัพ ผู้ผดุงรัฐให้เจริญ ศัตรูถึงจะอยู่ร่วมกัน
ก็ชื่อว่าอยู่ห่างไกลกัน ส่วนบัณฑิตถึงจะอยู่ไกลกัน ก็ชื่อว่าอยู่ใกล้
เพราะมีใจนึกถึงกัน
[๓๗] เพราะการอยู่ร่วมกันนานเกินไป
คนที่รักกันก็จะกลายเป็นไม่รักกัน เพราะเหตุนั้น ข้าพระองค์ขอทูลลาไป
ก่อนที่จะไม่เป็ นที่รักของพระองค์
(พระราชาตรัสกับพระโพธิสัตว์ว่า)
[๓๘] หากการประคองอัญชลีของข้าพเจ้าผู้วิงวอนอยู่อย่างนี้
ท่านไม่ทราบและไม่ทาตามคาของข้าพเจ้าผู้ปรนนิบัติอยู่อย่างนี้ เมื่อเป็นเช่นนั้น
ข้าพเจ้าขอร้องท่านว่า โปรดแวะเวียนมาอีก
(ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์กล่าวว่า)
[๓๙] ขอเดชะพระมหาราช ผู้ผดุงรัฐให้เจริญ
หากเราทั้งหลายยังอยู่ปกติอย่างนี้ แม้พระองค์และข้าพระองค์ก็จักไม่มีอันตราย
วันคืนต่อๆ ไป เราคงจะได้พบกันบ้างหรอก
ชวนหังสชาดกที่ ๓ จบ
--------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
ชวนหังสชาดก
ว่าด้วย รักกันอยู่ไกลก็เหมือนอยู่ใกล้
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร
ทรงพระปรารภพระเทศนาทัฬหธัมมธนุคคหสูตร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้.
ความพิสดารว่า จาเดิมแต่วันที่ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนนายขมังธนูมีธรรมมั่นคง ๔ นาย
ฝึกฝนดีแล้ว มีมือได้ฝึกปรือแล้ว ยิงแม่นยา ยืน ๔ ทิศ ลาดับนั้น บุรุษคนหนึ่งมา
เราจักจับลูกศรของนายขมังธนูผู้มีธรรมมั่นคง ๔ นายเหล่านี้ ที่ฝึกฝนดีแล้ว
มีมือได้ฝึกปรือแล้ว ยิงแม่นยา ยิงไปทั้ง ๔ ทิศไม่ทันตกถึงดินเลยแล้วนามาให้ได้
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสาคัญความข้อนั้นเป็นอย่างไร
บุรุษผู้วิ่งไปด้วยความเร็วต้องประกอบด้วยความเร็วอย่างยอดเยี่ยม ดังนี้หรือ?
เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลรับว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษจะเป็นปานใด
ความเร็วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ยังเร็วกว่านั้น
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษนั้นจะเร็วปานใดเล่า อนึ่งเล่า
3
ฝูงเทวดาย่อมเหาะไปข้างหน้าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ ความเร็วของหมู่เทวดานั้น
เร็วยิ่งกว่าความเร็วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษนั้น
ความเร็วของหมู่เทวดาเหล่านั้นปานใด อายุสังขารย่อมสิ้นไปเร็วกว่านั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น
เธอทั้งหลายพึงสาเหนียกในข้อนั้นอย่างนี้ว่า
พวกเราต้องละความกระหายด้วยอานาจความกาหนัดในกามทั้งหลายที่บังเกิดแล้
วเสียให้ได้ อนึ่ง จิตของพวกเราต้องไม่ตั้งยึดความกระหาย
ด้วยอานาจความกาหนัดในกามทั้งหลายไว้เลย พวกเราต้องเป็ นผู้ไม่ประมาท.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอต้องสาเหนียกอย่างนี้ทีเดียว ดังนี้
ในวันที่ ๒ พวกภิกษุสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า
ผู้มีอายุทั้งหลาย พระศาสดาทรงดารงในพุทธวิสัยของพระองค์
ทรงชี้แจงถ้วนถี่ถึงอายุสังขารของสัตว์เหล่านี้กระทาให้เป็นของชั่วประเดี๋ยวทุรพล
ให้พวกภิกษุที่เป็นปุถุชนพากัน ถึงความสะดุ้งใจอย่างล้นพ้น โอ
ธรรมดาพระพุทธพล อัศจรรย์นะ.
พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้
พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ.
เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว.
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่น่าอัศจรรย์เลย
ที่เรานั้นบรรลุสัพพัญญุตญาณแล้วในบัดนี้ ชี้แจงถึงอายุสังขารในหมู่สัตว์
เป็นภาวะชั่วประเดี๋ยว แสดงธรรมให้พวกภิกษุสลดใจได้ เพราะในปางก่อน
ถึงเราจะบังเกิดในกาเนิดหงส์ เป็ นอเหตุกสัตว์
ก็เคยชี้แจงความที่สังขารทั้งหลายเป็นสภาวะชั่วคราว แสดงธรรมให้บริษัททั้งสิ้น
ตั้งต้นแต่พระเจ้าพาราณสี สลดได้
แล้วทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในกรุงพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดในกาเนิดชวนหงส์ มีหงส์เก้าหมื่นเป็นบริวาร อาศัยอยู่ ณ
ภูเขาจิตตกูฏ
วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์พร้อมด้วยบริวาร
เคี้ยวกินข้าวสาลีเกิดเองในสระแห่งหนึ่ง ณ พื้นชมพูทวีป บินไปสู่เขาจิตตกูฏ
ด้วยการบินไปอันงดงามระย้าระยับทางเบื้องบนแห่งกรุงพาราณสี
กับบริวารเป็ นอันมาก ประหนึ่งบุคคลลาดลาแพนทองไว้บนอากาศ ฉะนั้นทีเดียว.
ครั้งนั้น พระเจ้าพาราณสีทอดพระเนตรเห็นพระโพธิสัตว์นั้น
ตรัสแก่พวกอามาตย์ว่า อันหงส์แม้นี้คงเป็ นพระราชาเหมือนเรา
บังเกิดพระสิเนหาในพระโพธิสัตว์นั้น
4
ทรงถือดอกไม้ของหอมและเครื่องประเทืองผิว ทอดพระเนตรดูพระโพธิสัตว์นั้น
พลางรับสั่งให้ประโคมดนตรีทุกอย่าง.
พระมหาสัตว์เห็นท้าวเธอทรงกระทาสักการะแก่ตน จึงถามฝูงหงส์ว่า
พระราชาทรงกระทาสักการะเห็นปานนี้แก่เรา ทรงพระประสงค์อะไรเล่า.
ฝูงหงส์พากันตอบว่า ข้าแต่สมมติเทพ
ทรงพระประสงค์มิตรภาพกับพระองค์ พระเจ้าข้า.
พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น
มิตรภาพของพวกเราจงมีแก่พระราชาเถิด กระทามิตรภาพแก่พระราชา
แล้วหลีกไป.
อยู่มาวันหนึ่ง ในเวลาที่พระราชาเสด็จสู่พระอุทยาน
พระโพธิสัตว์บินไปสู่สระอโนดาต ใช้ปีกข้างหนึ่งนาน้ามาข้างหนึ่งนาผงจันทน์มา
ให้พระราชาทรงสรงสนานด้วยน้านั้น โปรยผงจันทน์ถวาย
เมื่อมหาชนกาลังดูอยู่นั่นแหละ ได้พาบริวารบินไปสู่เขาจิตตกูฏ.
