SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
1
ทาสีวิมาน
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
๒. จิตตลตาวรรค
หมวดว่าด้วยสวนจิตลดาของเหล่าเทวดา
๑. ทาสีวิมาน
ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่หญิงคนใช้
(พระมหาโมคคัลลานเถระถามว่า)
[๑๕๗] เธอมีหมู่เทพนารีห้อมล้อม ดุจท้าวสักกเทวราช
เที่ยวชมไปโดยรอบในสวนจิตรลดาอันน่ารื่นรมย์
เปล่งรัศมีสว่างไสวไปทั่วทุกทิศอยู่ ดุจดาวประกายพรึก
[๑๕๘] เพราะบุญอะไรผิวพรรณเธอจึงงามเช่นนี้
ผลอันพึงปรารถนาจึงสาเร็จแก่เธอในวิมานนี้
และโภคะทั้งมวลล้วนน่าพอใจจึงเกิดขึ้นแก่เธอ
[๑๕๙] เทพธิดาผู้มีอานุภาพมาก อาตมาขอถามว่า
เมื่อเธอเกิดเป็นมนุษย์ได้ทาบุญอะไรไว้ เพราะบุญอะไรเธอจึงมีอานุภาพรุ่งเรือง
และมีรัศมีสว่างไสวไปทั่วทุกทิศอย่างนี้
[๑๖๐] เทพธิดานั้นดีใจที่พระมหาโมคคัลลานเถระถาม
จึงตอบปัญหาผลกรรมไปตามที่พระเถระถามว่า
[๑๖๑] เมื่อดิฉันเกิดเป็นมนุษย์อยู่ในหมู่มนุษย์ เป็นคนใช้
ทางานรับใช้ผู้อื่นอยู่ในสกุลหนึ่ง
[๑๖๒] เป็นอุบาสิกาของพระโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระจักษุ
ทรงพระยศ ดิฉันได้มีความพากเพียรออกจากกิเลส
ในศาสนาของพระศาสดาผู้ทรงพระคุณคงที่ เพราะมีมนสิการมั่นอยู่ในใจว่า
[๑๖๓] แม้ถึงร่างกายนี้จะแตกสลายไปก็ตามที
การที่เราจะหยุดความเพียรในการเจริญกรรมฐานนี้ จะไม่มีเป็ นอันขาด
[๑๖๔] ขอเชิญท่านดูผลแห่งความเพียรออกจากกิเลส
ซึ่งดิฉันผู้มีความรู้น้อย ได้บรรลุอริยมรรค อันมีสิกขาบท ๕ เป็ นอุปนิสัย
เป็นทางสวัสดี เป็ นเหตุถึงความเกษม ไม่มีขวากหนามคือกิเลส
เป็นสภาวะที่(ตัณหาและทิฏฐิ) ยึดเหนี่ยวไม่ได้
เป็นทางตรงที่สัตบุรุษทั้งหลายประกาศแล้วนี้เถิด
[๑๖๕] ท้าวสักกเทวราชผู้ทรงอานาจเชิญดิฉันมา
เหล่าดุริยเทพหกหมื่นองค์ ช่วยกันปลุกเร้าดิฉัน ให้เกิดปีติโสมนัส
[๑๖๖] ได้แก่ เทพบุตรมีนามว่าอาลัมพะ คัคคระ ภีมะ สาธุวาที ปสังสิยะ
โปกขระและสุผัสสะ เหล่าเทพธิดาน้อยๆ มีนามว่า วีณา โมกขา
2
[๑๖๗] นันทา สุนันทา โสณทินนา สุจิมหิตา อลัมพุสา
มิสสเกสีและบุณฑริกา
[๑๖๘] อนึ่ง เทพกัญญาอีกพวกหนึ่ง คือ เอณีปัสสา สุผัสสา สุภัททา
และมุทุวาทินี ผู้ประเสริฐกว่านางอัปสรทั้งหลาย
ผู้มีหน้าที่ปลุกเร้าให้เกิดปีติโสมนัส
[๑๖๙] เทวดาเหล่านั้น พอได้เวลาก็เข้ามาหาดิฉัน
เสนอสนองด้วยวาจาน่ายินดีว่า เอาเถอะ พวกเราจักฟ้ อนรา ขับร้อง
บาเรอเธอให้รื่นรมย์
[๑๗๐] สถานที่ที่ดิฉันได้รับในบัดนี้
มิใช่สถานที่สาหรับคนที่ไม่ได้ทาบุญไว้
แต่เป็นสถานที่สาหรับคนที่ได้ทาบุญไว้แล้วเท่านั้น ไม่มีความโศก น่าเพลิดเพลิน
เจริญใจ เป็นอุทยานกว้างใหญ่ของเหล่าเทพชั้นไตรทศ
