SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรูที่  1 

หนวยการเรียนที่  1                  คณิตศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา  ค31101 
เรื่อง   เซต                                             จํานวน  8 ชั่วโมง 
ชั้นมัธยมศึกษาปที่  4 
……………………………………………………………………………………………………… 
มาตรฐานการเรียนรู 
       ค 4.1  เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธและฟงกชัน 
       ตัวชี้วัด 
       1.  มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดําเนินการของเซต 
มาตรฐานการเรียนรู 
       ค 4.2  ใชนพจน  สมการ  อสมการ  กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematical 
                   ิ
modela)  อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลออดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา 
       ตัวชี้วัด 
       1.  เขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร  แสดงเซตและนําไปใชแกปญหา 
มาตรฐานการเรียนรู 
       ค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทาง 
คณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร 
                                                
กับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค 
       ตัวชี้วัด 
       1.  ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา 
       2.  ใชความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน 
             สถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 
       3.  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม 
       4.  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ 
             นําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน 
       5.  เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและนําความรู  หลักการกระบวนการทาง 
             คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ 
       6.  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
1.  มาตรฐานการเรียนรู 
    1.1  สรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต 
2.  ตัวชี้วัด 
    2.1  ดานความรู (Knowledge) : นักเรียนสามารถ 
         2.1.1  บอกความหมายของเซตได 
         2.1.2  เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกหรือแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซตได 
         2.1.3  บอกไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตจํากัด , เซตอนันต  หรือเซตวาง 
                                  ่
         2.1.4  บอกเซตที่เทากันได 
         2.1.5  หาสับเซตและเพาเวอรเซตของเซตที่กําหนดใหได 
    2.1  ดานทักษะ / กระบวนการ (Porcess) : 
         2.1.1  นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหา 
         2.1.2  นักเรียนมีความสามารถในการใหเหตุผล 
         2.1.3  นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารและนําเสนอ 
    2.2  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค (Attitude) : 
                            ึ
         2.2.1  นักเรียนมีระเบียบวินย ั
         2.2.2  นักเรียนทํางานอยางเปนระบบและรอบคอบ 
         2.2.3  นักเรียนมีความรับผิดชอบ 
3.  สาระการเรียนรู 
    3.1  เซตและสมาชิกของเซต 
               ในวิชาคณิตศาสตรจะใชคําวา “เซต”  แทนคําตาง ๆ  เชน  ฝูง  หมู    กอง   โขลง  คณะ 
         ชุด    ฯลฯ      เซตจึงเปนคําที่ไมตองนิยามเพราะมีความหมายอยูในตัวแลว    สิ่งที่อยูในเซต 
         เรียกวา  “สมาชิก”  ( element  หรือ  member )  ใชสัญลักษณ  Π แทน  “เปนสมาชิกของ” 
         และ  Ï  แทน  “ไมเปนสมาชิกของ” 

    3.2  วิธีเขียนเซต 
        การเขียนเซตนิยมเขียนได  2  วิธี  ดังนี้ 
        3.2.1  การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก  เชน 
                    A  =  {  a , e , i , o , u } 
                     B  =  { 2  , 4 , 6 , 8 , 10 } 
                     C  =  {  1 , 2 , 3 , … }
3.2.2  การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต   เชน 
               D  =  { x | x  คือ สระในภาษาอังกฤษ } 
               E  =  { x |  x 2  =  25  } 
               F  =  { x |  x 2  +7x + 10  =  0  } 

 3.3  เซตจํากัดและเซตอนันต 
       บทนิยาม  เซตจํากัด ( finite  sets )  หมายถึง  เซตที่มีจํานวนสมาชิกที่สามารถระบุไดเปน 
       จํานวนเต็มบวกใด ๆ  หรือศูนย 
       ตัวอยางเซตจํากัด 
      A  =  { 1 , 2 , 3 , …, 9 }  จํานวนสมาชิกของเซต A  เทากับ  9 
      นิยมใชสัญลักษณ  n(A)  แทนจํานวนสมาชิกของเซต A  ดังนั้น  n(A) = 9  ตัว 
      B  =  { x |  x  เปนจํานวนเต็ม  และ  4  <  x  <  10  } 
      สมาชิกของ  B  ไดแก  5 , 6 , 7 , 8 , 9  ดังนั้น  n(B)  =  5 
      C  =  { x |  x Î I +  และ  x  <  0  } 
      ไมมีจํานวนเต็มบวกใดที่มีคานอยกวา  0  ดังนั้น  n(C)  =  0 

       บทนิยาม  เซตอนันต ( infinite  sets )  หมายถึง  เซตที่ไมสามารถระบุจํานวนสมาชิกเปน 
                  จํานวนเต็มบวกหรือศูนยได  หรือเปนเซตที่ไมใชเซตจํากัด 
     ตัวอยางเซตอนันต 
     D  =  { 1 , 2 , 3 , … } 
     E  =  { x |  x  เปนจํานวนเต็มนับ  } 
     F  =  { x |  x  เปนจํานวนเต็มบวกที่หารดวย  10  ลงตัว  } 

3.4  เซตวาง  (  empty  set  หรือ  null  set ) 

      บทนิยาม  เซตวาง (  empty  set  หรือ  null  set )  หมายถึงเซตที่ไมมีสมาชิก 
               หรือเซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนศูนย 



     เซตวางเขียนแทนดวยสัญลักษณ  f  หรือ  { }
ตัวอยางเซตวาง 
                     { x |  x  Î I  และ  3x  =  5  }
                     { x |  x  เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา  0  }
                     { x |  x  เปนจํานวนเต็มที่อยูระหวางหนึ่งและสอง  } 
                 ขอสังเกต   เซตวางเปนเซตจํากัด 

3.5  เซตที่เทากัน 
       บทนิยาม  เซตที่เทากัน ( equal  sets  หรือ  identical  sets  )  หมายถึง  เซตที่มีจํานวน 
                    สมาชิกเทากันและ เหมือนกันทุกตัว 

