SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู 
                          คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รหัสวิชา ค31202 
                              เรื่อง   ฟงกชัน ( Function ) 

ผลการเรียนรู 

       - เขียนกราฟของฟงกชันทีกําหนดใหได
                               ่
กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง 

1.  กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร            2.  สาระที่ 2  ฟงกชัน  ( การเขียนกราฟของฟงกชัน ) 
3.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1   , ค 4.2  อธิบายและวิเคราะหแบบรูป ( pattern )  ความสัมพันธและฟงกชนตาง ๆ ได 
                                                                                                    ั               4.  ระดับชั้น  ม. 4  จํานวน  7  ชั่วโมง 

                                                                                                                                               มาตรฐาน 
   ผลการเรียนรู            ภาระงาน / กิจกรรมหลัก                     ผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะ                  เกณฑการประเมิน             คุณภาพที่ 
                                                                                                                                                 สงผล 
 นักเรียนเขียน    นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกจกรรมดังนี้ 
                                            ิ                  1.   สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน ั  1.  การสรุปหลักการเขียนกราฟ 
 กราฟของฟงกชัน  1.  บอกหลักการเขียนกราฟของฟงกชัน           2.   เขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดให      ของฟงกชัน 
 ที่กําหนดใหได  2.  เขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดให         3.   นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน         2.  การเขียนกราฟของฟงกชนที่ 
                                                                                                                                  ั
                  3.  สรุปผลงาน  นําเสนอหนาชั้นเรียน  ใน      4.   เขียนกราฟของฟงกชันตามความสนใจ       กําหนดให 
                      การเขียนกราฟของฟงกชนที่ 
                                              ั                5.   นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน         3.  การนําเสนอผลงาน 
                      กําหนดให                                                                       4.  การเขียนกราฟของฟงกชน    ั
                  4.  เขียนกราฟของฟงชันตามความสนใจ                            คุณลักษณะ                  ตามความสนใจ 
                      ของนักเรียน                              -  การทํางานรวมกับผูอื่น  ( A  )     5.  การนําเสนอผลงาน 
                  5.  สรุปผลงาน  นําเสนอหนาชั้นเรียน  ใน                                             6.  การทํางานรวมกับผูอื่น
                      การเขียนกราฟของฟงกชน  ตามความ 
                                                ั
                      สนใจ 
แผนการจัดการเรียนรู 
   กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รหัสวิชา ค31202  ระดับชั้น  ม. 4 
ชื่อหนวยการเรียนรู     ฟงกชน 
                               ั       เรื่อง  การเขียนกราฟฟงกชันที่กําหนดให    จํานวน  7  ชั่วโมง 

1.  ผลการเรียนรู 
     นักเรียนเขียนกราฟทีกําหนดใหได 
                           ่
2.  สาระการเรียนรู 
     การเขียนกราฟของฟงกชนมี  3  แบบ   คือ 
                              ั
     2.1  กราฟของฟงกชันเชิงเสน 
     2.2  กราฟของฟงกชันกําลังสอง 
     2.3  กราฟของฟงกชันคาสัมบูรณ 
1.  กิจกรรมการเรียนการสอน  ( ใชกระบวนการกลุม ) 
    ชั่งโมงที่ 1 
    ขั้นนํา 
    1.  นักเรียนยกตัวอยางความสัมพันธที่เปนฟงกชน  ั
    2.  บอกลักษณะความสัมพันธที่เปนฟงกชน       ั
    3.  อภิปรายหาขอสรุป 
     ขั้นสอน 
     1.  ครูกําหนดฟงกชันในรูปคูอนดับและฟงกชนที่เปนเงื่อนไข 
                                    ั               ั
     2.  นักเรียนหาโดเมนและเรนจของฟงกชน      ั
     3.  เขียนกราฟของฟงกชัน 
     ขั้นสรุป 
     1.  นักเรียนสรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชัน 
     2.  ครูเสนอแนะเพิ่มเติม 
     ชั่งโมงที่ 2 – 4 
     ขั้นนํา 
     ทบทวนหลักการเขียนกราฟของฟงกชน         ั
     ขั้นสอน 
     1.  แบงกลุมนักเรียนกลุมละ  4 – 5  คน 
     2.  นักเรียนศึกษาใบความรูที่  1  เรื่องกราฟของฟงกชัน 
     3.  นักเรียนปฏิบัตกิจกรรมที่ 1  เรื่องการเขียนกราฟ
                         ิ
ขั้นสรุป 
1.  สรุปและนําเสนอผลงานกลุม 
2.  ครูและนักเรียนรวมกันสรุปและเสนอแนะเพิ่มเติม 

ชั่งโมงที่ 5 – 6 
 ขั้นนํา 
ทบทวนกราฟของฟงกชันเชิงเสน  ฟงกชนกําลังสองและฟงกชันคาสัมบูรณ 
                                          ั
ขั้นสอน 
1.  แบงกลุม ๆ ละ  4 – 5  คน 
2.  ปฏิบัติกิจกรรมที่ 2  เรื่องการเขียนฟงกชันตามความสนใจ 
ขั้นสรุป 
1.  นําเสนอผลงานกลุม 
2.  ครูและนักเรียนรวมกันสรุปและเสนอแนะเพิ่มเติม 

ชั่วโมงที่ 7 
นักเรียนแตละกลุมแลกเปลี่ยนผลงาน  ประเมินผลตามเกณฑที่กําหนดไว
ใบความรูที่  1 
          กิจกรรมเสนอแนะ 
     1.  กราฟของฟงกชันเชิงเสน 
     2.  กราฟของฟงกชันกําลังสอง 
     3.  กราฟของฟงกชันคาสัมบูรณ 



กราฟของฟงกชันเชิงเสน 
      ฟงกชันเชิงเสนคือฟงกชันที่อยูในรูป     f ( x ) =  ax + b  ; a  ,  b Î R 
      ตัวอยาง  จงเขียนกราฟของฟงกชน     ั      f  (x  )  =  2 x  + 1 
วิธีทํา        จาก  f  (x  )  =  2 x  + 1 

          x        -2        -1       0          1          2 
         f(x)      -3        -1       1          3          5 
                                                      Y 




                                                                                      X
กราฟของฟงกชันกําลังสอง 
          ฟงกชันกําลังสอง  คือฟงกชันที่อยูในรูป  f  (x ) =  ax 2    a  ¹ 0 
ตัวอยาง  จงเขียนกราฟของฟงกชน  f (x  )  =  x  2 
                                   ั
วิธีทํา  จาก  f (x  )  =  x  2 

          x       -2       -1       0        1         2 
         f(x)     4        1        0        1         4 
                                                  Y 




                                                                             X




กราฟของฟงกชันคาสัมบูรณ 
         ฟงกชันคาสัมบูรณ  คือฟงกชันที่อยูในรูป 
                                                           f  ( x ) =  ax  ; a  ¹ 0 
ตัวอยาง  จงเขียนกราฟของฟงกชน  f (x  )  =  x 
                                    ั
วิธีทํา  จาก  f (x  )  =  x 

          x       -2       -1       0        1         2 
         f(x)     2        1        0        1         2 
                                                  Y 




                                                                                   X 
ใบกิจกรรมที่  1 
จงเขียนกราฟของฟงกชันตอไปนี้ 
1.  f  (x  )  =  3x  - 2 




2.    f  (x  )  =  - x  + 5




3.    f (x  )  =  - x  2 




4.    f  (x  )  =  x  2 + 2 




5.    f  (x  )  =  2 x 




6.    f (x  )  = - x 
ใบกิจกรรมที่  2 
คําชี้แจง  นักเรียนแตละกลุมสรางฟงกชันทีนักเรียนสนใจ  พรอมทั้งเขียนกราฟกลุมละ  3  ฟงกชัน  ดังนี้ 
                                            ่
          1.  ฟงกชันเชิงเสน  1  ขอ 
          2.  ฟงกชันกําลังสอง  1  ขอ 
          3.  ฟงกชันคาสัมบูรณ  1  ขอ
เกณฑระดับคุณภาพ 
1.  ผลงาน  :  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชัน 
    ตัวบงชี ้ 1.  หาคา  x , y  ของฟงกชน 
                                          ั
               2.  บอกคูอันดับของฟงกชัน  และบอกโดเมน  ,  เรนจ   ของฟงกชัน 
               3.  กําหนดจุดบนกราฟ 
               4.  เขียนกราฟของฟงกชัน 
               ระดับคุณภาพ                                             การแปล 
                 4   (ดีมาก)                 สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชนครบถวน ตามตัวบงชี้  4  ขอ 
                                                                          ั
                   3   ( ดี  )               สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน     ตามตัวบงชี้  3  ขอ 
                                                                            ั
                2  ( พอใช )                 สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน     ตามตัวบงชี้  2  ขอ 
                                                                              ั
               1  ( ปรับปรุง )               สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน  ตามตัวบงชี้  1  ขอ 
                                                                                ั

2.  ผลงาน  :  การเขียนกราฟของฟงกชนที่กําหนดใหและทีนักเรียนสนใจ 
                                   ั                 ่
           ระดับคุณภาพ                                            การแปล 
             4   (ดีมาก)          เขียนกราฟของฟงกชันไดถกตองชัดเจน 
                                                            ู
              3   ( ดี  )         เขียนกราฟของฟงกชันไดถกตองเปนสวนใหญ 
                                                              ู
            2  ( พอใช )          เขียนกราฟของฟงกชันไดถกตองเปนบางสวน 
                                                                ู
          1  ( ปรับปรุง )         เขียนกราฟของฟงกชันไมถูกตอง 