[๑๗๑]
สาหรับผู้ที่ไม่ได้ทาบุญไว้ย่อมไม่มีความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า
ส่วนผู้ที่ได้ทาบุญไว้แล้วย่อมมีความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้าแน่นอน
[๑๗๒] ผู้ปรารถนาจะสถิตอยู่ร่วมกับเทพชั้นดาวดึงส์เหล่านั้น
ควรทากุศลไว้ให้มาก
เพราะว่าเหล่าชนผู้ได้ทาบุญไว้แล้วย่อมพรั่งพร้อมด้วยโภคสมบัติ
บันเทิงอยู่ในสวรรค์
ทาสีวิมานที่ ๑ จบ
----------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ
อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ จิตตลดาวรรคที่ ๒
๑. ทาสีวิมาน
จิตตลดาวรรคที่ ๒
๑. อรรถกถาทาสีวิมาน
ทาสีวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร?
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน
อุบาสกคนหนึ่งชาวกรุงสาวัตถี ไปพระวิหารในเวลาเย็น กับอุบาสกเป็นอันมาก
ฟังธรรมแล้ว เข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อบริษัทออกไปแล้ว กราบทูลว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แต่วันนี้ไป ข้าพระองค์จักถวายภัตตาหารประจา ๔
สารับแก่สงฆ์.
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมกถาอันสมควรแก่เขา
ทรงปล่อยเขากลับไป.
อุบาสกนั้นเรียนพระภัตตุทเทสก์ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
3
ข้าพเจ้าจัดภัตตาหารประจาไว้ ๔ สารับถวายสงฆ์ วันพรุ่งนี้
ขอพระเป็นเจ้าโปรดมาเรือนของข้าพเจ้าเถิดดังนี้แล้ว
กลับไปเรือนของตนบอกเรื่องนั้นแก่ทาสีแล้ว
สั่งสาทับว่าเจ้าไม่พึงลืมเรื่องนั้นตลอดเวลาเป็นนิตย์เชียวนะ.
ทาสีนั้นก็รับคา. ตามปกติ นางมีศรัทธาสมบูรณ์ อยากได้ทาบุญมีศีล
เพราะฉะนั้น จึงตื่นเช้าทุกวันตระเตรียมข้าวและน้าอันประณีต
กวาดที่นั่งของพวกภิกษุ จัดเครื่องเรือนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปูอาสนะ
นิมนต์ภิกษุผู้เข้าไปก่อนให้นั่งบนอาสนะเหล่านั้นแล้ว
จึงไหว้บูชาด้วยของหอมดอกไม้ธูปและเทียน อังคาสโดยเคารพ.
ต่อมาวันหนึ่ง นางเข้าไปหาภิกษุผู้ฉันเสร็จไหว้แล้ว จึงถามอย่างนี้ว่า
ท่านเจ้าขา จะหลุดพ้นจากทุกข์มีชาติเป็นต้นนี้ได้อย่างไร เจ้าคะ.
ภิกษุทั้งหลายให้สรณะและศีล ๕ แก่นาง แล้วประกาศให้รู้สภาพของร่างกาย
ประกอบนางไว้ในปฏิกูลมนสิการใส่ใจว่าปฏิกูล.
ภิกษุอีกพวกหนึ่งกล่าวธรรมีกถาที่เกี่ยวด้วยความไม่เที่ยง.
นางรักษาศีลอยู่ ๑๖ ปี ทาโยนิโสมนสิการติดต่อกันมาตลอดวันหนึ่ง
ได้ความสบายในการฟังธรรมและเจริญวิปัสสนาเพราะญาณแก่กล้า
ก็ทาให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล.
สมัยต่อมา
นางทากาละแล้วไปเกิดเป็นนางบาเรอสนิทเสน่หาของท้าวสักกเทวราช.