จาเดิมแต่นั้น พระราชาปรารถนาจะเห็นพระมหาสัตว์
ก็ประทับทอดพระเนตรทางที่มา ด้วยทรงพระอาโภคว่า สหายของเราคงมา วันนี้.
ครั้งนั้น ลูกหงส์สองตัวเป็นน้องเล็กของพระมหาสัตว์ ปรึกษากันว่า
เราจักบินแข่งกับพระอาทิตย์ บอกแก่พระมหาสัตว์ว่า
ฉันจักบินแข่งกับดวงอาทิตย์.
พระมหาสัตว์กล่าวว่า พ่อเอ๋ย อันความเร็วของดวงอาทิตย์เร็วพลัน
เธอทั้งสองจักไม่สามารถบินแข่งกับดวงอาทิตย์ได้ดอก จักต้องย่อยยับเสีย
ในระหว่างทีเดียว อย่าพากันไปเลยนะ.
หงส์เหล่านั้นพากันอ้อนวอน ถึงสองครั้งสามครั้ง.
แม้พระโพธิสัตว์ก็คงห้ามหงส์ทั้งสองนั้น ตลอดสามครั้งเหมือนกัน.
หงส์ทั้งสองนั้นดื้อดันด้วยมานะ ไม่รู้กาลังของตน
ไม่บอกแก่พระมหาสัตว์เลย คิดว่า เราจักบินแข่งกับดวงอาทิตย์.
เมื่อดวงอาทิตย์ยังไม่ทันขึ้นไปเลย พากันบินไปจับอยู่ ณ
ยอดเขายุคนธร. พระมหาสัตว์ไม่เห็นหงส์ทั้งสองนั้น ถามว่า
หงส์ทั้งสองนั้นไปไหนกันเล่า ได้ฟังเรื่องนั้นแล้วคิดว่า
หงส์ทั้งสองนั้นไม่อาจแข่งกับดวงอาทิตย์ จักพากันย่อยยับเสีย
ระหว่างทางเป็นแม่นมั่น เราต้องให้ชีวิตทานแก่หงส์ทั้งสองนั้น.
แม้พระมหาสัตว์ก็บินไปจับอยู่ที่ยอดเขายุคนธรเช่นเดียวกัน
ครั้นเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว หงส์ทั้งคู่ก็บินถลาขึ้นไปกับดวงอาทิตย์.
ฝ่ายพระมหาสัตว์เล่าก็บินไปกับหงส์ทั้งสองนั้น.
น้องเล็กแข่งไปได้เพียงเวลาสายก็อิดโรย
ได้เป็ นดุจเวลาที่จุดไฟขึ้นที่ข้อต่อแห่งปีกทั้งหลาย
5
น้องเล็กนั้นจึงให้สัญญาแก่พระโพธิสัตว์ให้ทราบว่า พี่จ๋า ฉันบินไม่ไหวแล้ว.
ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์ปลอบเธอว่า อย่ากลัวเลยนะ
ฉันจักให้ชีวิตแก่เธอ ประคองไว้ด้วยอ้อมปีก ให้เบาใจไปสู่เขาจิตตกูฏ
มอบไว้ท่ามกลางฝูงหงส์ บินไปอีกทันดวงอาทิตย์ แล้วบินชลอไปกับน้องกลาง.
บินแข่งกับดวงอาทิตย์ ไปจนถึงเวลาจวนเที่ยงก็อิดโรย
ได้เป็ นดุจเวลาที่จุดไฟขึ้นที่ข้อต่อแห่งปีกทั้งหลาย. ลาดับนั้น
ก็ให้สัญญาแก่พระโพธิสัตว์ให้ทราบว่า พี่จ๋า ฉันไปไม่ไหวละ.
พระมหาสัตว์ปลอบโยนหงส์แม้นั้นโดยทานองเดียวกัน
ประคองด้วยอ้อมปีกไปสู่เขาจิตตกูฏ
ขณะนั้น ดวงอาทิตย์ถึงท่ามกลางฟ้ าพอดี ลาดับนั้น
พระมหาสัตว์ดาริว่า วันนี้เราจักทดลองกาลังแห่งสรีระของเราดู
แล้วบินไปด้วยความเร็วรวดเดียวเท่านั้น จับยอดเขายุคนธร ถลาขึ้นจากนั้น
ใช้กาลังรวดเดียวเหมือนกันทันดวงอาทิตย์ บางคราวก็แข่งไปข้างหน้า
บางคราวก็ไล่หลัง ได้คิดว่า อันการบินแข่งกับดวงอาทิตย์ของเราไร้ประโยชน์
เกิดประดังจากการทาในใจโดยไม่แยบคาย เราจะต้องการอะไรด้วยประการนี้
เราจักไปสู่พระนครพาราณสี
กล่าวถ้อยคาประกอบด้วยอรรถประกอบด้วยธรรมแก่พระราชาสหายของเรา.
พระมหาสัตว์นั้นหันกลับ เมื่อดวงอาทิตย์ยังไม่ทันโคจร
ผ่านท่ามกลางฟ้ าไปเลย บินเลียบตามท้องจักรวาลทั้งสิ้น
โดยที่สุดถึงที่สุดลดความเร็วลง บินเลียบชมพูทวีปทั้งสิ้น โดยที่สุดถึงที่สุด
ถึงกรุงพาราณสี พระนครทั้งสิ้นอันมีบริเวณได้ ๑๒ โยชน์ ได้เป็นดุจหงส์กาบังไว้
ชื่อว่าระยะทางไม่ปรากฏเลย ครั้นความเร็วลดลงโดยลาดับ
ช่องในอากาศจึงปรากฏได้.
พระมหาสัตว์ผ่อนความเร็วลง ร่อนลงจากอากาศ ได้จับอยู่ ณ
ที่เฉพาะช่องพระสีหบัญชร.
พระราชาตรัสว่า สหายของเรามา
ตรัสสั่งให้จัดตั้งตั่งทองเพื่อให้พระโพธิสัตว์เกาะ ตรัสว่า สหายเอ๋ย
เชิญท่านเข้ามาเถิด เกาะที่ตรงนี้เถิด ดังนี้
ตรัสพระคาถาที่ ๑ ว่า
ดูก่อนหงส์ เชิญเกาะที่ตั่งทองนี้เถิด การได้เห็นท่าน ชื่นใจฉันจริง
ท่านเป็นอิสระในสถานที่นี้ ท่านมาถึงแล้ว รังเกียจสิ่งใดที่มีอยู่ในนิเวศน์นี้
จงบอกสิ่งนั้นให้ทราบเถิด.
พระมหาสัตว์จับอยู่ที่ตั่งทอง พระราชารับสั่งให้คนทาช่องปีกของพระม
หาสัตว์นั้นด้วยน้ามันที่หุงซ้าๆ ได้แสนครั้ง
รับสั่งให้เอาข้าวตอกคลุกด้วยน้าผึ้งและน้าตาลกรวด ใส่จานทองพระราชทาน
6
ทรงกระทาปฏิสันถารอันอ่อนหวาน ตรัสถามว่า สหายเอ๋ย ท่านมาลาพังผู้เดียว
ไปไหนมาเล่า.