3.  ผลงาน  :  การนําเสนอผลงาน   หมายถึง  การนําเสนอผลปฏิบติงานหนาชันเรียน 
                                                              ั         ้
          ระดับคุณภาพ                                           การแปล 
            4   (ดีมาก)          นําเสนอดวยวิธีที่ชัดเจนเปนไปตามลําดับขั้นตอนอยางตอเนื่อง นาสนใจ 
              3   ( ดี  )        นําเสนอตามลําดับขั้นตอน  สื่อความหมายไดพอสมควร 
            2  ( พอใช )         นําเสนออยางไมมีลําดับขั้นตอน  ไมนาสนใจ 
          1  ( ปรับปรุง )        ไมนําเสนอผลงาน
4.  คุณลักษณะ  :  การทํางานรวมกับผูอน ื่
    พฤติกรรมบงชี ้
          1.  ปฏิบัติงานกลุมตามที่รับมอบหมาย 
          2.  แสดงความคิดเห็นในการทํางานกลุม 
          3.  ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 
          4.  พยายามงานของกลุมใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว 

        ระดับคุณภาพ                                          การแปล 
          4   (ดีมาก)           นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้  รอยละ  80  ขึ้นไป 
            3   ( ดี  )         นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้  70 – 79 
         2  ( พอใช )           นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้  60 – 69 
        1  ( ปรับปรุง )         นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้    ต่ํากวารอยละ  60
แผนการจัดการเรียนรู 



ผลการเรียนรู 

       -  สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหและนําไปใชได
กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง 

1.  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร             2.  สาระที่ 2  ฟงกชัน  (สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหและนําไปใชได) 
3.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1   , ค 4.2  อธิบายและวิเคราะหแบบรูป ( pattern )  ความสัมพันธและฟงกชนตาง ๆ ได  4.  ระดับชั้น  ม. 4  จํานวน  5  ชั่วโมง 
                                                                                                    ั

                                                                                                                                             มาตรฐาน 
   ผลการเรียนรู            ภาระงาน / กิจกรรมหลัก                   ผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะ                 เกณฑการประเมิน              คุณภาพที่ 
                                                                                                                                               สงผล 
 นักเรียนสราง  นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกจกรรมดังนี้ 
                                          ิ
 ฟงกชันจาก    1.  สรุปหลักการ    วิธีการสรางจาก  1.  สรุปหลักการวิธการสรางฟงกชนจาก  1.  การสรุปหลักการวิธีการสราง 
                                                                          ี             ั
 สถานการณหรือ      สถานการณหรือปญหาที่กําหนดให         สถานการณหรือปญหาที่กําหนด ( K )       ฟงกชันจากสถานการณหรือ 
 ปญหาที่       2.  นําความรูการสรางฟงกชันไปใช 
                                                      2.  ฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจ 
                                                                                    ั              ปญหาที่กําหนด ( K ) 
 กําหนดใหและ       แกปญหา                               เพื่อใชในการแกปญหา  ( P ) 
                                                                                              2.  การฟงกชนจากสถานการณที่ 
                                                                                                             ั
 นําไปใชได                                                                                       นักเรียนสนใจ    เพื่อใชในการ 
                                                                                                   แกปญหา  ( P ) 

                                                                            คุณลักษณะ 
                                                             1.  ความรับผิดชอบ  ( A )                   1.  การรับผิดชอบตองานทีให ่
                                                             2.  การทํางานรวมกับผูอื่น  ( A )             ( A ) 
                                                                                                        2.  การทํางานรวมกับผูอื่น  ( A )
แผนการจัดการเรียนรู 
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร              คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รหัสวิชา ค 31202  ระดับชั้น  ม. 4 
ชื่อหนวยการเรียนรู     ฟงกชน  เรื่อง   การสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาทีกําหนดให จํานวน  5 ชั่วโมง 
                               ั                         ั                         ่

1.  สาระสําคัญ 
    เพื่อใหนักเรียนมีทักษะความรูในการสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดให    และสามารถนํา 
                                                                    ั
    ความรูไปสรางฟงกชันที่สนใจได 
               ฟงกชันที่ควรรูจัก 
                                  
    1.  ฟงกชันเชิงเสน  (Linear  function )  คือฟงกชันที่อยูในรูป  f(x)   =    ax + b  เมื่อ  a  และ  b  เปน 
                                                                                    
    จํานวนจริง 
    2.  ฟงกชันขั้นบันได  ( Step    function )  คือฟงกชันที่มโดเมนเปนสับเซตของ  R  และมีคาฟงกชันคงตัว 
                                                                                  ี
    เปนชวง ๆ   มากกวา  2  ชวง 
    3.  ฟงกชันกําลังสอง  ( Quadratic  function)  คือฟงกชนที่อยูในรูป  f (x  ) = ax  2  + bx  + c  เมื่อ  a , b 
                                                                                ั
    c  เปนจํานวนจริงใด ๆ  และ  a  ¹ 0 
    4.  ฟงกชันพหุนาม  ( Polynomial   function )  คือฟงกชนที่อยูในรูป     ั
         f ( x ) =  a  x n  + a  -1 x n -1  + ... + a  x 2  + a  x + a 
                       n       n                     2         1       0      แล  a  , a  -1  , ...  a  , a  , a  เปนคาคงตัวและ  n 
                                                                                      n  n         ,  2  1  0 
    เปนจํานวนเต็ม  ซึ่งมากกวาหรือเทากับศูนย 
    5.  ฟงกชันตรรกยะ  ( Rational    function )  คือฟงกชันที่อยูในรูป  f (x  ) =  p (x  ) เมื่อ  p  ,  q  เปน 
                                                                                                               q (x  ) 
    ฟงกชันพหุนาม 
    6.  ฟงกชนที่เปนคาบ  ( Periodic    function )  เปนฟงกชัน  f  ซึ่งไมใชฟงกชันคงตัว   จะเปนฟงกชันที่ 
                 ั
    เปนคาบก็ตอเมื่อ  มีจํานวนจริง  p  ซึ่ง  f ( x + p)  =  f(x)  สําหรับทุกคาของ  x  และ  x + p  ที่อยูในโดเมน 
    ของ  f 
               ซึ่งผูเรียนสามารถนําความรูเรื่องฟงกชันไปใชเปนพื้นฐานในการเรียนรูชนสูงตอไป            ั้
2.  ผลการเรียนรู 
    นักเรียนสามารถสรุปหลักการวิธการสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหและนําไปใชได 
                                                 ี                 ั
3.  สาระการเรียนรู 
    3.1  นักเรียนสามารถสรุปหลักการ  วิธการสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหได 
                                                       ี                    ั
    3.2  นักเรียนสามารถเขียนฟงกชนจากสถานการณที่นกเรียนสนใจ  เพื่อใชในการแกปญหาได 
                                               ั                          ั
4.  เนื้อหา 
    การสรางฟงกชนชนิดตาง ๆ
                         ั
กิจกรรมการเรียนการสอน 
     กระบวนการเรียนรูทใช 
                       ี่
    1.  กระบวนการกลุม 
    2.  กระบวนการสรางความคิดรวบยอด 

   ชั่วโมงที่ 1 
   ขั้นนําเขาสูบทเรียน 
   1.  แบงนักเรียนออกเปนกลุม ๆ ละ  4  คน 
   2.  ใหนักเรียนแตละกลุมยกตัวอยางฟงกชันทีนักเรียนรูจกมากลุมละ  2  ตัวอยาง  โดยตองเปนฟงกชันที่ไม 
                                                ่           ั
        ซ้ํากัน 
   3.  ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนตัวอยางฟงกชัน ที่แตละกลุมยกตัวอยางมา 

   ชั่วโมงที่ 2 
   4.  ครูยกตัวอยางการเหตุการณในชีวตประจําวันมาสรางเปนฟงกชันและใหนกเรียนสังเกต    วิธีการสราง 
                                       ิ                                  ั
        ฟงกชันจากเหตุการณ 
   5.  ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวิธการสรางฟงกชนจากเหตุการณในชีวิตประจําวัน 
                                         ี           ั
   6.  นักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุป  หลักการสรางฟงกชันเปนความคิดรวบยอดของกลุมตนเอง  และนําสง 

   ชั่วโมงที่ 3 
   7.  ครูกําหนดสถานการณใหนักเรียนสรางฟงกชนจากสถานการณที่ครูกําหนดขึ้น 
                                               ั
   8.  ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนและตรวจผลงาน  โดยใชเกณฑทครูกําหนดให 
                                                        ี่

   ชั่วโมงที่ 4 
   9.  ใหนักเรียนไปสรางฟงกชัน  จากเหตุการณหรือปญหาที่นกเรียนสนใจกลุมละ  5  ตัวอยาง 
                                                            ั
   10.  แตละกลุมแลกเปลี่ยนกันประเมินระหวางกลุมและนํามาปรับปรุงแกไขใหถูกตอง  แลวนําสงครูผูสอน 

   ชั่วโมงที่ 5 
   11.  ใหนักเรียนแตละคนสรุปหลักการสรางฟงกชันชนิดตาง  ๆ    และสรางฟงกชันจากเหตุการณทนักเรียน 
                                                                                              ี่
        สนใจ  แลวนําสงครูผูสอน
วิธีวัดผล
       1.  ตรวจบันทึกสรุปหลักการการสรางฟงกชนจากสถานการณ 
                                               ั
       2.  ตรวจการสรางฟงกชันที่นกเรียนสนใจ 
                                   ั
       3.  สังเกตการทํางาน  ความรับผิดชอบและการทํางานรวมกับผูอื่น 