นางอันดุริยเทพหกหมื่นบาเรออยู่ มีอัปสรแสนหนึ่งแวดล้อม
เสวยทิพย์สมบัติใหญ่ ร่าเริงบันเทิงพร้อมด้วยบริวาร เที่ยวไปในอุทยานเป็นต้น.
ท่านพระมหาโมคคัลลานะเห็นนางแล้ว
ได้ถามโดยนัยที่กล่าวในหนหลังนั่นแหละว่า
ท่านแวดล้อมด้วยหมู่เทพนารี
เที่ยวชมไปโดยรอบในสวนจิตตลดาวันอันน่ารื่นรมย์ ประดุจท้าวสักกเทวราช
ส่องแสงสว่างไสวไปทุกทิศ เหมือนดาวประกายพรึก เพราะบุญอะไร
ท่านจึงมีวรรณะเช่นนี้ เพราะบุญอะไร อิฐผลนี้จึงสาเร็จแก่ท่าน
และโภคทุกอย่างที่น่ารักจึงเกิดแก่ท่าน.
ดูราเทพธิดาผู้มีอานุภาพมาก อาตมาขอถามท่าน
ครั้งเกิดเป็นมนุษย์ท่านได้ทาบุญอะไรไว้ ท่านจึงมีอานุภาพรุ่งเรืองอย่างนี้
และรัศมีของท่านจึงสว่างไสวไปทั่วทุกทิศ.
นางเทพธิดานั้นถูกพระโมคคัลลานะถามแล้วดีใจ
ก็พยากรณ์ปัญหาของกรรมที่มีผลอย่างนี้.
เทวดาตอบว่า
ครั้งเกิดเป็นมนุษย์อยู่ในหมู่มนุษย์
4
ดีฉันได้เป็นทาสี หญิงรับใช้ในตระกูลอื่น
ดีฉันนั้นเป็ นอุบาสิกาของพระโคดม ผู้มีพระจักษุและพระเกียรติยศ
พากเพียรออกไปจากกิเลส ในศาสนาของพระโคดมผู้ทรงพระคุณคงที่
เพราะมีมนสิการมั่นอยู่ในจิตว่า แม้ถึงร่างกายนี้จะแตกทาลายไปก็ตามที
การจะหยุดความเพียรในการเจริญกัมมัฏฐานนี้ ไม่มีเป็นอันขาด ทาง [มรรค]
แห่งสิกขาบท ๕ [ศีล ๕] เป็นทางสวัสดี มีความเจริญ ไม่มีหนาม ไม่รก
เป็นทางตรง สัตบุรุษประกาศแล้ว ท่านโปรดดูผลแห่งความเพียร
คือที่ดีฉันบรรลุอริยมรรคตามอุบายที่ต้องการเถิด
ดีฉันถูกท้าวสักกเทวราชผู้มีอานาจเชิญมา เหล่าดุริยเทพหกหมื่นช่วยกันปลุกดีฉัน
คือเทพบุตรนามว่า อาลัมพะ คัคคมะ ภีมะ สาธุวาทิ ปสังสยะ โปกขระ และสุผัสสะ
และเหล่าเทพธิดาวัยรุ่น นามว่า วีณา โมกขา นันทา สุนันทา โสณทินนา สุจิมหิตา
อาลัมพุสา มิสสเกสี บุณฑริกา และเทพกัญญาอีกพวกหนึ่งเหล่านี้คือ
นางเอนิปัสสา นางสุปัสสา นางสุภัททา นางมุทุกาวที
ผู้ประเสริฐกว่าเทพอัปสรทั้งหลายก็ช่วยกันปลุกเทพอัปสรเหล่านั้น
ได้เข้ามาหาดีฉันตามกาลอันควร พากันพูดด้วยวาจาที่น่ายินดีว่า
เอาเถิดพวกเราจักฟ้ อนรา ขับร้องจักนาท่านให้รื่นรมย์ดังนี้ นันทนวันมหาวัน
เป็นที่ไม่เศร้าโศก เป็ นที่น่ารื่นรมย์ของทวยเทพชั้นไตรทศนี้
มิใช่สาหรับผู้ที่มิได้ทาบุญไว้ หากเป็ นของสาหรับผู้ทาบุญไว้เท่านั้น
มิใช่สุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า หากเป็นสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
สาหรับผู้ทาบุญไว้เท่านั้น
อันบุคคลผู้ปรารถนาร่วมกับทวยเทพชั้นไตรทศเหล่านั้น
ควรจะบาเพ็ญกุศลไว้ให้มาก
เพราะว่าผู้ทาบุญไว้แล้วย่อมเพรียบพร้อมด้วยโภคสมบัติบันเทิงอยู่ในสวรรค์.