พระมหาสัตว์นั้นเล่าเรื่องนั้นโดยพิสดาร.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสกะพระมหาสัตว์นั้นว่า สหายเอ๋ย
เชิญท่านแสดงความเร็วชนิดที่แข่งกับดวงอาทิตย์ให้ฉันดูบ้างเถิด.
พระมหาสัตว์จึงทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช
หม่อมฉันไม่สามารถที่จะแสดงความเร็วชนิดนั้นได้.
พระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น
เชิญเธอแสดงเพียงขนาดที่พอเห็นสมกันแก่ฉันเถิด.
พระมหาสัตว์ทูลว่า ได้ซิมหาราช
หม่อมฉันจักแสดงความเร็วขนาดที่พอเห็นสมถวาย
พระองค์โปรดดารัสสั่งให้นายขมังธนูผู้ยิงรวดเร็วประชุมกันเถิด.
พระราชาทรงให้นายขมังธนูประชุมกันแล้ว.
พระมหาสัตว์คัดนายขมังธนูได้ ๔ นาย ซึ่งเป็ นเยี่ยมกว่าทุกๆ คน
ลงจากพระราชนิเวศน์ ให้ฝังเสาศิลา ณ ท้องพระลานหลวง
ให้ผูกลูกศรที่คอของตน จับอยู่ที่ยอดเสา ส่วนนายขมังธนูทั้ง ๔ นาย
ให้ยืนพิงเสาศิลาผินหน้าไป ๔ ทิศ ทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช คน ๔ คนเหล่านี้
จงยิงลูกศร ๔ ลูกตรงไปทางทิศทั้ง ๔ โดยประดังพร้อมกัน
หม่อมฉันจะเก็บลูกศรเหล่านั้นมา มิให้ทันตกดินเลย
แล้วทิ้งลงแทบเท้าของคนเหล่านั้น พระองค์พึงทรงทราบ
การที่หม่อมฉันไปเก็บลูกศร ด้วยสัญญาแห่งเสียงลูกศร
แต่หม่อมฉันจักไม่ปรากฏเลย แล้วเก็บลูกศรที่นายขมังธนูทั้ง ๔
ยิงไปพร้อมกันทันที หลุดพ้นไปจากสายแล้ว มาทิ้งลงตรงใกล้ๆ
เท้าของนายขมังธนูเหล่านั้น แสดงตนจับอยู่ ณ ยอดแห่งเสาศิลานั้นเอง
กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ความเร็วของหม่อมฉันนี้
มิใช่ความเร็วอย่างสูงสุดดอก มิใช่ความเร็วปานกลาง เป็นความขนาดเลวชั้นโหล่
ข้าแต่มหาราช ความเร็วของหม่อมฉันพึงเป็นเช่นนี้นะ พระเจ้าข้า.
ลาดับนั้น พระราชาทรงถามว่า สหายเอ๋ย
ก็และความเร็วอย่างอื่นที่เร็วกว่าความเร็วของท่านน่ะ ยังมีหรือ.
พระมหาสัตว์กราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า
อายุสังขารของสัตว์เหล่านี้ย่อมสิ้น ย่อมสลาย ย่อมถึงความสิ้น เร็วพลันกว่า
แม้แต่ความเร็วขนาดสูงสุดของหม่อมฉัน ตั้งร้อยเท่าพันทวีแสนทวี
พระมหาสัตว์แสดงความสลายแห่งอรูปธรรมทั้งหลาย ด้วยสามารถความดับ
อันเป็นไปทุกๆ ขณะ ด้วยประการฉะนี้.
พระราชาทรงสดับคาของพระมหาสัตว์ ทรงกลัวต่อมรณภัย
7
ไม่สามารถดารงพระสติไว้ได้ ชวนพระกายล้มเหนือแผ่นดิน.
มหาชนพากันถึงความสยดสยอง.
พวกอามาตย์ต้องเอาน้าสรงพระพักตร์พระราชา
ช่วยให้พระองค์ทรงกลับฟื้นคืนพระสติ.
ลาดับนั้น พระมหาสัตว์กราบทูลเตือนว่า ข้าแต่พระมหาราช
พระองค์อย่าได้ทรงหวาดเกรงเลย เชิญทรงเจริญมรณสติไว้เถิด
ทรงประพฤติธรรมไว้เถิด ทรงกระทาบุญมีให้ทานเป็นต้นไว้เถิด
พระองค์อย่าประมาทเถิด พระเจ้าข้า.
ลาดับนั้น พระราชา เมื่อทรงอ้อนวอนว่า
ฉันจักไม่สามารถที่จะอยู่แยกกับอาจารย์ผู้สมบูรณ์ด้วยญาณเช่นท่าน
ชั่วระยะกาลอันใกล้ได้ ท่านไปต้องไปสู่เขาจิตตกูฎ ชี้แจงธรรมแก่ฉัน
เป็นอาจารย์ให้โอวาทอยู่ ณ ที่นี้เลยเถิดนะ
จึงตรัสพระคาถา ๒ คาถาว่า
คนบางพวก ย่อมเป็ นที่รักของบุคคลบางคนเพราะได้ฟัง อนึ่ง
ความรักของบุคคลบางคน ย่อมหมดสิ้นไปเพราะได้เห็น
คนบางพวกย่อมเป็นที่รักเพราะได้เห็นและเพราะได้ฟัง
ท่านรักใคร่ฉันเพราะได้เห็นบ้างไหม.
ท่านเป็นที่รักของฉัน เพราะได้ฟัง และเป็ นที่รักของฉันยิ่งนัก
เพราะอาศัยการเห็น ดูก่อนพญาหงส์ ท่านน่ารักน่าดูอย่างนี้
เชิญอยู่ในสานักของฉันเถิด.
คาถาเหล่านั้นมีอธิบายว่า ดูก่อนสหายพญาหงส์
บุคคลจาพวกหนึ่งย่อมน่ารักด้วยการฟัง คือดูดดื่มใจด้วยได้ฟัง
เพราะได้ยินว่ามีคุณอย่างนี้ แต่จาพวกหนึ่งพอเห็นเท่านั้น ความพอใจหมดไปเลย
คือความรักหายไปหมด ปรากฏเหมือนพวกยักษ์ที่มากันมาเพื่อกัดกิน
จาพวกหนึ่งเล่าเป็ นผู้น่ารักได้ทั้งสถาน คือทั้งได้เห็น ทั้งได้ฟัง เหตุนั้น
ฉันขอถามท่าน เพราะเห็นฉัน ท่านจึงรักฉันบ้างหรือไร
คือท่านยังจะพึงใจฉันบ้างหรือไม่ แต่สาหรับฉัน ท่านเป็ นที่รักด้วยได้ยิน แน่ละ
ยิ่งมาเห็นยิ่งรักนักเทียว ท่านเป็ นที่รักน่าดูของฉันเช่นนี้ อย่าไปสู่เขาจิตตกูฏ
จงอยู่ในสานักของฉันนี้เถิด.
พระโพธิสัตว์กราบทูลด้วยคาถาว่า
ข้าพระองค์ทั้งหลายได้รับการสักการบูชาแล้วเป็ นนิตย์พึงอยู่ในพระรา
ชนิเวศน์ของพระองค์ แต่บางครั้ง พระองค์ทรงเมาน้าจัณฑ์แล้ว จะพึงตรัสสั่งว่า
จงย่างพญาหงส์ให้ฉันที.