      หมายเหตุ 
      1.  เซตที่มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว  อาจจะเรียงสมาชิกตางกัน   หรืออาจมีสมาชิกบางตัวซ้ํา 
          กันได 
      2.  เซต  A  เทากับเซต  B  เขียนแทนดวย  A  =  B  และเซต  A  ไมเทากับเซต  B  เขียน 
          แทนดวย  A  ¹  B 
               ตัวอยางเซตที่เทากันและเซตที่ไมเทากัน 
                    1.  { 1 , 2 , 3  }  =  { 3 , 1 , 2  } 
                    2.  { x , y , z , z  }  =  { x , y , z  } 
                    3.  { 3  , 5  }  =  { x |  ( x – 3  )( x – 5)  =  0  } 
                    4.  { –2 ,  2  } ¹ { x  Î I +  |  x 2  =  4  } 
      เซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน      แตสมาชิกไมเหมือนกันหรือเหมือนกันบางตัว      เรียกวา 
      “เซตเทียบเทากัน (equivalent  sets )”  เซต  A  เทียบเทากับเซต  B เขียนแทนดวย  A  « B 
      ตัวอยางเซตที่เทียบเทากัน 
      A  =  { p , q , r , s , t  }  ,     B  =  {  a , e , i , o , u }  ,     C  =  {  ก , ข , ค , ง , จ } 
               จะไดวา  A  « B    ,  B  « C    ,    C  « A 
3.6 สับเซตและเพาเวอรเซต 
       บทนิยาม  เซต  A  เปนสับเซตของเซต  B  ก็ตอเมื่อ  สมาชิกทุกตัวของเซต  A  เปน 
                   สมาชิกของเซต  B 
      เซต  A  เปนสับเซตของเซต  B  เขียนแทนดวย  A  Ì B  ถามีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัว 
      ของเซต  A ไมเปนสมาชิกของเซต  B  แลว   เซต  A  ไมเปนสับเซตของเซต  B 
      เขียนแทนดวย  A Ë  B
ตัวอยาง 
   1.  กําหนด  A  =  { p , q , r }  ,   B  =  { p , q , r , s , t  }  ,   C  =  {  q , r , s  } 
       จะได  A Ì B  และ A Ë  C  ,  C Ì B  และ C Ë  A  , B Ë  A และ  B Ë  C 
   2.  กําหนด  P  =  { 2 , 3 }  ,    Q  =  { x |  ( x – 2 )( x – 3 )  =  0  } 
       จะได  P Ì Q  และ  Q Ì P  ในกรณีเชนนี้ทําให  P  =  Q 

        สมบัติทเปนขอตกลงเกี่ยวกับสับเซต 
               ี่
              1.  เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง 
              2.  เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต 
              3.  ถา  A Ì B  และ  B Ì C  แลว  A Ì C 
              4.  A  =  B  ก็ตอเมื่อ  A Ì B  และ  B Ì A 
              5.  ถา  A Ì B  และ  A  ¹  B  แลว  A  เปนสับเซตแทของ  B 
              6.  เซตวางเปนสับเซตแทของทุกเซต 

        พิจารณาเซต  A  =  { a , b , c } 
เซตที่ไมมีสมาชิก  หรือ มีสมาชิกศูนยตัว ไดแก  f 
เซตที่มีสมาชิก  1  ตัว  ไดแก  {a}  , {b}  , {c} 
เซตที่มีสมาชิก  2  ตัว  ไดแก  {a , b}  , {a , c}  , {b , c} 
เซตที่มีสมาชิก  3  ตัว  ไดแก  { a , b , c } 
ดังนั้น  สับเซตทั้งหมดขอ { a , b , c } ไดแก  f , {a}  , {b}  , {c} , {a , b}  , {a , c}  , 
     {b , c}  และ  { a , b , c }  ซึ่งมีทั้งหมด  8  สับเซต 
ถา  A  เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเปน  n  เมื่อ  n  เปนจํานวนเต็มบวกแลว  จํานวนสับ 
เซตทั้งหมดของ  A  เทากับ  2 n 
เซตของสับเซตทั้งหมดของ  A  เมื่อ  A  เปนเซตจํากัด   เรียกวา  “เพาเวอรเซตของเซต  A” 
เขียนแทนดวย  P(A) 
        กําหนด  A  =  { a , b , c } 
ดังนั้น  P(A)  =  { f , {a}  , {b}  , {c} , {a , b}  , {a , c}  , {b , c}  , { a , b , c }}
สมบัติที่สาคัญของเพาเวอรเซต 
                        ํ
                1.  เพาเวอรเซตของทุกเซตไมเปนเซตวาง 
                2.  P(f ) =  {f} 
                3.  fÎ P(f )  และ  f Ì  P(A)  เมื่อ  A  เปนเซตจํากัด 
                4.  A Î P(A )  เมื่อ  A  เปนเซตจํากัด 
                5.  A Ì B  ก็ตอเมื่อ  P(A) Ì  P(B) 



4.  กิจกรรมการเรียนการรู 
    1.  นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเกี่ยวกับเนื้อหาใหม 
    2.  ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังและจุดประสงคการเรียนรูนกเรียนทราบ 
                                                                ั
    3.  แบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุมละประมาณ  5  คน  และใหนักเรียนปฏิบัติงานโดยใช 
         กระบวนการกลุม 
    4.  แจกใบความรูและใบกิจกรรมใหนักเรียนแตละกลุมศึกษา 
    5.  สุมตัวแทนกลุม  1-2  กลุม  มาเสนอผลงานหรืออธิบายเนื้อหาตามหัวขอในใบความรูและใบ 
         กิจกรรม แลวใหนักเรียนรวมกันอภิรายซักถาม 
    6.  นักเรียนและครูรวมกันสรุปเนื้อหา 
    7.  แจกใบแบบฝกทักษะใหนกเรียนฝกปฏิบัติรายบุคคลแลวสุมนักเรียน  1-2  คน  เสนอผลงาน 
                                  ั
         และนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายในกรณีที่มีขอบกพรอง 
    8.  ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดในหนังสือ สสวท. เปนการบาน 
5.  สื่อการเรียนการสอน 
    5.1  สื่อการเรียนรู 
         5.1.1  ใบความรู                                     5.1.4  หนังสือเรียน สสวท. 
         5.1.2  ใบกิจกรรม                                     5.1.5  VDO  CD  เรื่อง  เซต 
         5.1.3  แบบฝกทักษะ 
    5.2  แหลงการเรียนรู คนหาขอมูลจากระบบอินเตอรเนต
6.  การวัดผลประเมินผล 
    การวัดผลประเมินผลอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามหัวขอคือ    ดานความรู  ,  ดานทักษะ  / 
    กระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้ 