พระเถระแสดงธรรมแก่เทวดานั้นพร้อมกับบริวาร
เมื่อเทวดาทาบุญกรรมของตนให้แจ่มแจ้งแล้วอย่างนี้
กลับมาจากเทวโลกแล้วก็กราบทูลเรื่องนั้นถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงนาเนื้อความนั้นให้เป็นอัตถุปปัตติเหตุเกิดเรื่อ
ง ทรงแสดงธรรมแก่บริษัทที่ประชุมกัน
พระธรรมเทศนานั้นได้เป็นประโยชน์แก่โลกพร้อมทั้งเทวโลกแล.
จบอรรถกถาทาสีวิมาน
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

Similar to ๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx (20)

๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๔. จตุตถปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๖๕. ปฐมอคาริยวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๒๕. สุนิททาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๕. สุนิททาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๒๕. สุนิททาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๕. สุนิททาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓. ตติยปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ ).docx
๓. ตติยปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ ).docx๓. ตติยปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ ).docx
๓. ตติยปีฐวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ ).docx
 
๑๓. ปฐมสุณิสาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๑๓. ปฐมสุณิสาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๑๓. ปฐมสุณิสาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๑๓. ปฐมสุณิสาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
๒๗. ปฐมภิกขาทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับม...
 
๔๓. กัญชิกทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๔๓. กัญชิกทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๔๓. กัญชิกทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๔๓. กัญชิกทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๑๙. ลขุมาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๑๙. ลขุมาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๑๙. ลขุมาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๑๙. ลขุมาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๔๙. วันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๙. วันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๙. วันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๙. วันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๑๑. ปฐมปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๔๖. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๓๐. อุจฉุทายิกาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๓๑. ปัลลังกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๒๔. อุโปสถาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๓๗. วิสาลักขิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๙. ปทีปวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๙. ปทีปวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx๙. ปทีปวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
๙. ปทีปวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx
 
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