เกณฑการประเมินผล 
   เกณฑระดับคุณภาพ 
   1.  ผลงาน   การสรุปหลักการใชการสรางฟงกชัน   หมายถึง   การสรุปหลักการ  วิธีการสรางฟงกชนโดยมี 
                                                                                               ั
เกณฑการประเมินดังนี้ 

       ระดับคุณภาพ                                            การแปล 
         4   (ดีมาก)         สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชันไดครบถวนถูกตอง 
           3   ( ดี  )       สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชันได  แตมีขอบกพรองบางสวน 
        2  ( พอใช )         สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชันไดครบถวนถูกตอง ในหลักการที่สําคัญ 
       1  ( ปรับปรุง )       สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชัน  แตยังขาดหลักการที่สําคัญ 

  2.  การสรางฟงกชนจากสถานการณทนักเรียนสนใจ      หมายถึง    การสรางฟงกชันทีนักเรียนสนใจไดถูกตอง 
                    ั                ี่                                          ่
สมบูรณ  โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้ 

  ระดับคุณภาพ                                           การแปล 
    4   (ดีมาก)  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจไดอยางเปนขันตอนถูกตองสมบูรณ 
                                                ั                      ้
      3   ( ดี  )  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจไดอยางคอนขางสมบูรณมีขอบกพรองเพียง 
                                                  ั
                   บางสวน 
   2  ( พอใช )  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจได   แตไมสมบูรณ   มีขอบกพรอง   ขาดสวน 
                                                    ั
                   ที่สําคัญไป 
  1  ( ปรับปรุง )  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจได    ขั้นตอนไมชัดเจนขาดความสมบูรณ 
                                                      ั
                   และไมถูกตอง
3.  ความรับผิดชอบ   หมาย  การรับผิดชอบตองานที่ให  โดยมีพฤติกรรม  คือ 
       1)  ปฏิบัติตามแผนที่กําหนด 
       2)  สงงานตามที่กําหนด 
       3)  บอกจุดเดนจุดดอยของงานที่ทําได 
       4)  รับคําติชมของผูอื่น 
       โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้ 

ระดับคุณภาพ                                                  การแปล 
   4   (ดีมาก)       ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ดวยความเต็มใจ 
    3   ( ดี  )      ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ไดดวยตนเองเปนสวนใหญ  โดยไมตองมีใครคอยเตือน 
  2  ( พอใช )       ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ไดดวยตนเองครึ่งตอครึ่ง  โดยไมตองมีใครเตือน 
1  ( ปรับปรุง )  ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ไดก็ตอเมื่อมีคนคอยเตือน 
4.  การทํางานรวมกับผูอื่น   หมายถึงการแสดงพฤติกรรมบงชี้ตอไปนี้คือ 
        1)  การดําเนินงานยึดเปาหมายของกลุม 
        2)  มีการปฏิสัมพันธรวมกับกลุม 
        3)  แสดงความคิดเห็น  สนใจความรูสึกและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 
        4)  ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย 

  ระดับคุณภาพ                                              การแปล 
   4   (ดีมาก)         รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายและ 
                       ขอตกลงของกลุมจนสําเร็จ    มีปฏิสัมพันธรวมกับกลุมดวยความเอาใจใสและแสดง 
                       ความคิดเห็น  โดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นและยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น 
     3   ( ดี  )       รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายและ 
                       ขอตกลงของกลุมจนสําเร็จ    มีปฏิสัมพันธรวมกับกลุมดวยความเอาใจใสและแสดง 
                       ความคิดเห็น    โดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นและยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น 
                       บางประเด็น 
    2  ( พอใช )       รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายและ 
                       ขอตกลงของกลุมจนสําเร็จ    มีปฏิสัมพันธรวมกับกลุมไมคอยเอาใจใสและไมแสดง 
                       ความคิดเห็นในการทํางานกลุม 
  1  ( ปรับปรุง )      รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    แตไมปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายและ 
                       ขอตกลงของกลุมขาดการแสดงความคิดเห็นและไมยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
การสรุปภาพรวมผลการเรียนรูที่คาดหวัง  :  สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาทีกําหนดให 
                                                                                            ่
และนําไปใชได 
               นําผลการประเมินจากผลงานหรือคุณลักษณะรวมกันแลวเทียบกับชวงคะแนนในการตัดสินผลการ 
เรียนรูที่คาดหวังดังนี้ 


             ระดับคุณภาพ                                                ชวงคะแนน 
               4   (ดีมาก)                                                14 – 16 
                 3   ( ดี  )                                              11 – 13 
              2  ( พอใช )                                                 8 – 10 
             1  ( ปรับปรุง )                                              ต่ํากวา 8 

การประกันผลการเรียนรูและการประกันการสอน 
    รายบุคคล      ผูเรียนมีผลการเรียนรูในการเรียนรูที่คาดหวัง  :  สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาที่ 
                                               
กําหนด  และนําไปใช  อยูในระดับ  ดี  ขึนไป  ถือวา  ผาน 
                                             ้
    รายกลุม                  รอยละ  75  ของจํานวนผูเรียนที่ไดระดับผลการเรียนรู  ดี  ขึนไป    ถือวาผูสอนประสบ 
                                                                                           ้
ความสําเร็จในการสอน
แผนการจัดการเรียนรู 



ผลการเรียนรู 

       -  เขียนกราฟของฟงกชนและการนําไปใชในการแกปญหาได
                            ั
กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง 

1.  กลุมสาระการเรียนรู  คณิตศาสตร           2.  สาระที่ 3  กราฟ  (เขียนกราฟของฟงกชนและการนําไปใชในการแกปญหาได) 
                                                                                            ั                       
3.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1   , ค 4.2  อธิบายและวิเคราะหแบบรูป ( pattern )  ความสัมพันธและฟงกชนตาง ๆ ได  4.  ระดับชั้น  ม. 4  จํานวน  5  ชั่วโมง 
                                                                                                    ั

                                                                                                                                            มาตรฐาน 
   ผลการเรียนรู            ภาระงาน / กิจกรรมหลัก                   ผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะ                 เกณฑการประเมิน             คุณภาพที่ 
                                                                                                                                              สงผล 
 นักเรียนเขียน      นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกจกรรมดังนี้ 
                                              ิ
 กราฟของฟงกชัน    1.  สรุปวิธีการเขียนกราฟของฟงกชน 
                                                      ั      1.  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของ  1.  การสรุปหลักการและวิธีการ 
 และการนําไปใช     2.  เขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดให         ฟงกชัน                               นําเสนอขอมูล 
 ในการแกปญหา      3.  แกปญหาโดยอาศัยกราฟของฟงกชัน      2.  กราฟของฟงกชัน                    2.  การเขียนกราฟของฟงกชนที่ 
                                                                                                                             ั
 ได                                                         3.  นําเสนอปญหาและการแกปญหาโดย          กําหนดให 
                                                                 อาศัยกราฟของฟงกชันหนาชันเรียน 
                                                                                           ้        3.  การนําเสนอผลงาน 