      จุดประสงคการเรียนรู        น้ําหนัก  น้ําหนัก     วิธีวัด     เครื่องมือวัด 
                                   คะแนน  คะแนน 
                                             K  A  P 
ดานความรู                            5               ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน 
ž บอกความหมายของเซตได                                             คุณภาพดานความรู 
ž เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก 
    หรือแบบบอกเงื่อนไขของ 
    สมาชิกในเซตได 
ž บอกไดวาเซตทีกําหนดใหเปน 
                   ่
    เซตจํากัด , เซตอนันต  หรือ 
    เซตวาง 
ž บอกเซตที่เทากันได 
ž หาสับเซตและเพาเวอรเซต 
    ของเซตที่กําหนดใหได 
ดานทักษะ/กระบวนการ                  3                ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน 
ž การแกปญหา                                                     คุณภาพดานทักษะ 
ž การใหเหตุผล                                                    กระบวนการ 
ž การสื่อสารและนําเสนอ 
ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค           2                ตรวจเอกสาร    เกณฑประเมิน 
ž มีระเบียบวินัย                                      หรือ          คุณภาพดาน 
ž มีความรอบคอบ                                        สังเกต        คุณลักษณะที่พึง 
ž มีความรับผิดชอบ                                     พฤติกรรมใน    ประสงค 
                                                      หอง 
              รวม
เกณฑประเมินคุณภาพดานตาง ๆ 
    6.1  การประเมินผลดานความรู 
   คะแนน / 
                                    ผลการทําแบบฝกหัดที่ปรากฏใหเห็น 
  ความหมาย 
       4
                 การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ คําตอบถูกตอง ครบถวน 
     ดีมาก 
       3         การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจนนัก แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบถูกตอง 
                                                                   ู
       ดี        ครบถวน 
       2         การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน หรือไมแสดงวิธีทํา คําตอบถูกตอง ครบถวน หรือ 
    พอใช        การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ แตคําตอบไมถูกตอง ขาดการตรวจสอบ 
       1         การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบไมถูกตอง หรือ 
                                                                ู
   ควรแกไข  ไมแสดงวิธีทําและ คําตอบที่ไดไมถูกตองแตอยูในแนวทางถูกตอง 
                                                              
       0 
                 ทําไดไมถึงเกณฑ 
 ตองปรับปรุง 

    6.2  เกณฑการใหคะแนนดานทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร 
การแกปญหา 
         
   คะแนน / 
                                ความสามารถในการแกปญหาที่ปรากฏใหเห็น 
                                                           
  ความหมาย 
       4         ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ  อธิบายถึงเหตุผลใน 
     ดีมาก       การใชวิธีการดังกลาวไดเขาใจชัดเจน 
       3         ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จ  แตนาจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช 
       ดี        วิธีการดังกลาวไดดีกวานี้ 
       2         ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จเพียงบางสวน  จะอธิบายถึงเหตุผลในการ 
    พอใช        ใชวิธีการดังกลาวไดบางสวน 
       1         มีรองรอยการดําเนินการแกปญหาบางสวน  เริ่มคิดวาทําไมจึงตองใชวิธการนัน 
                                                                                     ี ้
 ตองปรับปรุง  แลวหยุดอธิบายตอไปไมได  แกปญหาไมสําเร็จ 
       0 
                 ทําไดไมถึงเกณฑขางตน  หรือไมมีรองรอยการดําเนินการแกปญหา
  ไมพยายาม 
การใหเหตุผล 
   คะแนน / 
                                ความสามารถในการใหเหตุผลทีปรากฏใหเห็น 
                                                          ่
  ความหมาย 
       4
                 มีการอางอิง  เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอยางสมเหตุสมผล 
     ดีมาก 
       3 
                 มีการอางอิงที่ถูกตองบางสวน  และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 
       ดี 
       2
                 เสนอแนวคิดไมสมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ 
    พอใช 
       1 
                 มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 
 ตองปรับปรุง 
       0 
                 ไมมีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 
  ไมพยายาม 



การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ 
   คะแนน /             ความสามารถในการสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร 
  ความหมาย                               และการนําเสนอที่ปรากฏใหเห็น 
                   ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรที่ถูกตอง  นําเสนอโดยใชกราฟ 
       4
                   แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบตามลําดับขั้นตอนไดเปนระบบ 
     ดีมาก 
                   กระชับ  ชัดเจน  และ มีรายละเอียดสมบูรณ 
       3           ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  นําเสนอโดยใชกราฟ  แผนภูมิหรือ 
       ดี          ตารางแสดงขอมูลประกอบลําดับขันตอนไดถูกตอง  ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ 
                                                   ้
       2           ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  พยายามนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟ 
    พอใช          แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบชัดเจนบางสวน 
       1           ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรอยางงาย ๆ ไมไดใชกราฟ  แผนภูมิหรือ 
 ตองปรับปรุง  ตารางเลย  และการนําเสนอขอมูลไมชัดเจน 
       0 
                   ไมนําเสนอ
  ไมพยายาม 
6.3  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค 
                            ึ
มีความรับผิดชอบ 
   คะแนน / 
                                         คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น 
  ความหมาย 
                  สงงานกอนหรือตรงกําหนด เวลานัดหมาย 
       3
                  รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเปนนิสัยเปนระบบแกผูอื่น 
     ดีมาก 
                  และแนะนําชักชวนใหผูอื่นปฏิบัติ 
       2          สงงานชากวากําหนด แตมการติดตอชี้แจงครูผูสอน   มีเหตุผลที่รับฟงได 
                                           ี
       ดี         รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย  ปฏิบัติเองจนเปนนิสัย 
       1          สงชากวากําหนด 
    พอใช         ปฏิบัติงานโดยตองอาศัยการชี้แนะ แนะนํา ตักเตือนหรือใหกําลังใจ 

มีระเบียบวินัย 
   คะแนน / 
                                         คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น 
  ความหมาย 
       3          สมุดงาน  ชิ้นงานสะอาดเรียบรอย 
     ดีมาก        ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือทุกครั้ง 
       2          สมุดงาน  ชิ้นงานสวนใหญสะอาดเรียบรอย 
       ดี         ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือกันไดเปนสวนใหญ 
       1          สมุดงาน  ชิ้นงานไมคอยเรียบรอย 
     พอใช        ปฏิบัติตนอยูในขอตกลงทีกําหนดใหรวมกันเปนบางครั้ง  ตองอาศัยการแนะนํา 
                                            ่