๑๒. ทุติยปติพพตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหา...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๔๘. อุจฉุวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๒๙. อุฬารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๒๙. อุฬารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๒๙. อุฬารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๒๙. อุฬารวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 

More from maruay songtanin

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
maruay songtanin
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
400 ทัพภปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
399 มาตุโปสกคิชฌชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
398 สุตนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
397 มโนชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
395 มณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
394 วัฏฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
393 วิฆาสาทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
392 อุปสิงฆปุปผชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
391 ปัพพชิตวิเหฐกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจ...
 
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
390 มัยหกสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
389 สุวัณณกักกฏกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
388 ตุณฑิลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
386 ขรปุตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
385 นันทิยมิคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
384 ธัมมัทธชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
383 กุกกุฏชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
382 สิริกาฬกัณณิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
381 มิคาโลปชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
380 อาสังกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
379 เนรุชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

๑๘. ทาสีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]).docx

  • 1. 1 ทาสีวิมาน พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา ๒. จิตตลตาวรรค หมวดว่าด้วยสวนจิตลดาของเหล่าเทวดา ๑. ทาสีวิมาน ว่าด้วยวิมานที่เกิดขึ้นแก่หญิงคนใช้ (พระมหาโมคคัลลานเถระถามว่า) [๑๕๗] เธอมีหมู่เทพนารีห้อมล้อม ดุจท้าวสักกเทวราช เที่ยวชมไปโดยรอบในสวนจิตรลดาอันน่ารื่นรมย์ เปล่งรัศมีสว่างไสวไปทั่วทุกทิศอยู่ ดุจดาวประกายพรึก [๑๕๘] เพราะบุญอะไรผิวพรรณเธอจึงงามเช่นนี้ ผลอันพึงปรารถนาจึงสาเร็จแก่เธอในวิมานนี้ และโภคะทั้งมวลล้วนน่าพอใจจึงเกิดขึ้นแก่เธอ [๑๕๙] เทพธิดาผู้มีอานุภาพมาก อาตมาขอถามว่า เมื่อเธอเกิดเป็นมนุษย์ได้ทาบุญอะไรไว้ เพราะบุญอะไรเธอจึงมีอานุภาพรุ่งเรือง และมีรัศมีสว่างไสวไปทั่วทุกทิศอย่างนี้ [๑๖๐] เทพธิดานั้นดีใจที่พระมหาโมคคัลลานเถระถาม จึงตอบปัญหาผลกรรมไปตามที่พระเถระถามว่า [๑๖๑] เมื่อดิฉันเกิดเป็นมนุษย์อยู่ในหมู่มนุษย์ เป็นคนใช้ ทางานรับใช้ผู้อื่นอยู่ในสกุลหนึ่ง [๑๖๒] เป็นอุบาสิกาของพระโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงมีพระจักษุ ทรงพระยศ ดิฉันได้มีความพากเพียรออกจากกิเลส