                                                             คุณลักษณะ 
                    4.  เขียนสะทอนความรูสึกตอการ          1.  การทํางานรวมกับผูอื่น                4.  การทํางานรวมกับผูอื่น 
                        ปฏิบัติงาน                           2.  เจตคติที่มีตอการเรียนการสอน           5.  เจตคติที่มีตอการเรียนการ 
                                                                                                            สอน
แผนการจัดการเรียนรู 
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  คณิตศาสตรพื้นฐาน  รหัสวิชา ค31202  ระดับชั้น  ม. 4 
ชื่อหนวยการเรียนรู กราฟ เรื่อง  เขียนกราฟของฟงกชันและการนําไปใชในการแกปญหาจํานวน  5  ชั่วโมง 
กิจกรรมการเรียนการสอน 
      กระบวนการเรียนรูทใช   ี่
                   -  กระบวนการกลุม 
                   -  กระบวนการสรางความตระหนัก 
                   -  กระบวนการสรางความคิดรวบยอด 
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 
      1.  ใหนักเรียนยกตัวอยางฟงกชัน  2 – 3  ฟงกชัน  ในรูปสมการ 
      2.  ใหนักเรียนชวยกันหาโดเมนและเรนจของฟงกชนจากขอ 1   ั
      3.  เขียนคูอันดับของสมาชิกของฟงกชันบางคูอันดับในรูปตาราง 
      4.  ใหนักเรียนเสนอแนะวิธีการเขียนกราฟของฟงกชนที่นกเรียนยกตัวอยาง 
                                                                  ั ั
      5.  จากวิธการเขียนกราฟทีนักเรียนนําเสนอมาจะสรุปวิธีการเขียนกราฟที่ถูกตอง 
                    ี                ่
      6.  แจงจุดประสงคการเรียนรู 
ขั้นดําเนินการสอน 
      ชั่วโมงที่ 1 
      1.  แบงกลุมนักเรียนกลุมละ  4-5  คน   ใหภาระงานกับนักเรียนแตละกลุม  หาสมการของฟงกชันมาอยาง 
นอยกลุมละ  1  สมการ 
      2.  ใหแตละกลุมหาโดเมนและเรนจในรูปตารางคูอันดับ 
      3.  นําคูอันดับที่ไดจากขอ  2  เขียนกราฟจุดลงในกระดาษกราฟ 
      4.  ถามนักเรียนถึงแนวโนมของเสนกราฟ  ที่จะเกิดขึ้นจากฟงกชันของแตละกลุม 
                                       f  =  { (x , y  ) |  y  = 2 x  + 1 }
      5.  ครูยกตัวอยางฟงกชัน  1                                                  ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความ 
                                       f 2  = {(x , y  ) Î I ´ I |  y  = 2 x  + 1 
                                                                                 } 
แตกตางของฟงกชันทั้งสอง 
      ( ฟงกชัน  f 1  โดเมนและเรนจเปนเซตของจํานวนจริง 
        ฟงกชัน  f 2  โดเมนและเรนจเปนเซตของจํานวนเต็ม) 
      6.  กราฟของฟงกชันทั้งสองแตกตางกันอยางไร 
      ( ฟงกชัน  f 1  ลักษณะกราฟเปนเสนตรงตอเนื่อง 
        ฟงกชัน  f 2  ลักษณะกราฟเปนจุด) 
      7.  ครูและนักเรียนรวมกันสรุปรูปแบบของกราฟและวิธการเขียนกราฟของฟงกชัน 
                                                                    ี
      8.  นักเรียนแตละกลุมนํากราฟที่สรางไปปรับปรุงแกไขแลวรวบรวมสงครู
ชั่วโมงที่ 2 – 3 
        1.  นักเรียนแตละกลุมนํากราฟที่สงกลับมาเตรียมตัวเพื่อเสนอหนาชั้นเรียนพรอมทั้งตอบขอซักถาม 
        2.  สุมตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน  ( กลุมละ  10 – 15 นาที ) 
        3.  ครูและเพื่อนในกลุมตาง ๆ  ซักถามขอสงสัย 
        4.  ครูสรุปการนําเสนอหนาชั้นเรียนและชมเชยนักเรียนในแตละกลุม 
        ชั่วโมงที่ 4 
        1.  ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาปญหาจากใบงาน 
        2.  กําหนดปญหาอยูในรูปของฟงกชน 
                                            ั
        3.  เขียนกราฟของฟงกชันที่ได 
        4.  ตอบปญหาโดยอาศัยกราฟที่ได 
        5.  สุมตัวแทนของบางกลุมมานําเสนอวิธีแกปญหา    โดยอาศัยกราฟของฟงกชันโดยมีครูเปนผูชี้แนะและ 
             ชมเชยกลุมที่ทําถูกตองสมบูรณ 
        ชั่วโมงที่ 5 
        1.  นําผลงานในการแกปญหาใหครูตรวจความเรียบรอยแลว นํากลับมาแกไขตกแตงใหสวยงาม 
        2.  นําผลงานที่ปรับปรุงแกไขเรียนรอยไปติดบอรด 
        3.  ใหนักเรียนประเมินผลโดยกรอกในใบประเมิน 
                 ก.  ใบประเมินในกลุมตนเอง 
                 ข.  ใบประเมินกลุมอื่น 
        4.  สงใบประเมินและครูสรุปกิจกรรม 
สื่อ 
        1.    กระดาษกราฟ 
        2.    ใบงาน 
        3.    กระดานแมเหล็กพรอมตัวติด 
        4.    สีเมจิก 
        5.    กระดาษชารท 
        6.    แบบประเมินตนเอง 
        7.    แบบประเมินเพื่อน 
        8.    แบบประเมินของครู
ใบงานที่ 1 
ชุดที่ 1 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 
      ปญหา  นาย    ก.  ขายขนมโดยมีตารางของขอมูลการลงทุนดังนี้ 
                                       ทุน                  กําไร (บาท) 
                                        0                        0 
                                        5                        1 
                                       10                        2 
                                       15                        3 
                                       20                        4 
      จงหาวา  ถานาย  ก  ลงทุน  100  บาทแลวขายขนมไดหมด  จะไดกําไรกี่บาท 

ชุดที่ 2 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 
ปญหา  ในการศึกษาพื้นทีของสี่เหลี่ยมจัตุรัส   นาย   ก    สงสัยวาถาความยาวของดานเทากับ  10  ซ.ม   พื้นที่จะ 
                          ่
เปนเทาใด 

ชุดที่ 3 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 

ปญหา  ในการขายสินคาอยางหนึ่งพบวาความสัมพันธของทุนและกําไรเปนไปตามสมการ  y  =  10 – ( x – 3) 2 

ชุดที่ 4 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 

ปญหา  ถารัศมีของทรงกลมเทากับ  7  เมตร   ปริมาตรของทรงกลมจะเปนเทาใด
ชุดที่ 5 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 

ปญหา  อัตราคาไปรษณียากรในการสงพัสดุภายในประเทศ   คาสงคิดกิโลกรัมละ  7  บาท   ถาไมถึงกิโลกรัม 
คิดเปน  1  กิโลกรัม    ถาเกินกิโลกรัมใดก็ตามคิดเปนกิโลกรัมถัดไปถาพัสดุที่จะสงหนัก  5.4  กิโลกรัม  จะตอง 
เสียเงินคาสงกี่บาท 


ชุดที่ 6 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 

ปญหา  เมื่อโยนกอนหินลงไปในสระ  ผิวน้ําระลอกเปนวงกลม  ซึ่งมีรัศมี  ( r )  เพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผานไป ( t ) 
การเพิ่มของรัศมีเปนไปตามสมการ  r  =  4t  จงหาวาพืนที่ของวงกลมที่เกิดขึ้นบนผิวน้ําสัมพันธกับเวลาอยางไร 
                                                   ้


ชุดที่ 7 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 

ปญหา  ปริมาตรของทรงกลม  ( v )  กับรัศมีของทรงกลม  ( r )  จงหาคาของ  r  เมื่อ  v  =  729  ลูกบาศก 
เซนติเมตร 


ชุดที่ 8 
      ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ 
ฟงกชัน 

ปญหา  งานการกุศลครั้งหนึ่ง  กําหนดราคาบัตรเขาชมงานดังนี้    ผูที่มีอายุเกิน  12  ปขึ้นไป  บัตรละ  20  บาท 
ผูที่มีอายุตั้งแต  3 – 12  ป   บัตรละ  5  บาท     ผูที่มีอายุต่ํากวา  3  ปไมตองซื้อบัตร   จงหาวา  ถานายดําอายุ  32  ป 
พรอมดวยภรรยาและลูกอีก  2  คน    ซึ่ง  อายุ  29  ป  12  ป  และ  2  ป   ตามลําดับ  เขาชมงานครั้งนี้จะเสียเงินกี่ 
บาท
เกณฑการประเมิน 

    เกณฑระดับคุณภาพ 

1.  ผลงาน  :  การสรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของฟงชัน 

         ระดับคุณภาพ                                          แปลความหมาย 

         1 ( ปรับปรุง )         สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของฟงกชันไมได 

          2 ( พอใช )           สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา 

         3 ( ปานกลาง )          สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา 

            4  ( ดี  )          สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดดวยตนเอง  แตไมสมบูรณ 

          5  ( ดีมาก )          สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดดวยตนเอง  และครบถวนสมบูรณ 




2.  ผลงาน  :  การเขียนกราฟของฟงกชน 
                                   ั

         ระดับคุณภาพ                                          แปลความหมาย 

         1 ( ปรับปรุง )         เขียนกราฟของฟงกชันไมได 

          2 ( พอใช )           เขียนกราฟของฟงกชันไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา 

         3 ( ปานกลาง )          เขียนกราฟของฟงกชันไดโดยอาศัยเพื่อแนะนํา 

            4  ( ดี  )          เขียนกราฟของฟงกชันไดดวยตนเอง  แตไมสมบูรณ 

          5  ( ดีมาก )          เขียนกราฟของฟงกชันไดอยางถูกตอง  และสมบูรณ
3.  ผลงาน  :  การแกโจทยปญหาโดยอาศัยความรูเรืองกราฟของฟงกชน 
                                              ่              ั


         ระดับคุณภาพ                                           แปลความหมาย 

          1 ( ปรับปรุง )             แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไมได 
                                                                     ั

           2 ( พอใช )               แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา 
                                                                     ั

         3 ( ปานกลาง )               แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดโดยอาศัยเพื่อนแนะนํา 
                                                                     ั

             4  ( ดี  )              แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดดวยตนเองแตไมสมบูรณ 
                                                                     ั    

           5  ( ดีมาก )              แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดอยางถูกตองและสมบูรณ 
                                                                     ั

เกณฑระดับคุณภาพ            เขียนกราฟของฟงกชันและนําไปใชแกปญหาได 
                                 ระดับคุณภาพ               ชวงคะแนน 
                                  5 ( ดีมาก )                13 – 15 
                                  4 ( ดี )                   10 – 12 
                                  3 ( ปานกลาง )              7  -  9 
                                  2 ( พอใช )                 4 – 6 
                                  1 ( ปรับปรุง )              0  - 3 
เกณฑการตัดสิน 
         ผูเรียนไดระดับคุณภาพตั้งแต  3  ขึ้นไป  ถือวา  ผาน 
         นักเรียนรอยละ  80  ของจํานวนนักเรียน  ไดระดับผลการเรียนรูระดับ  3  ขึ้นไป   ถือวาผูสอนประสบ 
ผลสําเร็จในการสอน 
วิธีการวัดผล 
         1.  ตรวจบันทึกการสรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของฟงชัน 
         2.  จากการนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน 
         3.  ตรวจผลงานจากใบงานที่  1 
         4.  ตรวจผลงานที่ตดบอรด 
                             ิ
         5.  สังเกตการทํางาน    ความเอาใจใส      การแสดงความคิดเห็น    การยอมรับความคิดเห็นของเพื่อน 
                รวมงาน
แบบประเมินผลงาน 
         ผลการเรียนรู  :  นักเรียนเขียนกราฟของฟงกชันและการนําไปใชในการแกปญหา 
         คําชี้แจง  ใหพจารณาวาผลงานของกลุมนักเรียนมีคะแนนอยูในระดับใด 
                          ิ