ทํางานเปนระบบและรอบคอบ 
   คะแนน / 
                                         คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น 
  ความหมาย 
       3       มีการวางแผนการดําเนินงานอยางเปนระบบการทํางานมีครบทุกขันตอน  ตัด 
                                                                             ้
     ดีมาก     ขั้นตอนที่ไมสําคัญออกไดจดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังถูกตองครบถวน 
                                          ั
       2       มีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมครบทุกขันตอน  และผิดพลาดบาง 
                                                               ้
       ดี      จัดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังไดเปนบางสวน 
       1       ไมมีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมมีขั้นตอน  มีความผิดพลาดตอง 
     พอใช     แกไขไมจดเรียงความสําคัญ
                          ั
ชั่วโมงที่ 1 

                                              ใบกิจกรรมที่ 1 
ตัวชี้วัด  บอกไดวากลุมของสิ่งของตางๆทีกําหนดใหกลุมใดเปนเซต 
                                                ่
กระบวนการ            สรางความคิดรวบยอด 
ระดับพฤติกรรม  ความรู-ความจํา 
                             
คําชี้แจง  ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้แลวทําเครื่องหมาย /  ลงในชองวางขอละ 1 ชอง 
          โดยใชเวลา 5 นาที 
ขอที่                           ขอความ                          บอกสมาชิก  บอกสมาชิก 
                                                                   ไดแนนอน  ไดไมแนนอน 
  ก.  กลุมของวันในหนึ่งสัปดาห                                         / 
  ข.  กลุมของคนรูปหลอที่สุดในประเทศไทย                                               / 
  1.  กลุมของเดือนใน 1 ป 
  2.  กลุมของคนที่มีอายุต่ํากวา 15 ป 
  3.  กลุมของสระในภาษาอังกฤษ 
  4.  กลุมของพยัญชนะในภาษาไทย 
  5.  กลุมของผลไมที่อรอย 5 ชนิด 
  6.  กลุมของจํานวนนับทีนอยกวา 8 
                               ่
  7.  กลุมของสัตวเลี้ยงที่นารัก 
  8.  กลุมของจํานวนนับที่หารดวย 5 ลงตัว 
  9.  กลุมของนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยที่เปนผูหญิง 
 10.  กลุมของคนรวยในประเทศไทย 
           กลุมของขอ ก. มีลักษณะเปนเซต 
           กลุมของขอ ข. มีลักษณะไมเปนเซต 
ดังนั้นกลุมที่มีลักษณะเปนเซต คือ ขอที่ ______________________________________________ 
      กลุมที่มีลักษณะไมเปนเซต คือ ขอที่ ______________________________________________ 

 เราจะใชคําวาเซต ก็ตอเมื่อ _______________________________________________________ 
  ____________________________________________________________________________
ใบกิจกรรมที่ 2 
ตัวชี้วัด            1. บอกสมาชิกของเซตที่กําหนดใหได 
                     2. เมื่อกําหนดเซตให  นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกได 
กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ 
ระดับพฤติกรรม                ความเขาใจ 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาทีเพื่อศึกษาขอความและทํากิจกรรมในกรอบ 
                        เซต                          สมาชิกของเซต  เขียนอยูในรูปเซตแบบ 
                                                                               
                                                                          แจกแจงสมาชิก 
ก. ให A แทนเซตของสระในภาษาอังกฤษ                      a , e , i,o , u    A = { a,e,i,o,u} 
ข. ให B แทนเซตของจํานวนนับที่นอยกวา 8              1,2,3,4,5,6,7     A = { 1,2,3,4,5,6,7 } 
ค. ให C แทนเซตของพยัญชนะภาษาไทย                      ก,ข,ฃ,...,อ,ฮ     C = {ก,ข,ฃ,...,อ,ฮ} 
ง. ให D แทนเซตของจํานวนเต็มบวก                          1,2,3,4,...     D = { 1,2,3,4,... } 
1. ให E แทนเซตของจํานวนนับตั้งแต 5 ถึง10             5,6,7,8,9,10     E = { 5,6,7,8,9,10 } 
2. ให F แทนเซตพยัญชนะคําวา “คณิตศาสตร”             ค,ณ,ต,ศ,ส,ร       F = { ค,ณ,ต,ศ,ส,ร } 
3. ให G แทนเซตของจํานวนเต็มลบ                          -1,-2,-3,...     G = { -1,-2,-3,... } 
4. ให H แทนสีของธงชาติไทย 
5. ให K แทนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปน 
   เลข 2 หลัก 

                       สรุปวิธีเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก มีหลักการดังนี้ 

1. โดยทั่วไปนิยมใชอกษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญแทนเซต เชน _________________________ 
                       ั
2. ถาสมาชิกเปนพยัญชนะภาษาอังกฤษ จะใชตัวอักษรตัวพิมพเล็ก เชน _____________________ 
3. เขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมาย _____________________________________ 
4. สมาชิกแตละตัวจะคั่นดวยเครื่องหมาย _________________________________________ 
5. ในกรณีที่เซตนันมีสมาชิกมากตัวไมสะดวกทีจะเขียนใหครบทุกตัว อาจใชสัญลักษณ 
                 ้                          ่
    ______________แลวตอดวยสมาชิกตัวสุดทายเพื่อแสดงวามีสมาชิกตัวอื่นๆในเซตนั้นตอไปอีก 
   ดังใบกิจกรรมที่ 2 ขอ ค. 
6. ในกรณีที่มีจานวนสมาชิกมากมายนับไมถวนไมสามารถแจกแจงสมาชิกไดครบทุกตัว เราจะใช 
               ํ
   สัญลักษณ ___________ตอทาย เพื่อแสดงวามีสมาชิกตอไปอีกเรื่อยๆไมมีที่สิ้นสุด 
   ดังใบกิจกรรม    ที่ 2 ขอ ง.
ใบกิจกรรมที่ 3 
ตัวชี้วัด        ใชสัญลักษณ “Γ แทนการเปนสมาชิก และ “Ï“ แทนการไมเปนสมาชิกได 
กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ 
ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษาและทํากิจกรรมตอไปนี้ 