ลาดับนั้น พระราชา
เพื่อจะประทานพระปฏิญญาแก่พระโพธิสัตว์นั้นว่า ถ้าเช่นนั้น
8
ฉันจักไม่ดื่มน้าเมาเป็นเด็ดขาด จึงตรัสพระคาถานี้ว่า
การดื่มน้าเมา ซึ่งเป็ นที่รักของฉันยิ่งกว่าท่าน
ฉันติเตียนการดื่มน้าเมานั้น เอาเถอะ ตลอดเวลาที่ท่านยังอยู่ในนิเวศน์ของฉัน
ฉันจักไม่ดื่มน้าเมาเลย.
ต่อจากนั้น พระโพธิสัตว์กล่าวคาถา ๖ คาถาว่า
ข้าแต่พระราชา เสียงของสุนัขจิ้งจอกทั้งหลายก็ดี ของนกทั้งหลายก็ดี
รู้ได้ง่าย แต่เสียงของมนุษย์รู้ได้ยากกว่านั้น.
อนึ่ง ผู้ใดเมื่อก่อนเป็ นผู้ใจดี คนทั้งหลายนับถือว่าเป็ นญาติ เป็ นมิตร
หรือเป็นสหาย ภายหลังผู้นั้นกลับกลายเป็นศัตรูไปก็ได้
ใจของมนุษย์รู้ได้ยากอย่างนี้.
ใจจดจ่ออยู่ในบุคคลใด แม้บุคคลนั้นจะอยู่ไกลก็เหมือนกับอยู่ใกล้
ใจเหินห่างจากบุคคลใด แม้บุคคลนั้นจะอยู่ใกล้ก็เหมือนกับอยู่ไกล.
ถ้ามีจิตเลื่อมใสรักใคร่กัน
ถึงแม้จะอยู่กันคนละฝั่งสมุทรก็เหมือนอยู่ใกล้ชิดกัน ถ้ามีจิตประทุษร้ายกัน
ถึงแม้จะอยู่ใกล้ชิดกัน ก็เหมือนกับอยู่คนละฝั่งสมุทร.
ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ
คนที่เป็นศัตรูกันถึงจะอยู่ร่วมกันก็เหมือนกับอยู่ห่างไกลกัน
ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นมิ่งขวัญแห่งรัฐ คนที่รักกันถึงแม้จะอยู่ห่างไกลกัน
ก็เหมือนกับอยู่ร่วมกันด้วยหัวใจ.
ด้วยการอยู่ร่วมกันนานเกินควร
คนรักกันย่อมกลายเป็นคนไม่รักกันก็ได้ ข้าพระองค์ขอทูลลาพระองค์ไป
ก่อนที่ข้าพระองค์จะกลายเป็นผู้ไม่เป็นที่รักของพระองค์.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสกะพระโพธิสัตว์นั้นว่า
เมื่อเราวิงวอนอยู่อย่างนี้ ถ้าท่านมิได้รู้ถึงความนับถือของเรา
ท่านก็มิได้ทาตามคาวิงวอนของเรา ซึ่งจะเป็นผู้ปรนนิบัติท่าน เมื่อเป็นอย่างนี้
เราขอวิงวอนท่านว่า ท่านพึงหมั่นมาที่นี้บ่อยๆ นะ.
ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์จึงกราบทูลว่า
ข้าแต่พระมหาราชาเจ้าผู้เป็นมิ่งขวัญแห่งรัฐ
ถ้าเราอยู่กันเป็นปกติอย่างนี้ อันตรายจักยังไม่มี ทั้งแก่พระองค์และแก่ข้าพระองค์
เป็นอันแน่นอนว่า เราทั้งสองคงได้พบเห็นกัน ในเมื่อวันคืนผ่านไปเป็ นแน่.
พระมหาสัตว์ถวายโอวาทพระราชาอย่างนี้แล้ว ก็บินไปเขาจิตตกูฏแล.
พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มา แล้วตรัสว่า
9
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในปางก่อน
ถึงเราจะเกิดในกาเนิดดิรัจฉานก็เคยชี้แจงความทุรพลของอายุสังขาร
แสดงธรรมได้เหมือนกัน ด้วยประการฉะนี้
ประชุมชาดกว่า
พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอานนท์
น้องเล็กได้มาเป็ น พระโมคคัลลานะ
น้องกลางได้มาเป็น พระสารีบุตร
ฝูงหงส์ที่เหลือได้มาเป็น พุทธบริษัท
ส่วนชวนหงส์ คือ เราตถาคต แล.
จบอรรถกถาชวนหังสชาดกที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to 476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
maruay songtanin
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทงwilasinee k
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

Similar to 476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx (20)

296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
296 สมุททชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
006 เทวธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
421 คังคมาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
408 กุมภการชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๒๔. กัณณมุณฑเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
๐๔. เนมิราชชาดก.pdf
 
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
175 อาทิจจุปัฏฐานชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
474 อัมพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
173 มักกฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
433 โลมสกัสสปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
002 วัณณุปถชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
(๖) พระอนุรุทธเถราปทาน มจร.pdf
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 07+มหาวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
480 อกิตติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
(๔) มหาโมคคัลลานเถราปทาน มจร.pdf
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

More from maruay songtanin

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
maruay songtanin
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
maruay songtanin
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
maruay songtanin
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
maruay songtanin
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
maruay songtanin
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๕๐. สัฏฐิกูฏเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๙. เสฏฐิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๘. โภคสังหรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๗. อักขรุกขเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๔๖. อัมพวนเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๔๕. ปาฏลิปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
๔๔. คณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๔๓. คูถขาทกเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๒. คูถขาทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๔๑. ราชปุตตเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
๔๐. กุมารเปตวัต พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]ถ...
 
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๙. เรวตีเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๘. นันทกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๓๗. เสรีสกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๖. อัมพสักขรเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๓๕. ธาตุวิวัณณเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๓๔. กูฏวินิจฉยิกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
๓๓. ทุติยมิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับ...