                                               รายการประเมิน 
                 1.        การสรุป  2.การเขียนกราฟ  3.นําเสนอ             4.  นําเสนอปญหา 
                 หลักการและ         ของฟงกชัน      ปญหาและการ          และการแกปญหา        รวม 
                 วิธีการเขียนกราฟ  ( P )             แกปญหาโดย          โดยอาศัยกราฟของ  คะแนน 
     กลุมที่ 
                 ของฟงกชัน                         อาศัยกราฟของ         ฟงกชันติดบอรด (P) 
                 ( K )                               ฟงกชันหนาชัน 
                                                                   ้
                                                     เรียน (P) 
                          5                5                 5                       5                     20 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 




                                                            ลงชื่อ                                        ผูประเมิน 
                                                                 (                                             ) 
                                                           วันที่  …  เดือน………………….พ.ศ. ………… 

                                                           ลงชือ………………………………ผูจัดทํา 
                                                               ่
                                                                  (นายอุดม  วงศศรีดา) 
                                                                   ครู ชํานาญการพิเศษ

More Related Content

What's hot

แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 

What's hot (18)

Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
01 แบบฝึกทักษะ เรื่อง เศษส่วนของพหุนาม.ppt
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน3  4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน3 4คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

Viewers also liked

สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]aon04937
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55wongsrida
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 

Viewers also liked (6)

สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
สรุป%20ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน[1]
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิตดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพสิ่งมีชีวิต
 

Similar to Function2555

แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับmathsanook
 

Similar to Function2555 (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนลำดับ
แผนลำดับแผนลำดับ
แผนลำดับ
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit6
Unit6Unit6
Unit6
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 

More from wongsrida

More from wongsrida (20)

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Event1 2555
Event1 2555Event1 2555
Event1 2555
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Rubric
RubricRubric
Rubric
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Report
ReportReport
Report
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Event
EventEvent
Event
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Wicharkarn2554
Wicharkarn2554Wicharkarn2554
Wicharkarn2554
 