กิจกรรม 3.1  กําหนดให A = {a,e,i,o,u}  จะไดวา A มีสมาชิก 5 ตัว 
                a เปนสมาชิกของ A  เขียนแทนดวย a Î A 
                e เปนสมาชิกของ A  เขียนแทนดวย e Î A 
                b ไมเปนสมาชิกของ A  เขียนแทนดวย b Ï A 
                i ____________  A  เขียนแทนดวย _________ 
                o ____________  A  เขียนแทนดวย _________ 
                d ____________  A  เขียนแทนดวย _________ 

        คําวา เปนสมาชิกของ (Element) จะเขียนแทนดวย สัญลักษณ __________ 
        คําวา ไมเปนสมาชิกของ  จะเขียนแทนดวย สัญลักษณ __________ 



กิจกรรม 3.2     กําหนด A = {1,2,3,{4,5},6}  จงเติมสัญลักษณ Î , Ï  ลงในชองวางใหถูกตอง 

                 A มีสมาชิกจํานวน _____________ ตัว 
        1.   1 ______ A                       5.   5 _______ A 
        2.   2 ______ A                       6.   6 _______ A 
        3.   7 ______ A                       7.   3 _______ A 
        4.   4 ______ A                       8.   9 _______ A
แบบฝกทักษะที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม 
1. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก 
          1.1  A เปนเซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ขึ้นตนดวย “ช” 
              A = ________________________________________________ 
          1.2  B เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนเฉพาะทีนอยกวา 20 
                                                             ่ 
              B = ________________________________________________ 
          1.3  C เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่หารดวย 10 ลงตัว 
              C = ________________________________________________ 
          1.4  D เปนเซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ (x+2)(3x–1) = 0 
              D = ________________________________________________ 
          1.5  E เปนเซตของพยัญชนะในคําวา “กรรมการ” 
              E = ________________________________________________ 

2. กําหนด  A = {1,2,3,4} , B = {1,{2,3},3,4}  จงพิจารณาวาประโยคตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ 

                               ประโยค                   จริง,เท็จ 
                             1.  1 Î A                 _________ 
                              2.  2 Î B                _________ 
                             3.  4 Ï A                 _________ 
                              4.  3 Î B                _________ 
                             5.  {2,3} Î B             _________ 
                              6.  3 Ï B                _________
ชั่วโมงที่  2 - 3 

                                  ใบความรูที่ 1 
          เอกภพสัมพัทธ  หมายถึงขอบขายของสิ่งที่กลาวถึง เชน ในเรื่องระบบจํานวน 
ระดับประถมศึกษาจะจํากัดเอกภพสัมพัทธ คือ จํานวนตรรกยะที่เปนบวกและศูนย แต 
ในระดับมัธยมศึกษาจะใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง 
          สัญลักษณแทนเซตของจํานวนตางๆ 
“ U “  (Universe)        แทน  เอกภพสัมพัทธ 
“ N “  (Number)          แทน  เซตของจํานวนนับ 
“ I “   (Integer)        แทน  เซตของจํานวนเต็ม 
“ I +  “                 แทน  เซตของจํานวนเต็มบวก 
    – 
“ I  “                   แทน  เซตของจํานวนเต็มลบ 
“ Q “                    แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ 
“ Q +  “                 แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ 
“ Q –  “                 แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ 
“ R “  (Real)            แทน  เซตของจํานวนจริง 
     + 
“ R  “                   แทน  เซตของจํานวนจริงบวก 
“ R –  “                 แทน  เซตของจํานวนจริงลบ 
“ P “  (Prime)           แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ 
“ | “                    แทน  คําวา  “โดยที่”
ใบกิจกรรมที่ 1 
ตัวชี้วัด                    1. เขียนสัญลักษณแทนเซตแบบบอกเงื่อนไขได 
                             2. เมื่อกําหนดเซตให นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขได 
กระบวนการ                    สรางความคิดรวบยอด 
ระดับพฤติกรรม                ความเขาใจ 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ศึกษาการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขตอไปนี้ 
                           เซต                                            เซตแบบบอกเงื่อนไข 
1. A เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 15               1. A={xÎR | x เปนจํานวนเต็มบวกทีนอยกวา 15} 
                                                                                             ่
2. B = {a,e,i,o,u}                                       2. B={xÎU | x เปนสระในภาษาอังกฤษ } , 
                                                              เมื่อ U เปนเซตของพยัญชนะในภาษาอังกฤษ 
3. C = { -1 }                                            3. C = { yÎI | x 2  = 1 } 
4. D เปนเซตของจํานวนเต็มที่อยูระหวาง 2 กับ 10  4. D = {xÎI | 2 < x < 10} 
5. E = {2,4,6,8,10}                                      5. E = {yÎR | y เปนจํานวนคูบวกที่นอยกวา 12} 
6. F = {...,-3,-2,-1,0,1,2,3,...}                        6. ________________________________ 
7. G = {มวง,คราม,น้ําเงิน,เขียว,เหลือง,แดง,แสด}  7. ________________________________ 
8. H เปนเซตของจํานวนเต็มที่มากกวา 0                    8. ________________________________ 
9. J เปนเซตของจํานวนจริงคู                             9.________________________________ 
10. K = {ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ}                              10. _______________________________ 
        สรุป  การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข เริ่มตนดวยการกําหนดเอกภพสัมพัทธ U  และ 
พิจารณาเซตที่ตองการเฉพาะสมาชิกใน U  ซึ่งมีสมบัติตามตองการ เชน  ถากําหนดเอกภพสัมพัทธ 
U = { 0,1,2,3,4,5,6 }  และให A เปนเซตที่ประกอบไปดวยสมาชิกใน U และเปนจํานวนคู เราจะ 
เขียน A ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขไดโดยการใช”ตัวแปร”แทนสมาชิกของ A แลวบรรยายสมบัติ 
ของตัวแปรนัน        ดังนี้  A = {xÎ___ | x เปนจํานวน_____ } 
             ้
        อานวา A เปนเซตที่ประกอบดวย x ซึ่งเปนสมาชิกของ____โดยที่ x เปนจํานวน____ 
หมายเหตุ         1. เครื่องหมาย “ | “  อานวา _________ 
                 2. เราจะเขียน A ในแบบบอกเงื่อนไขไดอกวิธีหนึ่งคือ 
                                                          ี
                                   A = { x | x Î____ และ x เปนจํานวน _____ } 
                 3. ตัวแปรที่กําหนดเปนสมาชิกของ A ไมจําเปนตองเปน x เสมอไป 
                 4. ถาเซตใดๆกลาวถึงจํานวนแตไมไดระบุเอกภพสัมพัทธไว เอกภพสัมพัทธ 
                                       จะหมายถึงจํานวนจริง
ใบกิจกรรมที่ 2 
ตัวชี้วัด                   1. เขียนสัญลักษณแทนเซตแบบบอกเงื่อนไขได 
                            2. เมื่อกําหนดเซตให นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขได 
กระบวนการ                   ทักษะการคิดคํานวณ 
ระดับพฤติกรรม               ความเขาใจ 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที เขียนเซตตอไปนี้เปนแบบบอกเงื่อนไข 
                          เซต                                       เซตแบบบอกเงื่อนไข 
1. A เปนเซตของพยัญชนะในภาษาไทยของคําวา 
    “ พยัญชนะ”                                          1. A = ____________________________ 
2. B = { 2,4,6,8,... } 
                                                        2. B = ____________________________ 
3. C = { 1,2,3,...,100 } 
                                                        3. C = ____________________________ 
4. D เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปน 
      จํานวนเฉพาะ                                       4. D = ____________________________ 
5. E เปนเซตของจํานวนจริงบวกที่เปนคําตอบ 
    ของสมการ x 2 – 4x – 5 = 0                           5. E = ____________________________ 