ในศาสนาของพระศาสดาผู้ทรงพระคุณคงที่ เพราะมีมนสิการมั่นอยู่ในใจว่า [๑๖๓] แม้ถึงร่างกายนี้จะแตกสลายไปก็ตามที การที่เราจะหยุดความเพียรในการเจริญกรรมฐานนี้ จะไม่มีเป็ นอันขาด [๑๖๔] ขอเชิญท่านดูผลแห่งความเพียรออกจากกิเลส ซึ่งดิฉันผู้มีความรู้น้อย ได้บรรลุอริยมรรค อันมีสิกขาบท ๕ เป็ นอุปนิสัย เป็นทางสวัสดี เป็ นเหตุถึงความเกษม ไม่มีขวากหนามคือกิเลส เป็นสภาวะที่(ตัณหาและทิฏฐิ) ยึดเหนี่ยวไม่ได้ เป็นทางตรงที่สัตบุรุษทั้งหลายประกาศแล้วนี้เถิด [๑๖๕] ท้าวสักกเทวราชผู้ทรงอานาจเชิญดิฉันมา เหล่าดุริยเทพหกหมื่นองค์ ช่วยกันปลุกเร้าดิฉัน ให้เกิดปีติโสมนัส [๑๖๖] ได้แก่ เทพบุตรมีนามว่าอาลัมพะ คัคคระ ภีมะ สาธุวาที ปสังสิยะ โปกขระและสุผัสสะ เหล่าเทพธิดาน้อยๆ มีนามว่า วีณา โมกขา
  • 2. 2 [๑๖๗] นันทา สุนันทา โสณทินนา สุจิมหิตา อลัมพุสา มิสสเกสีและบุณฑริกา [๑๖๘] อนึ่ง เทพกัญญาอีกพวกหนึ่ง คือ เอณีปัสสา สุผัสสา สุภัททา และมุทุวาทินี ผู้ประเสริฐกว่านางอัปสรทั้งหลาย ผู้มีหน้าที่ปลุกเร้าให้เกิดปีติโสมนัส [๑๖๙] เทวดาเหล่านั้น พอได้เวลาก็เข้ามาหาดิฉัน เสนอสนองด้วยวาจาน่ายินดีว่า เอาเถอะ พวกเราจักฟ้ อนรา ขับร้อง บาเรอเธอให้รื่นรมย์ [๑๗๐] สถานที่ที่ดิฉันได้รับในบัดนี้ มิใช่สถานที่สาหรับคนที่ไม่ได้ทาบุญไว้ แต่เป็นสถานที่สาหรับคนที่ได้ทาบุญไว้แล้วเท่านั้น ไม่มีความโศก น่าเพลิดเพลิน เจริญใจ เป็นอุทยานกว้างใหญ่ของเหล่าเทพชั้นไตรทศ [๑๗๑] สาหรับผู้ที่ไม่ได้ทาบุญไว้ย่อมไม่มีความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้า ส่วนผู้ที่ได้ทาบุญไว้แล้วย่อมมีความสุขทั้งโลกนี้และโลกหน้าแน่นอน [๑๗๒] ผู้ปรารถนาจะสถิตอยู่ร่วมกับเทพชั้นดาวดึงส์เหล่านั้น ควรทากุศลไว้ให้มาก เพราะว่าเหล่าชนผู้ได้ทาบุญไว้แล้วย่อมพรั่งพร้อมด้วยโภคสมบัติ บันเทิงอยู่ในสวรรค์ ทาสีวิมานที่ ๑ จบ ---------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของ อรรถกถา ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ จิตตลดาวรรคที่ ๒ ๑. ทาสีวิมาน จิตตลดาวรรคที่ ๒ ๑. อรรถกถาทาสีวิมาน ทาสีวิมานนั้นเกิดขึ้นอย่างไร? เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระเชตวัน อุบาสกคนหนึ่งชาวกรุงสาวัตถี ไปพระวิหารในเวลาเย็น กับอุบาสกเป็นอันมาก ฟังธรรมแล้ว เข้าไปเฝ้ าพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อบริษัทออกไปแล้ว กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แต่วันนี้ไป ข้าพระองค์จักถวายภัตตาหารประจา ๔ สารับแก่สงฆ์. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมกถาอันสมควรแก่เขา ทรงปล่อยเขากลับไป. อุบาสกนั้นเรียนพระภัตตุทเทสก์ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
  • 3. 3 ข้าพเจ้าจัดภัตตาหารประจาไว้ ๔ สารับถวายสงฆ์ วันพรุ่งนี้ ขอพระเป็นเจ้าโปรดมาเรือนของข้าพเจ้าเถิดดังนี้แล้ว กลับไปเรือนของตนบอกเรื่องนั้นแก่ทาสีแล้ว สั่งสาทับว่าเจ้าไม่พึงลืมเรื่องนั้นตลอดเวลาเป็นนิตย์เชียวนะ. ทาสีนั้นก็รับคา. ตามปกติ นางมีศรัทธาสมบูรณ์ อยากได้ทาบุญมีศีล เพราะฉะนั้น จึงตื่นเช้าทุกวันตระเตรียมข้าวและน้าอันประณีต กวาดที่นั่งของพวกภิกษุ จัดเครื่องเรือนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปูอาสนะ นิมนต์ภิกษุผู้เข้าไปก่อนให้นั่งบนอาสนะเหล่านั้นแล้ว จึงไหว้บูชาด้วยของหอมดอกไม้ธูปและเทียน อังคาสโดยเคารพ. ต่อมาวันหนึ่ง นางเข้าไปหาภิกษุผู้ฉันเสร็จไหว้แล้ว จึงถามอย่างนี้ว่า ท่านเจ้าขา จะหลุดพ้นจากทุกข์มีชาติเป็นต้นนี้ได้อย่างไร