Function2555

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รหัสวิชา ค31202  เรื่อง   ฟงกชัน ( Function )  ผลการเรียนรู  - เขียนกราฟของฟงกชันทีกําหนดใหได ่
  • 2. กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง  1.  กลุมสาระการเรียนรู คณิตศาสตร  2.  สาระที่ 2  ฟงกชัน  ( การเขียนกราฟของฟงกชัน )  3.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1   , ค 4.2  อธิบายและวิเคราะหแบบรูป ( pattern )  ความสัมพันธและฟงกชนตาง ๆ ได  ั 4.  ระดับชั้น  ม. 4  จํานวน  7  ชั่วโมง  มาตรฐาน  ผลการเรียนรู  ภาระงาน / กิจกรรมหลัก  ผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะ  เกณฑการประเมิน  คุณภาพที่  สงผล  นักเรียนเขียน  นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกจกรรมดังนี้  ิ 1.  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน ั 1.  การสรุปหลักการเขียนกราฟ  กราฟของฟงกชัน  1.  บอกหลักการเขียนกราฟของฟงกชัน  2.  เขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดให  ของฟงกชัน  ที่กําหนดใหได  2.  เขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดให  3.  นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน  2.  การเขียนกราฟของฟงกชนที่  ั 3.  สรุปผลงาน  นําเสนอหนาชั้นเรียน  ใน  4.  เขียนกราฟของฟงกชันตามความสนใจ  กําหนดให  การเขียนกราฟของฟงกชนที่  ั 5.  นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน  3.  การนําเสนอผลงาน  กําหนดให  4.  การเขียนกราฟของฟงกชน  ั 4.  เขียนกราฟของฟงชันตามความสนใจ  คุณลักษณะ  ตามความสนใจ  ของนักเรียน  -  การทํางานรวมกับผูอื่น  ( A  )  5.  การนําเสนอผลงาน  5.  สรุปผลงาน  นําเสนอหนาชั้นเรียน  ใน  6.  การทํางานรวมกับผูอื่น การเขียนกราฟของฟงกชน  ตามความ  ั สนใจ 
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รหัสวิชา ค31202  ระดับชั้น  ม. 4  ชื่อหนวยการเรียนรู     ฟงกชน  ั เรื่อง  การเขียนกราฟฟงกชันที่กําหนดให  จํานวน  7  ชั่วโมง  1.  ผลการเรียนรู  นักเรียนเขียนกราฟทีกําหนดใหได  ่ 2.  สาระการเรียนรู  การเขียนกราฟของฟงกชนมี  3  แบบ   คือ  ั 2.1  กราฟของฟงกชันเชิงเสน  2.2  กราฟของฟงกชันกําลังสอง  2.3  กราฟของฟงกชันคาสัมบูรณ  1.  กิจกรรมการเรียนการสอน  ( ใชกระบวนการกลุม )  ชั่งโมงที่ 1  ขั้นนํา  1.  นักเรียนยกตัวอยางความสัมพันธที่เปนฟงกชน  ั 2.  บอกลักษณะความสัมพันธที่เปนฟงกชน  ั 3.  อภิปรายหาขอสรุป  ขั้นสอน  1.  ครูกําหนดฟงกชันในรูปคูอนดับและฟงกชนที่เปนเงื่อนไข  ั ั 2.  นักเรียนหาโดเมนและเรนจของฟงกชน  ั 3.  เขียนกราฟของฟงกชัน  ขั้นสรุป  1.  นักเรียนสรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชัน  2.  ครูเสนอแนะเพิ่มเติม  ชั่งโมงที่ 2 – 4  ขั้นนํา  ทบทวนหลักการเขียนกราฟของฟงกชน  ั ขั้นสอน  1.  แบงกลุมนักเรียนกลุมละ  4 – 5  คน  2.  นักเรียนศึกษาใบความรูที่  1  เรื่องกราฟของฟงกชัน  3.  นักเรียนปฏิบัตกิจกรรมที่ 1  เรื่องการเขียนกราฟ ิ
  • 4. ขั้นสรุป  1.  สรุปและนําเสนอผลงานกลุม  2.  ครูและนักเรียนรวมกันสรุปและเสนอแนะเพิ่มเติม  ชั่งโมงที่ 5 – 6  ขั้นนํา  ทบทวนกราฟของฟงกชันเชิงเสน  ฟงกชนกําลังสองและฟงกชันคาสัมบูรณ  ั ขั้นสอน  1.  แบงกลุม ๆ ละ  4 – 5  คน  2.  ปฏิบัติกิจกรรมที่ 2  เรื่องการเขียนฟงกชันตามความสนใจ  ขั้นสรุป  1.  นําเสนอผลงานกลุม  2.  ครูและนักเรียนรวมกันสรุปและเสนอแนะเพิ่มเติม  ชั่วโมงที่ 7  นักเรียนแตละกลุมแลกเปลี่ยนผลงาน  ประเมินผลตามเกณฑที่กําหนดไว
  • 5. ใบความรูที่  1  กิจกรรมเสนอแนะ  1.  กราฟของฟงกชันเชิงเสน  2.  กราฟของฟงกชันกําลังสอง  3.  กราฟของฟงกชันคาสัมบูรณ  กราฟของฟงกชันเชิงเสน  ฟงกชันเชิงเสนคือฟงกชันที่อยูในรูป  f ( x ) =  ax + b  ; a  ,  b Î R  ตัวอยาง  จงเขียนกราฟของฟงกชน  ั f  (x  )  =  2 x  + 1  วิธีทํา  จาก  f  (x  )  =  2 x  + 1  x  -2  -1  0  1  2  f(x)  -3  -1  1  3  5  Y  X
  • 6. กราฟของฟงกชันกําลังสอง  ฟงกชันกําลังสอง  คือฟงกชันที่อยูในรูป  f  (x ) =  ax 2 a  ¹ 0  ตัวอยาง  จงเขียนกราฟของฟงกชน  f (x  )  =  x  2  ั วิธีทํา  จาก  f (x  )  =  x  2  x  -2  -1  0  1  2  f(x)  4  1  0  1  4  Y  X กราฟของฟงกชันคาสัมบูรณ  ฟงกชันคาสัมบูรณ  คือฟงกชันที่อยูในรูป   f  ( x ) =  ax  ; a  ¹ 0  ตัวอยาง  จงเขียนกราฟของฟงกชน  f (x  )  =  x  ั วิธีทํา  จาก  f (x  )  =  x  x  -2  -1  0  1  2  f(x)  2  1  0  1  2  Y  X 
  • 7. ใบกิจกรรมที่  1  จงเขียนกราฟของฟงกชันตอไปนี้  1.  f  (x  )  =  3x  - 2  2.  f  (x  )  =  - x  + 5 3.  f (x  )  =  - x  2  4.  f  (x  )  =  x  2 + 2  5.  f  (x  )  =  2 x  6.  f (x  )  = - x 
  • 8. ใบกิจกรรมที่  2  คําชี้แจง  นักเรียนแตละกลุมสรางฟงกชันทีนักเรียนสนใจ  พรอมทั้งเขียนกราฟกลุมละ  3  ฟงกชัน  ดังนี้  ่ 1.  ฟงกชันเชิงเสน  1  ขอ  2.  ฟงกชันกําลังสอง  1  ขอ  3.  ฟงกชันคาสัมบูรณ  1  ขอ
  • 9. เกณฑระดับคุณภาพ  1.  ผลงาน  :  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชัน  ตัวบงชี ้ 1.  หาคา  x , y  ของฟงกชน  ั 2.  บอกคูอันดับของฟงกชัน  และบอกโดเมน  ,  เรนจ   ของฟงกชัน  3.  กําหนดจุดบนกราฟ  4.  เขียนกราฟของฟงกชัน  ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชนครบถวน ตามตัวบงชี้  4  ขอ  ั 3   ( ดี  )  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน     ตามตัวบงชี้  3  ขอ  ั 2  ( พอใช )  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน     ตามตัวบงชี้  2  ขอ  ั 1  ( ปรับปรุง )  สรุปหลักการเขียนกราฟของฟงกชน  ตามตัวบงชี้  1  ขอ  ั 2.  ผลงาน  :  การเขียนกราฟของฟงกชนที่กําหนดใหและทีนักเรียนสนใจ  ั ่ ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  เขียนกราฟของฟงกชันไดถกตองชัดเจน  ู 3   ( ดี  )  เขียนกราฟของฟงกชันไดถกตองเปนสวนใหญ  ู 2  ( พอใช )  เขียนกราฟของฟงกชันไดถกตองเปนบางสวน  ู 1  ( ปรับปรุง )  เขียนกราฟของฟงกชันไมถูกตอง  3.  ผลงาน  :  การนําเสนอผลงาน   หมายถึง  การนําเสนอผลปฏิบติงานหนาชันเรียน  ั ้ ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  นําเสนอดวยวิธีที่ชัดเจนเปนไปตามลําดับขั้นตอนอยางตอเนื่อง นาสนใจ  3   ( ดี  )  นําเสนอตามลําดับขั้นตอน  สื่อความหมายไดพอสมควร  2  ( พอใช )  นําเสนออยางไมมีลําดับขั้นตอน  ไมนาสนใจ  1  ( ปรับปรุง )  ไมนําเสนอผลงาน
  • 10. 4.  คุณลักษณะ  :  การทํางานรวมกับผูอน ื่ พฤติกรรมบงชี ้ 1.  ปฏิบัติงานกลุมตามที่รับมอบหมาย  2.  แสดงความคิดเห็นในการทํางานกลุม  3.  ยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น  4.  พยายามงานของกลุมใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว  ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้  รอยละ  80  ขึ้นไป  3   ( ดี  )  นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้  70 – 79  2  ( พอใช )  นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้  60 – 69  1  ( ปรับปรุง )  นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่สอดคลองกับพฤติกรรมบงชี้    ต่ํากวารอยละ  60
  • 11. แผนการจัดการเรียนรู  ผลการเรียนรู  -  สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหและนําไปใชได
  • 12.
  • 13. กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง  1.  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  2.  สาระที่ 2  ฟงกชัน  (สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหและนําไปใชได)  3.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1   , ค 4.2  อธิบายและวิเคราะหแบบรูป ( pattern )  ความสัมพันธและฟงกชนตาง ๆ ได  4.  ระดับชั้น  ม. 4  จํานวน  5  ชั่วโมง  ั มาตรฐาน  ผลการเรียนรู  ภาระงาน / กิจกรรมหลัก  ผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะ  เกณฑการประเมิน  คุณภาพที่  สงผล  นักเรียนสราง  นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกจกรรมดังนี้  ิ ฟงกชันจาก  1.  สรุปหลักการ    วิธีการสรางจาก  1.  สรุปหลักการวิธการสรางฟงกชนจาก  1.  การสรุปหลักการวิธีการสราง  ี ั สถานการณหรือ  สถานการณหรือปญหาที่กําหนดให  สถานการณหรือปญหาที่กําหนด ( K )  ฟงกชันจากสถานการณหรือ  ปญหาที่  2.  นําความรูการสรางฟงกชันไปใช   2.  ฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจ  ั ปญหาที่กําหนด ( K )  กําหนดใหและ  แกปญหา  เพื่อใชในการแกปญหา  ( P )   2.  การฟงกชนจากสถานการณที่  ั นําไปใชได  นักเรียนสนใจ    เพื่อใชในการ  แกปญหา  ( P )  คุณลักษณะ  1.  ความรับผิดชอบ  ( A )  1.  การรับผิดชอบตองานทีให ่ 2.  การทํางานรวมกับผูอื่น  ( A )  ( A )  2.  การทํางานรวมกับผูอื่น  ( A )
  • 14.