                                         แบบฝกทักษะที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม 
                          เซต                                   เซตแบบบอกเงื่อนไข 
1. F = { 5,10,15,...,50 } 
                                                    1. F = ____________________________ 
2. G = { 0 } 
                                                    2. G = ____________________________ 
3. H = {เชียงราย,เชียงใหม,ชลบุรี,ชุมพร} 
                                                    3. H = ____________________________ 
4. J = { 1,4,9,16,25 } 
                                                    4. J = ____________________________ 
5. K = { 1,3 } 
                                                    5. K = ____________________________
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ศึกษาการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขตอไปนี้ 

                           เซต                                     เซตแบบบอกเงื่อนไข 
6. F = {...,-3,-2,-1,0,1,2,3,...}                   6. __F = { x Î R | x เปนจํานวนเต็ม }______ 
7. G = {มวง,คราม,น้ําเงิน,เขียว,เหลือง,แดง,แสด}    7. __G = { x | x เปนสีของรุงกินน้ํา }_______ 
8. H เปนเซตของจํานวนเต็มที่มากกวา 0               8. __H = {x Î R | x  เปนจํานวนเต็มบวก }___ 
9. J เปนเซตของจํานวนจริงคู                        9.__J = { x | x เปนจํานวนเต็มคู }__________ 
10. K = {ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ}                         10. __K = { x | x  เปนอักษรกลางในพยัญชนะ 
                                                                    ภาษาไทย } ___________ 

        สรุป  การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข  เริ่มตนดวยการกําหนดเอกภพสัมพัทธ  U  และ 
พิจารณาเซตที่ตองการเฉพาะสมาชิกใน U  ซึ่งมีสมบัติตามตองการ เชน  ถากําหนดเอกภพสัมพัทธ 
U = { 0,1,2,3,4,5,6 }  และให  A  เปนเซตที่ประกอบไปดวยสมาชิกใน U  และเปนจํานวนคู  เราจะ 
เขียน  A  ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขไดโดยการใช”ตัวแปร”แทนสมาชิกของ  A  แลวบรรยายสมบัติ 
ของตัวแปรนัน ดังนี้  A = {xÎ_U_ | x เปนจํานวน__จํานวนคู__ } 
             ้                                                  
                 อานวา A เปนเซตที่ประกอบดวย x ซึ่งเปนสมาชิกของ__U__โดยที่ x เปนจํานวน_คู 
หมายเหตุ         1. เครื่องหมาย “ | “  อานวา __โดยที____ 
                                                      ่
                 2. เราจะเขียน A ในแบบบอกเงื่อนไขไดอกวิธีหนึ่งคือ 
                                                          ี
                           A = { x | x Î__U__ และ x เปนจํานวน __คู___ } 
                                                                   
                 3. ตัวแปรที่กําหนดเปนสมาชิกของ A ไมจําเปนตองเปน x เสมอไป 
                 4. ถาเซตใดๆกลาวถึงจํานวนแตไมไดระบุเอกภพสัมพัทธไว เอกภพสัมพัทธ 
                                       จะหมายถึงจํานวนจริง
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที เขียนเซตตอไปนี้เปนแบบบอกเงื่อนไข 
                        เซต                                        เซตแบบบอกเงื่อนไข 
1. A เปนเซตของพยัญชนะในภาษาไทยของคําวา  1. A = {x | x เปนพยัญชนะในภาษาไทย 
    “ พยัญชนะ”                                                 ของคําวา “ พยัญชนะ” } 
2. B = { 2,4,6,8,... }                               2. B = { x | x เปนจํานวนคูบวก } 

3. C = { 1,2,3,...,100 }                            3. C = { x | x เปนจํานวนนับที่นอยกวา 101 } 

4. D เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปน                 4. D = {x | x เปนจํานวนเต็มบวกที่เปน 
     จํานวนเฉพาะ                                         จํานวนเฉพาะ } 
5. E เปนเซตของจํานวนจริงบวกที่เปนคําตอบ           5. E = { x Î R | x เปนจํานวนที่สอดคลองกับ 
    ของสมการ x 2 – 4x – 5 = 0                                สมการ x 2 – 4x – 5 = 0 } 



                                       เฉลยแบบฝกทักษะที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม 

                      เซต                                   เซตแบบบอกเงื่อนไข 
1. F = { 5,10,15,...,50 }                   1. F = { x Î R + | x เปนจํานวนทีนอยกวา 51 ที่ 
                                                                             ่
                                                         หารดวย 5 ลงตัว } 
2. G = { 0 }                                2. G = { x Î I | –1 < x < 1 } 

3. H = {เชียงราย,เชียงใหม,ชลบุรี,ชุมพร}    3. H = { x | x เปนชื่อของจังหวัดที่ขึ้นตนดวย 
                                                        พยํญชนะ “ ช “ } 
4. J = { 1,4,9,16,25 }                      4. J = { x Î I +  | x = y 2  และ y < 6 } 