 
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๓๒. มิคลุททกเปตวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๑. เสริณีเปติวัตถุ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 

476 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 ชวนหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๓. ชวนหังสชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๗๖) ว่าด้วยพญาชวนหงส์ (พระราชาทรงเชื้อเชิญชวนพญาหงส์โพธิสัตว์ว่า) [๒๗] เจ้าจับอยู่ที่ตั่งทองนี้แหละพญาหงส์ ข้าพเจ้ารักที่จะเห็นท่าน ท่านมาเป็นเจ้าของสถานที่นี้แล้ว สิ่งที่มีอยู่ในพระราชนิเวศน์นี้ ท่านไม่รังเกียจ จงบอกมาให้เราทราบ (และทรงขอร้องว่า) [๒๘] เพราะการฟัง คนบางหมู่จึงเป็นที่รักของคนบางคน เพราะได้เห็น ความพอใจของคนบางคนจึงเสื่อมคลาย เพราะได้เห็นและเพราะได้ฟัง คนบางหมู่จึงเป็นที่รัก เพราะการเห็น ท่านรักใคร่ข้าพเจ้าบ้างไหม [๒๙] เพราะการฟัง ท่านจึงเป็นที่รักของข้าพเจ้า และเป็นที่รักยิ่ง เพราะได้มาพบกัน พญาหงส์ ท่านเป็ นที่น่ารักน่าดูอย่างนี้สาหรับข้าพเจ้า ขอท่านจงอยู่ใกล้ๆ ข้าพเจ้าเถิด (พระโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๓๐] ข้าพเจ้าได้รับสักการบูชาอยู่เป็นนิตย์ พึงอยู่ในพระราชนิเวศน์ของพระองค์ แต่บางคราวพระองค์ทรงมึนเมา จะพึงตรัสว่า จงย่างพญาหงส์ให้เรา (พระราชาตรัสให้ปฏิญาณว่า) [๓๑] น่าติเตียนจริง การดื่มน้าเมา ซึ่งเป็ นที่พอใจของข้าพเจ้ายิ่งกว่าท่าน เอาเถิด ข้าพเจ้าจะไม่ดื่มน้าเมา ตลอดเวลาที่ท่านอยู่ในนิเวศน์ของข้าพเจ้า (พระโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๓๒] ขอเดชะพระราชา เสียงเหล่าสุนัขจิ้งจอกเห่าหอนก็ดี เสียงเหล่านกร้องขันก็ดี รู้ได้ง่าย ส่วนถ้อยคาที่พวกมนุษย์เปล่งออกมา รู้ได้ยากกว่านั้น [๓๓] คนบางคนเบื้องต้นเป็ นคนใจดี ย่อมนับถือกันว่า เป็นญาติ เป็นมิตร หรือเป็นเพื่อนอย่างนี้บ้าง ภายหลังกลายเป็ นศัตรูไปก็มี [๓๔] ใจจดจ่ออยู่ในผู้ใด ผู้นั้นแม้จะอยู่ไกลกันก็เหมือนอยู่ใกล้ ใจเหินห่างจากผู้ใด ผู้นั้นแม้จะอยู่ใกล้ก็เหมือนอยู่ไกล [๓๕] สหายผู้มีจิตเลื่อมใส ถึงจะอยู่ยังฟากฝั่งสมุทร ถ้ามีจิตเลื่อมใสต่อกัน ก็ชื่อว่าอยู่ใกล้กัน
  • 2. 2 ส่วนสหายผู้มีจิตคิดประทุษร้ายถึงจะอยู่ใกล้ ถ้ามีจิตคิดประทุษร้ายต่อกัน ก็ชื่อว่าอยู่ยังฟากฝั่งสมุทร [๓๖] ขอเดชะพระองค์ผู้จอมทัพ ผู้ผดุงรัฐให้เจริญ ศัตรูถึงจะอยู่ร่วมกัน ก็ชื่อว่าอยู่ห่างไกลกัน ส่วนบัณฑิตถึงจะอยู่ไกลกัน ก็ชื่อว่าอยู่ใกล้ เพราะมีใจนึกถึงกัน [๓๗] เพราะการอยู่ร่วมกันนานเกินไป คนที่รักกันก็จะกลายเป็นไม่รักกัน เพราะเหตุนั้น ข้าพระองค์ขอทูลลาไป ก่อนที่จะไม่เป็ นที่รักของพระองค์ (พระราชาตรัสกับพระโพธิสัตว์ว่า) [๓๘] หากการประคองอัญชลีของข้าพเจ้าผู้วิงวอนอยู่อย่างนี้ ท่านไม่ทราบและไม่ทาตามคาของข้าพเจ้าผู้ปรนนิบัติอยู่อย่างนี้ เมื่อเป็นเช่นนั้น ข้าพเจ้าขอร้องท่านว่า โปรดแวะเวียนมาอีก (ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์กล่าวว่า) [๓๙] ขอเดชะพระมหาราช ผู้ผดุงรัฐให้เจริญ หากเราทั้งหลายยังอยู่ปกติอย่างนี้ แม้พระองค์และข้าพระองค์ก็จักไม่มีอันตราย วันคืนต่อๆ ไป เราคงจะได้พบกันบ้างหรอก ชวนหังสชาดกที่ ๓ จบ -------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา ชวนหังสชาดก ว่าด้วย รักกันอยู่ไกลก็เหมือนอยู่ใกล้ พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภพระเทศนาทัฬหธัมมธนุคคหสูตร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้. ความพิสดารว่า จาเดิมแต่วันที่ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนนายขมังธนูมีธรรมมั่นคง ๔ นาย ฝึกฝนดีแล้ว มีมือได้ฝึกปรือแล้ว ยิงแม่นยา ยืน ๔ ทิศ ลาดับนั้น บุรุษคนหนึ่งมา เราจักจับลูกศรของนายขมังธนูผู้มีธรรมมั่นคง ๔ นายเหล่านี้ ที่ฝึกฝนดีแล้ว มีมือได้ฝึกปรือแล้ว ยิงแม่นยา ยิงไปทั้ง ๔ ทิศไม่ทันตกถึงดินเลยแล้วนามาให้ได้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสาคัญความข้อนั้นเป็นอย่างไร บุรุษผู้วิ่งไปด้วยความเร็วต้องประกอบด้วยความเร็วอย่างยอดเยี่ยม ดังนี้หรือ? เมื่อภิกษุทั้งหลายกราบทูลรับว่า อย่างนั้น พระเจ้าข้า. จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษจะเป็นปานใด ความเร็วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ยังเร็วกว่านั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษนั้นจะเร็วปานใดเล่า อนึ่งเล่า