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  คณิตศาสตรเพิ่มเติม  รหัสวิชา ค 31202  ระดับชั้น  ม. 4  ชื่อหนวยการเรียนรู     ฟงกชน  เรื่อง   การสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาทีกําหนดให จํานวน  5 ชั่วโมง  ั ั ่ 1.  สาระสําคัญ  เพื่อใหนักเรียนมีทักษะความรูในการสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดให    และสามารถนํา   ั ความรูไปสรางฟงกชันที่สนใจได  ฟงกชันที่ควรรูจัก   1.  ฟงกชันเชิงเสน  (Linear  function )  คือฟงกชันที่อยูในรูป  f(x)   =    ax + b  เมื่อ  a  และ  b  เปน   จํานวนจริง  2.  ฟงกชันขั้นบันได  ( Step    function )  คือฟงกชันที่มโดเมนเปนสับเซตของ  R  และมีคาฟงกชันคงตัว  ี เปนชวง ๆ   มากกวา  2  ชวง  3.  ฟงกชันกําลังสอง  ( Quadratic  function)  คือฟงกชนที่อยูในรูป  f (x  ) = ax  2  + bx  + c  เมื่อ  a , b  ั c  เปนจํานวนจริงใด ๆ  และ  a  ¹ 0  4.  ฟงกชันพหุนาม  ( Polynomial   function )  คือฟงกชนที่อยูในรูป  ั f ( x ) =  a  x n  + a  -1 x n -1  + ... + a  x 2  + a  x + a  n n  2  1  0  แล  a  , a  -1  , ...  a  , a  , a  เปนคาคงตัวและ  n  n  n  ,  2  1  0  เปนจํานวนเต็ม  ซึ่งมากกวาหรือเทากับศูนย  5.  ฟงกชันตรรกยะ  ( Rational    function )  คือฟงกชันที่อยูในรูป  f (x  ) =  p (x  ) เมื่อ  p  ,  q  เปน  q (x  )  ฟงกชันพหุนาม  6.  ฟงกชนที่เปนคาบ  ( Periodic    function )  เปนฟงกชัน  f  ซึ่งไมใชฟงกชันคงตัว   จะเปนฟงกชันที่  ั เปนคาบก็ตอเมื่อ  มีจํานวนจริง  p  ซึ่ง  f ( x + p)  =  f(x)  สําหรับทุกคาของ  x  และ  x + p  ที่อยูในโดเมน  ของ  f  ซึ่งผูเรียนสามารถนําความรูเรื่องฟงกชันไปใชเปนพื้นฐานในการเรียนรูชนสูงตอไป  ั้ 2.  ผลการเรียนรู  นักเรียนสามารถสรุปหลักการวิธการสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหและนําไปใชได  ี ั 3.  สาระการเรียนรู  3.1  นักเรียนสามารถสรุปหลักการ  วิธการสรางฟงกชนจากสถานการณหรือปญหาที่กําหนดใหได  ี ั 3.2  นักเรียนสามารถเขียนฟงกชนจากสถานการณที่นกเรียนสนใจ  เพื่อใชในการแกปญหาได  ั ั 4.  เนื้อหา  การสรางฟงกชนชนิดตาง ๆ ั
  • 16. กิจกรรมการเรียนการสอน  กระบวนการเรียนรูทใช  ี่ 1.  กระบวนการกลุม  2.  กระบวนการสรางความคิดรวบยอด  ชั่วโมงที่ 1  ขั้นนําเขาสูบทเรียน  1.  แบงนักเรียนออกเปนกลุม ๆ ละ  4  คน  2.  ใหนักเรียนแตละกลุมยกตัวอยางฟงกชันทีนักเรียนรูจกมากลุมละ  2  ตัวอยาง  โดยตองเปนฟงกชันที่ไม  ่ ั ซ้ํากัน  3.  ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนตัวอยางฟงกชัน ที่แตละกลุมยกตัวอยางมา  ชั่วโมงที่ 2  4.  ครูยกตัวอยางการเหตุการณในชีวตประจําวันมาสรางเปนฟงกชันและใหนกเรียนสังเกต    วิธีการสราง  ิ ั ฟงกชันจากเหตุการณ  5.  ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวิธการสรางฟงกชนจากเหตุการณในชีวิตประจําวัน  ี ั 6.  นักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุป  หลักการสรางฟงกชันเปนความคิดรวบยอดของกลุมตนเอง  และนําสง  ชั่วโมงที่ 3  7.  ครูกําหนดสถานการณใหนักเรียนสรางฟงกชนจากสถานการณที่ครูกําหนดขึ้น  ั 8.  ใหแตละกลุมแลกเปลี่ยนและตรวจผลงาน  โดยใชเกณฑทครูกําหนดให  ี่ ชั่วโมงที่ 4  9.  ใหนักเรียนไปสรางฟงกชัน  จากเหตุการณหรือปญหาที่นกเรียนสนใจกลุมละ  5  ตัวอยาง  ั 10.  แตละกลุมแลกเปลี่ยนกันประเมินระหวางกลุมและนํามาปรับปรุงแกไขใหถูกตอง  แลวนําสงครูผูสอน  ชั่วโมงที่ 5  11.  ใหนักเรียนแตละคนสรุปหลักการสรางฟงกชันชนิดตาง  ๆ    และสรางฟงกชันจากเหตุการณทนักเรียน  ี่ สนใจ  แลวนําสงครูผูสอน
  • 17. วิธีวัดผล 1.  ตรวจบันทึกสรุปหลักการการสรางฟงกชนจากสถานการณ  ั 2.  ตรวจการสรางฟงกชันที่นกเรียนสนใจ  ั 3.  สังเกตการทํางาน  ความรับผิดชอบและการทํางานรวมกับผูอื่น  เกณฑการประเมินผล  เกณฑระดับคุณภาพ  1.  ผลงาน   การสรุปหลักการใชการสรางฟงกชัน   หมายถึง   การสรุปหลักการ  วิธีการสรางฟงกชนโดยมี  ั เกณฑการประเมินดังนี้  ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชันไดครบถวนถูกตอง  3   ( ดี  )  สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชันได  แตมีขอบกพรองบางสวน  2  ( พอใช )  สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชันไดครบถวนถูกตอง ในหลักการที่สําคัญ  1  ( ปรับปรุง )  สรุปหลักการและวิธีการสรางฟงกชัน  แตยังขาดหลักการที่สําคัญ  2.  การสรางฟงกชนจากสถานการณทนักเรียนสนใจ      หมายถึง    การสรางฟงกชันทีนักเรียนสนใจไดถูกตอง  ั ี่ ่ สมบูรณ  โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้  ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจไดอยางเปนขันตอนถูกตองสมบูรณ  ั ้ 3   ( ดี  )  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจไดอยางคอนขางสมบูรณมีขอบกพรองเพียง  ั บางสวน  2  ( พอใช )  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจได   แตไมสมบูรณ   มีขอบกพรอง   ขาดสวน  ั ที่สําคัญไป  1  ( ปรับปรุง )  สรางฟงกชันจากสถานการณที่นกเรียนสนใจได    ขั้นตอนไมชัดเจนขาดความสมบูรณ  ั และไมถูกตอง
  • 18. 3.  ความรับผิดชอบ   หมาย  การรับผิดชอบตองานที่ให  โดยมีพฤติกรรม  คือ  1)  ปฏิบัติตามแผนที่กําหนด  2)  สงงานตามที่กําหนด  3)  บอกจุดเดนจุดดอยของงานที่ทําได  4)  รับคําติชมของผูอื่น  โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้  ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ดวยความเต็มใจ  3   ( ดี  )  ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ไดดวยตนเองเปนสวนใหญ  โดยไมตองมีใครคอยเตือน  2  ( พอใช )  ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ไดดวยตนเองครึ่งตอครึ่ง  โดยไมตองมีใครเตือน  1  ( ปรับปรุง )  ปฏิบัติพฤติกรรมบงชี้  1 – 4  ไดก็ตอเมื่อมีคนคอยเตือน  4.  การทํางานรวมกับผูอื่น   หมายถึงการแสดงพฤติกรรมบงชี้ตอไปนี้คือ  1)  การดําเนินงานยึดเปาหมายของกลุม  2)  มีการปฏิสัมพันธรวมกับกลุม  3)  แสดงความคิดเห็น  สนใจความรูสึกและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น  4)  ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย  ระดับคุณภาพ  การแปล  4   (ดีมาก)  รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายและ  ขอตกลงของกลุมจนสําเร็จ    มีปฏิสัมพันธรวมกับกลุมดวยความเอาใจใสและแสดง  ความคิดเห็น  โดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นและยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น  3   ( ดี  )  รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายและ  ขอตกลงของกลุมจนสําเร็จ    มีปฏิสัมพันธรวมกับกลุมดวยความเอาใจใสและแสดง  ความคิดเห็น    โดยคํานึงถึงความรูสึกของผูอื่นและยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น  บางประเด็น  2  ( พอใช )  รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    ปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมายและ  ขอตกลงของกลุมจนสําเร็จ    มีปฏิสัมพันธรวมกับกลุมไมคอยเอาใจใสและไมแสดง  ความคิดเห็นในการทํางานกลุม  1  ( ปรับปรุง )  รวมกําหนดเปาหมายของกลุมอยางแข็งขัน    แตไมปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมายและ  ขอตกลงของกลุมขาดการแสดงความคิดเห็นและไมยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
  • 19. การสรุปภาพรวมผลการเรียนรูที่คาดหวัง  :  สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาทีกําหนดให  ่ และนําไปใชได  นําผลการประเมินจากผลงานหรือคุณลักษณะรวมกันแลวเทียบกับชวงคะแนนในการตัดสินผลการ  เรียนรูที่คาดหวังดังนี้  ระดับคุณภาพ  ชวงคะแนน  4   (ดีมาก)  14 – 16  3   ( ดี  )  11 – 13  2  ( พอใช )  8 – 10  1  ( ปรับปรุง )  ต่ํากวา 8  การประกันผลการเรียนรูและการประกันการสอน  รายบุคคล      ผูเรียนมีผลการเรียนรูในการเรียนรูที่คาดหวัง  :  สรางฟงกชันจากสถานการณหรือปญหาที่   กําหนด  และนําไปใช  อยูในระดับ  ดี  ขึนไป  ถือวา  ผาน  ้ รายกลุม                  รอยละ  75  ของจํานวนผูเรียนที่ไดระดับผลการเรียนรู  ดี  ขึนไป    ถือวาผูสอนประสบ  ้ ความสําเร็จในการสอน
  • 20. แผนการจัดการเรียนรู  ผลการเรียนรู  -  เขียนกราฟของฟงกชนและการนําไปใชในการแกปญหาได ั
  • 21. กรอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการประเมินผลตามสภาพจริง  1.  กลุมสาระการเรียนรู  คณิตศาสตร  2.  สาระที่ 3  กราฟ  (เขียนกราฟของฟงกชนและการนําไปใชในการแกปญหาได)  ั  3.  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1   , ค 4.2  อธิบายและวิเคราะหแบบรูป ( pattern )  ความสัมพันธและฟงกชนตาง ๆ ได  4.  ระดับชั้น  ม. 4  จํานวน  5  ชั่วโมง  ั มาตรฐาน  ผลการเรียนรู  ภาระงาน / กิจกรรมหลัก  ผลงาน / ชิ้นงาน / คุณลักษณะ  เกณฑการประเมิน  คุณภาพที่  สงผล  นักเรียนเขียน  นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติกจกรรมดังนี้  ิ กราฟของฟงกชัน  1.  สรุปวิธีการเขียนกราฟของฟงกชน  ั 1.  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของ  1.  การสรุปหลักการและวิธีการ  และการนําไปใช  2.  เขียนกราฟของฟงกชันที่กําหนดให  ฟงกชัน  นําเสนอขอมูล  ในการแกปญหา  3.  แกปญหาโดยอาศัยกราฟของฟงกชัน  2.  กราฟของฟงกชัน  2.  การเขียนกราฟของฟงกชนที่  ั ได  3.  นําเสนอปญหาและการแกปญหาโดย  กําหนดให  อาศัยกราฟของฟงกชันหนาชันเรียน  ้ 3.  การนําเสนอผลงาน  คุณลักษณะ  4.  เขียนสะทอนความรูสึกตอการ  1.  การทํางานรวมกับผูอื่น  4.  การทํางานรวมกับผูอื่น  ปฏิบัติงาน  2.  เจตคติที่มีตอการเรียนการสอน  5.  เจตคติที่มีตอการเรียนการ  สอน