5. K = { 1,3 }                              5. K = { x Î I + | x เปนจํานวนคี่ที่นอยกวา 5 }
ชั่วโมงที่ 4 

                                          ใบกิจกรรมที่ 1 
ตัวชี้วัด 
       1. เมื่อกําหนดเซตใหนกเรียนสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซตได 
                               ั
       2. ระบุไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตจํากัดหรือไม 
                         ่
       3. ระบุไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตอนันตหรือไม 
                           ่
       4. ระบุไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตวางหรือไม 
                             ่
       5. นักเรียนบอกความหมายและยกตัวอยางเซตจํากัด  เซตอนันตและเซตวางได 
กระบวนการ               ทักษะการคิดคํานวณ 
ระดับพฤติกรรม           ความเขาใจ 

กิจกรรมที่ 1.1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษากิจกรรมที่ 1.1 และเติมคําตอบที่ถูกตอง 
                            เซต                                จํานวนสมาชิก         เขียนแทนดวย 
1. A = { -2,0,1,2,3 }                                                5                 n(A) = 5 
2. B = { 1,3,5,7,11,13 }                                             6                  n(B) = 6 
3. C = { 5,10,15,... }                                       มากมายนับไมถวน              – 
4. D = { ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ }                                         9                _____ = 9 
5. E = { xÎR | 1 £ x £ 3 }                                    _____________                – 
6. F = { a,b,c,...,z }                                        _____________  _____________ 
7. G = { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “สวัสดี” }                 _____________  _____________ 
8. H = { 1234 }                                               _____________  _____________ 
9. J = { xÎI | x 2  = 5 }                                     _____________  _____________ 
10. K = { xÎI | x – 3 ³ 0 }                                   _____________  _____________ 
11. L = { 0,1,2,3,...,20 }                                    _____________  _____________ 
12. M = { xÎR | x หารดวย 7 ลงตัว }                           _____________  _____________ 
13. N = { 100,101,102,...,999 }                               _____________  _____________ 
14. P = { x | x เปนนายกรัฐมนตรีของไทยที่เปนหญิง }           _____________  _____________
กิจกรรมที่ 1.2 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาที จําแนกประเภทของเซตโดยอาศัยกิจกรรมที่ 1.1 

    เซตที่สามารถบอกจํานวนสมาชิกไดแนนอน  เซตที่ไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกได 
    วามีจํานวนเทาใด ไดแกเซต __A,B,_____  แนนอนวามีกี่จํานวน  ไดแกเซต ____ 
         _____________________________       ___C , E , _________________ 

       เซต  A , B  เรียกวา  ” เซตจํากัด ” 
       เซต  C , E  เรียกวา  “ เซตอนันต ” 
       เซต  J , P  เรียกวา  “ เซตวาง ” 
       เซต  D, F, G, H, J, L, N, P  เรียกวา ______________________ 
       เซต  K, M  เรียกวา _________________________ 

               จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด A เขียนแทนดวย สัญลักษณ __________ 
               เซตจํากัด หมายถึง ___________________________________ 
               เซตอนันต หมายถึง __________________________________ 
               เซตวาง หมายถึง ____________________________________
ใบกิจกรรมที่ 2 
ตัวชี้วัด         ขอ 1 - 5 
กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ 
ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ 
กิจกรรม 2.1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษากรอบที่กําหนดใหตอไปนี้ 

        1. เซตจํากัด ( Finite Set )  หมายถึง เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย 
        2. จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด A เขียนแทนดวยสัญลักษณ  n (A) 
        3. เซตอนันต ( Infinite Set )  หมายถึง เซตที่ไมใชเซตจํากัด 
        4. เซตวาง  ( Empty Set )  หมายถึง เซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากับศูนย 
        5. สัญลักษณทใชแทนเซตวาง คือ  { } หรือ f 
                        ี่

กิจกรรม 2.2 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทํากิจกรรมตอไปนี้ 
1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้ เปนเซตจํากัด หรือ เซตอนันต 
          ______ 1. { ก,ข,ฃ,ค,...,ฮ }             ______ 6. { xÎR | 1 £ x £ 3 } 
          ______ 2. { 2,4,6,...,100 }             ______ 7. { xÎI | x.x = x 2  } 
          ______ 3. { 1,2,3,... }                 ______ 8. { x | x เปนสระในคําวา “ empty ” } 
          ______ 4. { 0 }                         ______ 9. { xÎN | x ³ 3 } 
          ______ 5. {  }                          ______ 10. { xÎN | 2x = 16 } 
2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม 
          ______ 1. { x | x เปนสระในคําวา “บงกช” } 
          ______ 2. { xÎR | x 2  = 5 } 
          ______ 3. { xÎR | x 2  < 0 } 
          ______ 4. { xÎI | x + 5 = x } 
          ______ 5. { xÎI | x + x = x } 
3. ใหนักเรียนยกตัวอยางเซตทีกําหนดใหอยางละ 1 เซต 
                                 ่
          1. เซตที่เปนเซตจํากัด ______________________________________________ 
          2. เซตที่เปนเซตอนันต _____________________________________________ 
          3. เซตที่เปนเซตวาง _______________________________________________
แบบฝกทักษะที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม 

       1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต 
______1. { x | xÎI –  } 
______2. { -2,3,{1,5}} 
______3. { xÎN | x – 3 < 5 } 
______4. { xÎI | –1 £ x £ 7 } 
______5. { x | x เปนจุดบนเสนตรง } 
______6. { x | x เปนวงกลมที่มีจดศูนยกลางที่ (0,0) } 
                                ุ
______7. { xÎI –  | x ³ –10 } 
______8. { xÎI | x ¹ 0 } 
______9. { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “ examination “ } 
______10. { f } 

       2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม 
______1. { 0 } 
______2. { f } 
______3. { xÎN | x สอดคลองกับสมการ  x(x+3) = 0 } 
______4. { x | x + x = x 2  } 
______5. { x | x เปนสระในภาษาอังกฤษในคําวา “ try “ }
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 
กิจกรรมที่ 1.1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษากิจกรรมที่ 1.1 และเติมคําตอบที่ถูกตอง 
                             เซต                                  จํานวนสมาชิก           เขียนแทนดวย 
1. A = { -2,0,1,2,3 }                                                   5                   n(A) = 5 
2. B = { 1,3,5,7,11,13 }                                                6                    n(B) = 6 
3. C = { 5,10,15,... }                                          มากมายนับไมถวน                – 
4. D = { ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ }                                            9                    n(D) = 9 
5. E = { xÎR | 1 £ x £ 3 }                                      มากมายนับไมถวน                – 
6. F = { a,b,c,...,z }                                           ______26_____              n(F) = 26 
7. G = { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “สวัสดี” }                    ______3______          __n(G) = 3___ 
8. H = { 1234 }                                                  ______1______          __n(H) = 1___ 
9. J = { xÎI | x 2  = 5 }                                        ______0______           __n(J) = 0___ 
10. K = { xÎI | x – 3 ³ 0 }                                     มากมายนับไมถวน                - 
11. L = { 0,1,2,3,...,20 }                                       ______21_____           __n(L) = 21__ 
12. M = { xÎR | x หารดวย 7 ลงตัว }                             มากมายนัยไมถวน                - 
13. N = { 100,101,102,...,999 }                                   _____900____          __n(N) = 900__ 
14. P = { x | x เปนนายกรัฐมนตรีของไทยที่เปนหญิง }              _______0_____           __n(P) = 0___
กิจกรรมที่ 1.2 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาที จําแนกประเภทของเซตโดยอาศัยกิจกรรมที่ 1.1 