  • 3. 3 ฝูงเทวดาย่อมเหาะไปข้างหน้าดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ ความเร็วของหมู่เทวดานั้น เร็วยิ่งกว่าความเร็วของดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเร็วของบุรุษนั้น ความเร็วของหมู่เทวดาเหล่านั้นปานใด อายุสังขารย่อมสิ้นไปเร็วกว่านั้น. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายพึงสาเหนียกในข้อนั้นอย่างนี้ว่า พวกเราต้องละความกระหายด้วยอานาจความกาหนัดในกามทั้งหลายที่บังเกิดแล้ วเสียให้ได้ อนึ่ง จิตของพวกเราต้องไม่ตั้งยึดความกระหาย ด้วยอานาจความกาหนัดในกามทั้งหลายไว้เลย พวกเราต้องเป็ นผู้ไม่ประมาท. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอต้องสาเหนียกอย่างนี้ทีเดียว ดังนี้ ในวันที่ ๒ พวกภิกษุสนทนากันในโรงธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระศาสดาทรงดารงในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงชี้แจงถ้วนถี่ถึงอายุสังขารของสัตว์เหล่านี้กระทาให้เป็นของชั่วประเดี๋ยวทุรพล ให้พวกภิกษุที่เป็นปุถุชนพากัน ถึงความสะดุ้งใจอย่างล้นพ้น โอ ธรรมดาพระพุทธพล อัศจรรย์นะ. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ พวกเธอนั่งสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ. เมื่อภิกษุเหล่านั้นกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่น่าอัศจรรย์เลย ที่เรานั้นบรรลุสัพพัญญุตญาณแล้วในบัดนี้ ชี้แจงถึงอายุสังขารในหมู่สัตว์ เป็นภาวะชั่วประเดี๋ยว แสดงธรรมให้พวกภิกษุสลดใจได้ เพราะในปางก่อน ถึงเราจะบังเกิดในกาเนิดหงส์ เป็ นอเหตุกสัตว์ ก็เคยชี้แจงความที่สังขารทั้งหลายเป็นสภาวะชั่วคราว แสดงธรรมให้บริษัททั้งสิ้น ตั้งต้นแต่พระเจ้าพาราณสี สลดได้ แล้วทรงนาอดีตนิทานมาดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติในกรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในกาเนิดชวนหงส์ มีหงส์เก้าหมื่นเป็นบริวาร อาศัยอยู่ ณ ภูเขาจิตตกูฏ วันหนึ่ง พระโพธิสัตว์พร้อมด้วยบริวาร เคี้ยวกินข้าวสาลีเกิดเองในสระแห่งหนึ่ง ณ พื้นชมพูทวีป บินไปสู่เขาจิตตกูฏ ด้วยการบินไปอันงดงามระย้าระยับทางเบื้องบนแห่งกรุงพาราณสี กับบริวารเป็ นอันมาก ประหนึ่งบุคคลลาดลาแพนทองไว้บนอากาศ ฉะนั้นทีเดียว. ครั้งนั้น พระเจ้าพาราณสีทอดพระเนตรเห็นพระโพธิสัตว์นั้น ตรัสแก่พวกอามาตย์ว่า อันหงส์แม้นี้คงเป็ นพระราชาเหมือนเรา บังเกิดพระสิเนหาในพระโพธิสัตว์นั้น
  • 4. 4 ทรงถือดอกไม้ของหอมและเครื่องประเทืองผิว ทอดพระเนตรดูพระโพธิสัตว์นั้น พลางรับสั่งให้ประโคมดนตรีทุกอย่าง. พระมหาสัตว์เห็นท้าวเธอทรงกระทาสักการะแก่ตน จึงถามฝูงหงส์ว่า พระราชาทรงกระทาสักการะเห็นปานนี้แก่เรา ทรงพระประสงค์อะไรเล่า. ฝูงหงส์พากันตอบว่า ข้าแต่สมมติเทพ ทรงพระประสงค์มิตรภาพกับพระองค์ พระเจ้าข้า. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น มิตรภาพของพวกเราจงมีแก่พระราชาเถิด กระทามิตรภาพแก่พระราชา แล้วหลีกไป. อยู่มาวันหนึ่ง ในเวลาที่พระราชาเสด็จสู่พระอุทยาน พระโพธิสัตว์บินไปสู่สระอโนดาต ใช้ปีกข้างหนึ่งนาน้ามาข้างหนึ่งนาผงจันทน์มา ให้พระราชาทรงสรงสนานด้วยน้านั้น โปรยผงจันทน์ถวาย เมื่อมหาชนกาลังดูอยู่นั่นแหละ ได้พาบริวารบินไปสู่เขาจิตตกูฏ. จาเดิมแต่นั้น พระราชาปรารถนาจะเห็นพระมหาสัตว์ ก็ประทับทอดพระเนตรทางที่มา ด้วยทรงพระอาโภคว่า สหายของเราคงมา วันนี้. ครั้งนั้น ลูกหงส์สองตัวเป็นน้องเล็กของพระมหาสัตว์ ปรึกษากันว่า เราจักบินแข่งกับพระอาทิตย์ บอกแก่พระมหาสัตว์ว่า ฉันจักบินแข่งกับดวงอาทิตย์. พระมหาสัตว์กล่าวว่า พ่อเอ๋ย อันความเร็วของดวงอาทิตย์เร็วพลัน เธอทั้งสองจักไม่สามารถบินแข่งกับดวงอาทิตย์ได้ดอก จักต้องย่อยยับเสีย ในระหว่างทีเดียว อย่าพากันไปเลยนะ. หงส์เหล่านั้นพากันอ้อนวอน ถึงสองครั้งสามครั้ง. แม้พระโพธิสัตว์ก็คงห้ามหงส์ทั้งสองนั้น ตลอดสามครั้งเหมือนกัน. หงส์ทั้งสองนั้นดื้อดันด้วยมานะ ไม่รู้กาลังของตน ไม่บอกแก่พระมหาสัตว์เลย คิดว่า เราจักบินแข่งกับดวงอาทิตย์. เมื่อดวงอาทิตย์ยังไม่ทันขึ้นไปเลย พากันบินไปจับอยู่ ณ ยอดเขายุคนธร. พระมหาสัตว์ไม่เห็นหงส์ทั้งสองนั้น ถามว่า หงส์ทั้งสองนั้นไปไหนกันเล่า ได้ฟังเรื่องนั้นแล้วคิดว่า หงส์ทั้งสองนั้นไม่อาจแข่งกับดวงอาทิตย์ จักพากันย่อยยับเสีย ระหว่างทางเป็นแม่นมั่น เราต้องให้ชีวิตทานแก่หงส์ทั้งสองนั้น. แม้พระมหาสัตว์ก็บินไปจับอยู่ที่ยอดเขายุคนธรเช่นเดียวกัน ครั้นเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว หงส์ทั้งคู่ก็บินถลาขึ้นไปกับดวงอาทิตย์. ฝ่ายพระมหาสัตว์เล่าก็บินไปกับหงส์ทั้งสองนั้น. น้องเล็กแข่งไปได้เพียงเวลาสายก็อิดโรย ได้เป็ นดุจเวลาที่จุดไฟขึ้นที่ข้อต่อแห่งปีกทั้งหลาย