  • 22.
  • 23. แผนการจัดการเรียนรู  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  คณิตศาสตรพื้นฐาน  รหัสวิชา ค31202  ระดับชั้น  ม. 4  ชื่อหนวยการเรียนรู กราฟ เรื่อง  เขียนกราฟของฟงกชันและการนําไปใชในการแกปญหาจํานวน  5  ชั่วโมง  กิจกรรมการเรียนการสอน  กระบวนการเรียนรูทใช  ี่ -  กระบวนการกลุม  -  กระบวนการสรางความตระหนัก  -  กระบวนการสรางความคิดรวบยอด  ขั้นนําเขาสูบทเรียน  1.  ใหนักเรียนยกตัวอยางฟงกชัน  2 – 3  ฟงกชัน  ในรูปสมการ  2.  ใหนักเรียนชวยกันหาโดเมนและเรนจของฟงกชนจากขอ 1  ั 3.  เขียนคูอันดับของสมาชิกของฟงกชันบางคูอันดับในรูปตาราง  4.  ใหนักเรียนเสนอแนะวิธีการเขียนกราฟของฟงกชนที่นกเรียนยกตัวอยาง  ั ั 5.  จากวิธการเขียนกราฟทีนักเรียนนําเสนอมาจะสรุปวิธีการเขียนกราฟที่ถูกตอง  ี ่ 6.  แจงจุดประสงคการเรียนรู  ขั้นดําเนินการสอน  ชั่วโมงที่ 1  1.  แบงกลุมนักเรียนกลุมละ  4-5  คน   ใหภาระงานกับนักเรียนแตละกลุม  หาสมการของฟงกชันมาอยาง  นอยกลุมละ  1  สมการ  2.  ใหแตละกลุมหาโดเมนและเรนจในรูปตารางคูอันดับ  3.  นําคูอันดับที่ไดจากขอ  2  เขียนกราฟจุดลงในกระดาษกราฟ  4.  ถามนักเรียนถึงแนวโนมของเสนกราฟ  ที่จะเกิดขึ้นจากฟงกชันของแตละกลุม  f  =  { (x , y  ) |  y  = 2 x  + 1 } 5.  ครูยกตัวอยางฟงกชัน  1 ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความ  f 2  = {(x , y  ) Î I ´ I |  y  = 2 x  + 1  }  แตกตางของฟงกชันทั้งสอง  ( ฟงกชัน  f 1  โดเมนและเรนจเปนเซตของจํานวนจริง  ฟงกชัน  f 2  โดเมนและเรนจเปนเซตของจํานวนเต็ม)  6.  กราฟของฟงกชันทั้งสองแตกตางกันอยางไร  ( ฟงกชัน  f 1  ลักษณะกราฟเปนเสนตรงตอเนื่อง  ฟงกชัน  f 2  ลักษณะกราฟเปนจุด)  7.  ครูและนักเรียนรวมกันสรุปรูปแบบของกราฟและวิธการเขียนกราฟของฟงกชัน  ี 8.  นักเรียนแตละกลุมนํากราฟที่สรางไปปรับปรุงแกไขแลวรวบรวมสงครู
  • 24. ชั่วโมงที่ 2 – 3  1.  นักเรียนแตละกลุมนํากราฟที่สงกลับมาเตรียมตัวเพื่อเสนอหนาชั้นเรียนพรอมทั้งตอบขอซักถาม  2.  สุมตัวแทนออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน  ( กลุมละ  10 – 15 นาที )  3.  ครูและเพื่อนในกลุมตาง ๆ  ซักถามขอสงสัย  4.  ครูสรุปการนําเสนอหนาชั้นเรียนและชมเชยนักเรียนในแตละกลุม  ชั่วโมงที่ 4  1.  ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาปญหาจากใบงาน  2.  กําหนดปญหาอยูในรูปของฟงกชน   ั 3.  เขียนกราฟของฟงกชันที่ได  4.  ตอบปญหาโดยอาศัยกราฟที่ได  5.  สุมตัวแทนของบางกลุมมานําเสนอวิธีแกปญหา    โดยอาศัยกราฟของฟงกชันโดยมีครูเปนผูชี้แนะและ  ชมเชยกลุมที่ทําถูกตองสมบูรณ  ชั่วโมงที่ 5  1.  นําผลงานในการแกปญหาใหครูตรวจความเรียบรอยแลว นํากลับมาแกไขตกแตงใหสวยงาม  2.  นําผลงานที่ปรับปรุงแกไขเรียนรอยไปติดบอรด  3.  ใหนักเรียนประเมินผลโดยกรอกในใบประเมิน  ก.  ใบประเมินในกลุมตนเอง  ข.  ใบประเมินกลุมอื่น  4.  สงใบประเมินและครูสรุปกิจกรรม  สื่อ  1.  กระดาษกราฟ  2.  ใบงาน  3.  กระดานแมเหล็กพรอมตัวติด  4.  สีเมจิก  5.  กระดาษชารท  6.  แบบประเมินตนเอง  7.  แบบประเมินเพื่อน  8.  แบบประเมินของครู
  • 25. ใบงานที่ 1  ชุดที่ 1  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  นาย    ก.  ขายขนมโดยมีตารางของขอมูลการลงทุนดังนี้  ทุน  กําไร (บาท)  0  0  5  1  10  2  15  3  20  4  จงหาวา  ถานาย  ก  ลงทุน  100  บาทแลวขายขนมไดหมด  จะไดกําไรกี่บาท  ชุดที่ 2  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  ในการศึกษาพื้นทีของสี่เหลี่ยมจัตุรัส   นาย   ก    สงสัยวาถาความยาวของดานเทากับ  10  ซ.ม   พื้นที่จะ  ่ เปนเทาใด  ชุดที่ 3  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  ในการขายสินคาอยางหนึ่งพบวาความสัมพันธของทุนและกําไรเปนไปตามสมการ  y  =  10 – ( x – 3) 2  ชุดที่ 4  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  ถารัศมีของทรงกลมเทากับ  7  เมตร   ปริมาตรของทรงกลมจะเปนเทาใด
  • 26. ชุดที่ 5  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  อัตราคาไปรษณียากรในการสงพัสดุภายในประเทศ   คาสงคิดกิโลกรัมละ  7  บาท   ถาไมถึงกิโลกรัม  คิดเปน  1  กิโลกรัม    ถาเกินกิโลกรัมใดก็ตามคิดเปนกิโลกรัมถัดไปถาพัสดุที่จะสงหนัก  5.4  กิโลกรัม  จะตอง  เสียเงินคาสงกี่บาท  ชุดที่ 6  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  เมื่อโยนกอนหินลงไปในสระ  ผิวน้ําระลอกเปนวงกลม  ซึ่งมีรัศมี  ( r )  เพิ่มขึ้นตามเวลาที่ผานไป ( t )  การเพิ่มของรัศมีเปนไปตามสมการ  r  =  4t  จงหาวาพืนที่ของวงกลมที่เกิดขึ้นบนผิวน้ําสัมพันธกับเวลาอยางไร  ้ ชุดที่ 7  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  ปริมาตรของทรงกลม  ( v )  กับรัศมีของทรงกลม  ( r )  จงหาคาของ  r  เมื่อ  v  =  729  ลูกบาศก  เซนติเมตร  ชุดที่ 8  ใหนักเรียนศึกษาสภาพปญหาแลวเขียนในรูปของฟงกชันและแสดงการแกปญหาโดยการเขียนกราฟของ  ฟงกชัน  ปญหา  งานการกุศลครั้งหนึ่ง  กําหนดราคาบัตรเขาชมงานดังนี้    ผูที่มีอายุเกิน  12  ปขึ้นไป  บัตรละ  20  บาท  ผูที่มีอายุตั้งแต  3 – 12  ป   บัตรละ  5  บาท     ผูที่มีอายุต่ํากวา  3  ปไมตองซื้อบัตร   จงหาวา  ถานายดําอายุ  32  ป  พรอมดวยภรรยาและลูกอีก  2  คน    ซึ่ง  อายุ  29  ป  12  ป  และ  2  ป   ตามลําดับ  เขาชมงานครั้งนี้จะเสียเงินกี่  บาท
  • 27. เกณฑการประเมิน  เกณฑระดับคุณภาพ  1.  ผลงาน  :  การสรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของฟงชัน  ระดับคุณภาพ  แปลความหมาย  1 ( ปรับปรุง )  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของฟงกชันไมได  2 ( พอใช )  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา  3 ( ปานกลาง )  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา  4  ( ดี  )  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดดวยตนเอง  แตไมสมบูรณ  5  ( ดีมาก )  สรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟไดดวยตนเอง  และครบถวนสมบูรณ  2.  ผลงาน  :  การเขียนกราฟของฟงกชน  ั ระดับคุณภาพ  แปลความหมาย  1 ( ปรับปรุง )  เขียนกราฟของฟงกชันไมได  2 ( พอใช )  เขียนกราฟของฟงกชันไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา  3 ( ปานกลาง )  เขียนกราฟของฟงกชันไดโดยอาศัยเพื่อแนะนํา  4  ( ดี  )  เขียนกราฟของฟงกชันไดดวยตนเอง  แตไมสมบูรณ  5  ( ดีมาก )  เขียนกราฟของฟงกชันไดอยางถูกตอง  และสมบูรณ
  • 28. 3.  ผลงาน  :  การแกโจทยปญหาโดยอาศัยความรูเรืองกราฟของฟงกชน   ่ ั ระดับคุณภาพ  แปลความหมาย  1 ( ปรับปรุง )  แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไมได  ั 2 ( พอใช )  แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดโดยอาศัยเพื่อนและครูแนะนํา  ั 3 ( ปานกลาง )  แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดโดยอาศัยเพื่อนแนะนํา  ั 4  ( ดี  )  แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดดวยตนเองแตไมสมบูรณ  ั  5  ( ดีมาก )  แกโจทยปญหาโดยใชกราฟของฟงกชนไดอยางถูกตองและสมบูรณ  ั เกณฑระดับคุณภาพ  เขียนกราฟของฟงกชันและนําไปใชแกปญหาได  ระดับคุณภาพ  ชวงคะแนน  5 ( ดีมาก )  13 – 15  4 ( ดี )  10 – 12  3 ( ปานกลาง )  7  -  9  2 ( พอใช )  4 – 6  1 ( ปรับปรุง )  0  - 3  เกณฑการตัดสิน  ผูเรียนไดระดับคุณภาพตั้งแต  3  ขึ้นไป  ถือวา  ผาน  นักเรียนรอยละ  80  ของจํานวนนักเรียน  ไดระดับผลการเรียนรูระดับ  3  ขึ้นไป   ถือวาผูสอนประสบ  ผลสําเร็จในการสอน  วิธีการวัดผล  1.  ตรวจบันทึกการสรุปหลักการและวิธีการเขียนกราฟของฟงชัน  2.  จากการนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน  3.  ตรวจผลงานจากใบงานที่  1  4.  ตรวจผลงานที่ตดบอรด  ิ 5.  สังเกตการทํางาน    ความเอาใจใส      การแสดงความคิดเห็น    การยอมรับความคิดเห็นของเพื่อน  รวมงาน
  • 29. แบบประเมินผลงาน  ผลการเรียนรู  :  นักเรียนเขียนกราฟของฟงกชันและการนําไปใชในการแกปญหา  คําชี้แจง  ใหพจารณาวาผลงานของกลุมนักเรียนมีคะแนนอยูในระดับใด  ิ รายการประเมิน  1.  การสรุป  2.การเขียนกราฟ  3.นําเสนอ  4.  นําเสนอปญหา  หลักการและ  ของฟงกชัน  ปญหาและการ  และการแกปญหา  รวม  วิธีการเขียนกราฟ  ( P )  แกปญหาโดย  โดยอาศัยกราฟของ  คะแนน  กลุมที่  ของฟงกชัน  อาศัยกราฟของ  ฟงกชันติดบอรด (P)  ( K )  ฟงกชันหนาชัน  ้ เรียน (P)  5  5  5  5  20  1  2  3  4  5  6  7  8  ลงชื่อ                                        ผูประเมิน  (                                             )  วันที่  …  เดือน………………….พ.ศ. …………  ลงชือ………………………………ผูจัดทํา  ่ (นายอุดม  วงศศรีดา)  ครู ชํานาญการพิเศษ