เจ้าคะ. ภิกษุทั้งหลายให้สรณะและศีล ๕ แก่นาง แล้วประกาศให้รู้สภาพของร่างกาย ประกอบนางไว้ในปฏิกูลมนสิการใส่ใจว่าปฏิกูล. ภิกษุอีกพวกหนึ่งกล่าวธรรมีกถาที่เกี่ยวด้วยความไม่เที่ยง. นางรักษาศีลอยู่ ๑๖ ปี ทาโยนิโสมนสิการติดต่อกันมาตลอดวันหนึ่ง ได้ความสบายในการฟังธรรมและเจริญวิปัสสนาเพราะญาณแก่กล้า ก็ทาให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. สมัยต่อมา นางทากาละแล้วไปเกิดเป็นนางบาเรอสนิทเสน่หาของท้าวสักกเทวราช. นางอันดุริยเทพหกหมื่นบาเรออยู่ มีอัปสรแสนหนึ่งแวดล้อม เสวยทิพย์สมบัติใหญ่ ร่าเริงบันเทิงพร้อมด้วยบริวาร เที่ยวไปในอุทยานเป็นต้น. ท่านพระมหาโมคคัลลานะเห็นนางแล้ว ได้ถามโดยนัยที่กล่าวในหนหลังนั่นแหละว่า ท่านแวดล้อมด้วยหมู่เทพนารี เที่ยวชมไปโดยรอบในสวนจิตตลดาวันอันน่ารื่นรมย์ ประดุจท้าวสักกเทวราช ส่องแสงสว่างไสวไปทุกทิศ เหมือนดาวประกายพรึก เพราะบุญอะไร ท่านจึงมีวรรณะเช่นนี้ เพราะบุญอะไร อิฐผลนี้จึงสาเร็จแก่ท่าน และโภคทุกอย่างที่น่ารักจึงเกิดแก่ท่าน. ดูราเทพธิดาผู้มีอานุภาพมาก อาตมาขอถามท่าน ครั้งเกิดเป็นมนุษย์ท่านได้ทาบุญอะไรไว้ ท่านจึงมีอานุภาพรุ่งเรืองอย่างนี้ และรัศมีของท่านจึงสว่างไสวไปทั่วทุกทิศ. นางเทพธิดานั้นถูกพระโมคคัลลานะถามแล้วดีใจ ก็พยากรณ์ปัญหาของกรรมที่มีผลอย่างนี้. เทวดาตอบว่า ครั้งเกิดเป็นมนุษย์อยู่ในหมู่มนุษย์
  • 4. 4 ดีฉันได้เป็นทาสี หญิงรับใช้ในตระกูลอื่น ดีฉันนั้นเป็ นอุบาสิกาของพระโคดม ผู้มีพระจักษุและพระเกียรติยศ พากเพียรออกไปจากกิเลส ในศาสนาของพระโคดมผู้ทรงพระคุณคงที่ เพราะมีมนสิการมั่นอยู่ในจิตว่า แม้ถึงร่างกายนี้จะแตกทาลายไปก็ตามที การจะหยุดความเพียรในการเจริญกัมมัฏฐานนี้ ไม่มีเป็นอันขาด ทาง [มรรค] แห่งสิกขาบท ๕ [ศีล ๕] เป็นทางสวัสดี มีความเจริญ ไม่มีหนาม ไม่รก เป็นทางตรง สัตบุรุษประกาศแล้ว ท่านโปรดดูผลแห่งความเพียร คือที่ดีฉันบรรลุอริยมรรคตามอุบายที่ต้องการเถิด ดีฉันถูกท้าวสักกเทวราชผู้มีอานาจเชิญมา เหล่าดุริยเทพหกหมื่นช่วยกันปลุกดีฉัน คือเทพบุตรนามว่า อาลัมพะ คัคคมะ ภีมะ สาธุวาทิ ปสังสยะ โปกขระ และสุผัสสะ และเหล่าเทพธิดาวัยรุ่น นามว่า วีณา โมกขา นันทา สุนันทา โสณทินนา สุจิมหิตา อาลัมพุสา มิสสเกสี บุณฑริกา และเทพกัญญาอีกพวกหนึ่งเหล่านี้คือ นางเอนิปัสสา นางสุปัสสา นางสุภัททา นางมุทุกาวที ผู้ประเสริฐกว่าเทพอัปสรทั้งหลายก็ช่วยกันปลุกเทพอัปสรเหล่านั้น ได้เข้ามาหาดีฉันตามกาลอันควร พากันพูดด้วยวาจาที่น่ายินดีว่า เอาเถิดพวกเราจักฟ้ อนรา ขับร้องจักนาท่านให้รื่นรมย์ดังนี้ นันทนวันมหาวัน เป็นที่ไม่เศร้าโศก เป็ นที่น่ารื่นรมย์ของทวยเทพชั้นไตรทศนี้ มิใช่สาหรับผู้ที่มิได้ทาบุญไว้ หากเป็ นของสาหรับผู้ทาบุญไว้เท่านั้น มิใช่สุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า หากเป็นสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า สาหรับผู้ทาบุญไว้เท่านั้น อันบุคคลผู้ปรารถนาร่วมกับทวยเทพชั้นไตรทศเหล่านั้น ควรจะบาเพ็ญกุศลไว้ให้มาก เพราะว่าผู้ทาบุญไว้แล้วย่อมเพรียบพร้อมด้วยโภคสมบัติบันเทิงอยู่ในสวรรค์. พระเถระแสดงธรรมแก่เทวดานั้นพร้อมกับบริวาร เมื่อเทวดาทาบุญกรรมของตนให้แจ่มแจ้งแล้วอย่างนี้ กลับมาจากเทวโลกแล้วก็กราบทูลเรื่องนั้นถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงนาเนื้อความนั้นให้เป็นอัตถุปปัตติเหตุเกิดเรื่อ ง ทรงแสดงธรรมแก่บริษัทที่ประชุมกัน พระธรรมเทศนานั้นได้เป็นประโยชน์แก่โลกพร้อมทั้งเทวโลกแล. จบอรรถกถาทาสีวิมาน -----------------------------------------------------