  • 5. 5 น้องเล็กนั้นจึงให้สัญญาแก่พระโพธิสัตว์ให้ทราบว่า พี่จ๋า ฉันบินไม่ไหวแล้ว. ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์ปลอบเธอว่า อย่ากลัวเลยนะ ฉันจักให้ชีวิตแก่เธอ ประคองไว้ด้วยอ้อมปีก ให้เบาใจไปสู่เขาจิตตกูฏ มอบไว้ท่ามกลางฝูงหงส์ บินไปอีกทันดวงอาทิตย์ แล้วบินชลอไปกับน้องกลาง. บินแข่งกับดวงอาทิตย์ ไปจนถึงเวลาจวนเที่ยงก็อิดโรย ได้เป็ นดุจเวลาที่จุดไฟขึ้นที่ข้อต่อแห่งปีกทั้งหลาย. ลาดับนั้น ก็ให้สัญญาแก่พระโพธิสัตว์ให้ทราบว่า พี่จ๋า ฉันไปไม่ไหวละ. พระมหาสัตว์ปลอบโยนหงส์แม้นั้นโดยทานองเดียวกัน ประคองด้วยอ้อมปีกไปสู่เขาจิตตกูฏ ขณะนั้น ดวงอาทิตย์ถึงท่ามกลางฟ้ าพอดี ลาดับนั้น พระมหาสัตว์ดาริว่า วันนี้เราจักทดลองกาลังแห่งสรีระของเราดู แล้วบินไปด้วยความเร็วรวดเดียวเท่านั้น จับยอดเขายุคนธร ถลาขึ้นจากนั้น ใช้กาลังรวดเดียวเหมือนกันทันดวงอาทิตย์ บางคราวก็แข่งไปข้างหน้า บางคราวก็ไล่หลัง ได้คิดว่า อันการบินแข่งกับดวงอาทิตย์ของเราไร้ประโยชน์ เกิดประดังจากการทาในใจโดยไม่แยบคาย เราจะต้องการอะไรด้วยประการนี้ เราจักไปสู่พระนครพาราณสี กล่าวถ้อยคาประกอบด้วยอรรถประกอบด้วยธรรมแก่พระราชาสหายของเรา. พระมหาสัตว์นั้นหันกลับ เมื่อดวงอาทิตย์ยังไม่ทันโคจร ผ่านท่ามกลางฟ้ าไปเลย บินเลียบตามท้องจักรวาลทั้งสิ้น โดยที่สุดถึงที่สุดลดความเร็วลง บินเลียบชมพูทวีปทั้งสิ้น โดยที่สุดถึงที่สุด ถึงกรุงพาราณสี พระนครทั้งสิ้นอันมีบริเวณได้ ๑๒ โยชน์ ได้เป็นดุจหงส์กาบังไว้ ชื่อว่าระยะทางไม่ปรากฏเลย ครั้นความเร็วลดลงโดยลาดับ ช่องในอากาศจึงปรากฏได้. พระมหาสัตว์ผ่อนความเร็วลง ร่อนลงจากอากาศ ได้จับอยู่ ณ ที่เฉพาะช่องพระสีหบัญชร. พระราชาตรัสว่า สหายของเรามา ตรัสสั่งให้จัดตั้งตั่งทองเพื่อให้พระโพธิสัตว์เกาะ ตรัสว่า สหายเอ๋ย เชิญท่านเข้ามาเถิด เกาะที่ตรงนี้เถิด ดังนี้ ตรัสพระคาถาที่ ๑ ว่า ดูก่อนหงส์ เชิญเกาะที่ตั่งทองนี้เถิด การได้เห็นท่าน ชื่นใจฉันจริง ท่านเป็นอิสระในสถานที่นี้ ท่านมาถึงแล้ว รังเกียจสิ่งใดที่มีอยู่ในนิเวศน์นี้ จงบอกสิ่งนั้นให้ทราบเถิด. พระมหาสัตว์จับอยู่ที่ตั่งทอง พระราชารับสั่งให้คนทาช่องปีกของพระม หาสัตว์นั้นด้วยน้ามันที่หุงซ้าๆ ได้แสนครั้ง รับสั่งให้เอาข้าวตอกคลุกด้วยน้าผึ้งและน้าตาลกรวด ใส่จานทองพระราชทาน
  • 6. 6 ทรงกระทาปฏิสันถารอันอ่อนหวาน ตรัสถามว่า สหายเอ๋ย ท่านมาลาพังผู้เดียว ไปไหนมาเล่า. พระมหาสัตว์นั้นเล่าเรื่องนั้นโดยพิสดาร. ลาดับนั้น พระราชาตรัสกะพระมหาสัตว์นั้นว่า สหายเอ๋ย เชิญท่านแสดงความเร็วชนิดที่แข่งกับดวงอาทิตย์ให้ฉันดูบ้างเถิด. พระมหาสัตว์จึงทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช หม่อมฉันไม่สามารถที่จะแสดงความเร็วชนิดนั้นได้. พระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญเธอแสดงเพียงขนาดที่พอเห็นสมกันแก่ฉันเถิด. พระมหาสัตว์ทูลว่า ได้ซิมหาราช หม่อมฉันจักแสดงความเร็วขนาดที่พอเห็นสมถวาย พระองค์โปรดดารัสสั่งให้นายขมังธนูผู้ยิงรวดเร็วประชุมกันเถิด. พระราชาทรงให้นายขมังธนูประชุมกันแล้ว. พระมหาสัตว์คัดนายขมังธนูได้ ๔ นาย ซึ่งเป็ นเยี่ยมกว่าทุกๆ คน ลงจากพระราชนิเวศน์ ให้ฝังเสาศิลา ณ ท้องพระลานหลวง ให้ผูกลูกศรที่คอของตน จับอยู่ที่ยอดเสา ส่วนนายขมังธนูทั้ง ๔ นาย ให้ยืนพิงเสาศิลาผินหน้าไป ๔ ทิศ ทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช คน ๔ คนเหล่านี้ จงยิงลูกศร ๔ ลูกตรงไปทางทิศทั้ง ๔ โดยประดังพร้อมกัน หม่อมฉันจะเก็บลูกศรเหล่านั้นมา มิให้ทันตกดินเลย แล้วทิ้งลงแทบเท้าของคนเหล่านั้น พระองค์พึงทรงทราบ การที่หม่อมฉันไปเก็บลูกศร ด้วยสัญญาแห่งเสียงลูกศร แต่หม่อมฉันจักไม่ปรากฏเลย แล้วเก็บลูกศรที่นายขมังธนูทั้ง ๔ ยิงไปพร้อมกันทันที หลุดพ้นไปจากสายแล้ว มาทิ้งลงตรงใกล้ๆ เท้าของนายขมังธนูเหล่านั้น แสดงตนจับอยู่ ณ ยอดแห่งเสาศิลานั้นเอง กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ความเร็วของหม่อมฉันนี้ มิใช่ความเร็วอย่างสูงสุดดอก มิใช่ความเร็วปานกลาง เป็นความขนาดเลวชั้นโหล่ ข้าแต่มหาราช ความเร็วของหม่อมฉันพึงเป็นเช่นนี้นะ พระเจ้าข้า. ลาดับนั้น พระราชาทรงถามว่า สหายเอ๋ย ก็และความเร็วอย่างอื่นที่เร็วกว่าความเร็วของท่านน่ะ ยังมีหรือ. พระมหาสัตว์กราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า อายุสังขารของสัตว์เหล่านี้ย่อมสิ้น ย่อมสลาย ย่อมถึงความสิ้น เร็วพลันกว่า แม้แต่ความเร็วขนาดสูงสุดของหม่อมฉัน ตั้งร้อยเท่าพันทวีแสนทวี พระมหาสัตว์แสดงความสลายแห่งอรูปธรรมทั้งหลาย ด้วยสามารถความดับ อันเป็นไปทุกๆ ขณะ ด้วยประการฉะนี้. พระราชาทรงสดับคาของพระมหาสัตว์ ทรงกลัวต่อมรณภัย
  • 7. 7 ไม่สามารถดารงพระสติไว้ได้ ชวนพระกายล้มเหนือแผ่นดิน. มหาชนพากันถึงความสยดสยอง. พวกอามาตย์ต้องเอาน้าสรงพระพักตร์พระราชา ช่วยให้พระองค์ทรงกลับฟื้นคืนพระสติ. ลาดับนั้น พระมหาสัตว์กราบทูลเตือนว่า ข้าแต่พระมหาราช พระองค์อย่าได้ทรงหวาดเกรงเลย เชิญทรงเจริญมรณสติไว้เถิด ทรงประพฤติธรรมไว้เถิด ทรงกระทาบุญมีให้ทานเป็นต้นไว้เถิด พระองค์อย่าประมาทเถิด พระเจ้าข้า. ลาดับนั้น พระราชา เมื่อทรงอ้อนวอนว่า ฉันจักไม่สามารถที่จะอยู่แยกกับอาจารย์ผู้สมบูรณ์ด้วยญาณเช่นท่าน ชั่วระยะกาลอันใกล้ได้ ท่านไปต้องไปสู่เขาจิตตกูฎ ชี้แจงธรรมแก่ฉัน เป็นอาจารย์ให้โอวาทอยู่ ณ ที่นี้เลยเถิดนะ จึงตรัสพระคาถา ๒ คาถาว่า คนบางพวก ย่อมเป็ นที่รักของบุคคลบางคนเพราะได้ฟัง อนึ่ง ความรักของบุคคลบางคน ย่อมหมดสิ้นไปเพราะได้เห็น คนบางพวกย่อมเป็นที่รักเพราะได้เห็นและเพราะได้ฟัง ท่านรักใคร่ฉันเพราะได้เห็นบ้างไหม. ท่านเป็นที่รักของฉัน เพราะได้ฟัง และเป็ นที่รักของฉันยิ่งนัก เพราะอาศัยการเห็น ดูก่อนพญาหงส์ ท่านน่ารักน่าดูอย่างนี้ เชิญอยู่ในสานักของฉันเถิด. คาถาเหล่านั้นมีอธิบายว่า ดูก่อนสหายพญาหงส์ บุคคลจาพวกหนึ่งย่อมน่ารักด้วยการฟัง คือดูดดื่มใจด้วยได้ฟัง เพราะได้ยินว่ามีคุณอย่างนี้ แต่จาพวกหนึ่งพอเห็นเท่านั้น ความพอใจหมดไปเลย คือความรักหายไปหมด ปรากฏเหมือนพวกยักษ์ที่มากันมาเพื่อกัดกิน จาพวกหนึ่งเล่าเป็ นผู้น่ารักได้ทั้งสถาน คือทั้งได้เห็น ทั้งได้ฟัง เหตุนั้น ฉันขอถามท่าน เพราะเห็นฉัน ท่านจึงรักฉันบ้างหรือไร คือท่านยังจะพึงใจฉันบ้างหรือไม่ แต่สาหรับฉัน ท่านเป็ นที่รักด้วยได้ยิน แน่ละ ยิ่งมาเห็นยิ่งรักนักเทียว ท่านเป็ นที่รักน่าดูของฉันเช่นนี้ อย่าไปสู่เขาจิตตกูฏ จงอยู่ในสานักของฉันนี้เถิด. พระโพธิสัตว์กราบทูลด้วยคาถาว่า ข้าพระองค์ทั้งหลายได้รับการสักการบูชาแล้วเป็ นนิตย์พึงอยู่ในพระรา ชนิเวศน์ของพระองค์ แต่บางครั้ง พระองค์ทรงเมาน้าจัณฑ์แล้ว จะพึงตรัสสั่งว่า จงย่างพญาหงส์ให้ฉันที. ลาดับนั้น พระราชา เพื่อจะประทานพระปฏิญญาแก่พระโพธิสัตว์นั้นว่า ถ้าเช่นนั้น
  • 8. 8 ฉันจักไม่ดื่มน้าเมาเป็นเด็ดขาด จึงตรัสพระคาถานี้ว่า การดื่มน้าเมา ซึ่งเป็ นที่รักของฉันยิ่งกว่าท่าน ฉันติเตียนการดื่มน้าเมานั้น เอาเถอะ ตลอดเวลาที่ท่านยังอยู่ในนิเวศน์ของฉัน ฉันจักไม่ดื่มน้าเมาเลย. ต่อจากนั้น พระโพธิสัตว์กล่าวคาถา ๖ คาถาว่า ข้าแต่พระราชา เสียงของสุนัขจิ้งจอกทั้งหลายก็ดี ของนกทั้งหลายก็ดี รู้ได้ง่าย แต่เสียงของมนุษย์รู้ได้ยากกว่านั้น. อนึ่ง ผู้ใดเมื่อก่อนเป็ นผู้ใจดี คนทั้งหลายนับถือว่าเป็ นญาติ เป็ นมิตร หรือเป็นสหาย ภายหลังผู้นั้นกลับกลายเป็นศัตรูไปก็ได้ ใจของมนุษย์รู้ได้ยากอย่างนี้. ใจจดจ่ออยู่ในบุคคลใด แม้บุคคลนั้นจะอยู่ไกลก็เหมือนกับอยู่ใกล้ ใจเหินห่างจากบุคคลใด แม้บุคคลนั้นจะอยู่ใกล้ก็เหมือนกับอยู่ไกล. ถ้ามีจิตเลื่อมใสรักใคร่กัน ถึงแม้จะอยู่กันคนละฝั่งสมุทรก็เหมือนอยู่ใกล้ชิดกัน ถ้ามีจิตประทุษร้ายกัน ถึงแม้จะอยู่ใกล้ชิดกัน ก็เหมือนกับอยู่คนละฝั่งสมุทร. ข้าแต่พระองค์ผู้ประเสริฐ คนที่เป็นศัตรูกันถึงจะอยู่ร่วมกันก็เหมือนกับอยู่ห่างไกลกัน ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นมิ่งขวัญแห่งรัฐ คนที่รักกันถึงแม้จะอยู่ห่างไกลกัน ก็เหมือนกับอยู่ร่วมกันด้วยหัวใจ. ด้วยการอยู่ร่วมกันนานเกินควร คนรักกันย่อมกลายเป็นคนไม่รักกันก็ได้ ข้าพระองค์ขอทูลลาพระองค์ไป ก่อนที่ข้าพระองค์จะกลายเป็นผู้ไม่เป็นที่รักของพระองค์. ลาดับนั้น พระราชาตรัสกะพระโพธิสัตว์นั้นว่า เมื่อเราวิงวอนอยู่อย่างนี้ ถ้าท่านมิได้รู้ถึงความนับถือของเรา ท่านก็มิได้ทาตามคาวิงวอนของเรา ซึ่งจะเป็นผู้ปรนนิบัติท่าน เมื่อเป็นอย่างนี้ เราขอวิงวอนท่านว่า ท่านพึงหมั่นมาที่นี้บ่อยๆ นะ. ลาดับนั้น พระโพธิสัตว์จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชาเจ้าผู้เป็นมิ่งขวัญแห่งรัฐ ถ้าเราอยู่กันเป็นปกติอย่างนี้ อันตรายจักยังไม่มี ทั้งแก่พระองค์และแก่ข้าพระองค์ เป็นอันแน่นอนว่า เราทั้งสองคงได้พบเห็นกัน ในเมื่อวันคืนผ่านไปเป็ นแน่. พระมหาสัตว์ถวายโอวาทพระราชาอย่างนี้แล้ว ก็บินไปเขาจิตตกูฏแล. พระศาสดาทรงนาพระธรรมเทศนานี้มา แล้วตรัสว่า
  • 9. 9 ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในปางก่อน ถึงเราจะเกิดในกาเนิดดิรัจฉานก็เคยชี้แจงความทุรพลของอายุสังขาร แสดงธรรมได้เหมือนกัน ด้วยประการฉะนี้ ประชุมชาดกว่า พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอานนท์ น้องเล็กได้มาเป็ น พระโมคคัลลานะ น้องกลางได้มาเป็น พระสารีบุตร ฝูงหงส์ที่เหลือได้มาเป็น พุทธบริษัท ส่วนชวนหงส์ คือ เราตถาคต แล. จบอรรถกถาชวนหังสชาดกที่ ๓ -----------------------------------------------------