เซตที่สามารถบอกจํานวนสมาชิกไดแนนอน                     เซตที่ไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกได 
วามีจํานวนเทาใด ไดแกเซต __A,B,D,F,G                  แนนอนวามีกี่จํานวน  ไดแกเซต ____ 
___H,J,L,N,P_________________                             ___C , E , K , M____________ 

       เซต  A , B  เรียกวา  ” เซตจํากัด ” 
       เซต  C , E  เรียกวา  “ เซตอนันต ” 
       เซต  J , P  เรียกวา  “ เซตวาง ” 
       เซต  D, F, G, H, J, L, N, P  เรียกวา ___เซตจํากัด____ 
       เซต  K, M  เรียกวา ___เซตอนันต____ 

               จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด A เขียนแทนดวย สัญลักษณ __n(A)____ 
               เซตจํากัด หมายถึง __เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย 
               เซตอนันต หมายถึง __เซตที่ไมใชเซตจํากัด__________________ 
               เซตวาง หมายถึง __เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนศูนย_____________
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 
กิจกรรม 2.2 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทํากิจกรรมตอไปนี้ 
1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้ เปนเซตจํากัด หรือ เซตอนันต 
          _จํากัด__ 1. { ก,ข,ฃ,ค,...,ฮ }  _อนันต_ 6. { xÎR | 1 £ x £ 3 } 
          _จํากัด__ 2. { 2,4,6,...,100 }  _อนันต_ 7. { xÎI | x.x = x 2  } 
          _อนันต_ 3. { 1,2,3,... }          _จํากัด__ 8. { x | x เปนสระในคําวา “ empty ” } 
          _จํากัด__ 4. { 0 }                 _อนันต_ 9. { xÎN | x ³ 3 } 
          _จํากัด__ 5. {  }                  _จํากัด__ 10. { xÎN | 2x = 16 } 
2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม 
          _วาง___1. { x | x เปนสระในคําวา “บงกช” } 
          _ไมวาง_2. { xÎR | x 2  = 5 } 
          _วาง___3. { xÎR | x 2  < 0 } 
          _วาง___4. { xÎI | x + 5 = x } 
          _ไมวาง_5. { xÎI | x + x = x } 
3. ใหนักเรียนยกตัวอยางเซตทีกําหนดใหอยางละ 1 เซต 
                                  ่
          1. เซตที่เปนเซตจํากัด ___{ 1,2,3,4,...,10 }_________________________ 
          2. เซตที่เปนเซตอนันต ___{ 1,2,3,... }_____________________________ 
          3. เซตที่เปนเซตวาง ___{ x êx เปนนายกรัฐมนตรีหญิงของไทย }______________
เฉลยแบบฝกทักษะที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม 
          1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต 
_อนันต_ 1. { x | xÎI –  } 
_จํากัด__2. { -2,3,{1,5}} 
_จํากัด__3. { xÎN | x – 3 < 5 } 
_จํากัด__4. { xÎI | –1 £ x £ 7 } 
_อนันต_ 5. { x | x เปนจุดบนเสนตรง } 
_อนันต_ 6. { x | x เปนวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่ (0,0) } 
_จํากัด__7. { xÎI –  | x ³ –10 } 
_อนันต_ 8. { xÎI | x ¹ 0 } 
_จํากัด__9. { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “ examination “ } 
_จํากัด__10. { f } 

         2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม 
_ไมวาง_1. { 0 } 
_ไมวาง_2. { f } 
_วาง___3. { xÎN | x สอดคลองกับสมการ  x(x+3) = 0 } 
_ไมวาง_4. { x | x + x = x 2  } 
_วาง___5. { x | x เปนสระในภาษาอังกฤษในคําวา “ try “ }
ชั่วโมงที่  5 

                                          ใบความรูที่ 1 
เรื่อง เซตที่เทากัน 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 8 นาทีศึกษาการเทากันของเซต 

        ตัวอยางที่ 1  กําหนด A = {a,b,c} ,  B = {b,c,a} 
                  เซต A มีสมาชิกคือ a,b,c 
                  เซต B มีสมาชิกคือ a,b,c 
        จะไดวา {a,b,c} = {b,c,a} 
        เรียกวา เซต A เทากับเซต B  เขียนแทนดวน  A = B 

        ตัวอยางที่ 2  กําหนด A = {3,5,7} ,  B = {3,5,7,9} 
                  เซต A มีสมาชิกคือ 3,5,7 
                  เซต B มีสมาชิกคือ 3,5,7,9 
        จะไดวา {3,5,7} ¹ {3,5,7,9} 
        เรียกวา เซต A ไมเทากับเซต B เขียนแทนดวย A ¹ B 



        ตัวอยางที่ 3  กําหนด A = { 3 } ,  B = { 5 } 
                  เซต A มีสมาชิกคือ 3 
                  เซต B มีสมาชิกคือ 5 
        จะไดวา { 3 } ¹ { 5 } 
        เรียกวา เซต A ไมเทากับเซต B เขียนแทนดวย A ¹ B 



        ตัวอยางที่ 4  กําหนด A = {x êxÎI , 5 < x £ 8 }  ,  B = { 6,7,8 } 
                  เซต A มีสมาชิกคือ 6,7,8 
                  เซต B มีสมาชิกคือ 6,7,8 
        จะไดวา  {x êxÎI , 5 < x £ 8 }  = { 6,7,8 } 
        เรียกวา เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B
ตัวอยางที่ 5  กําหนด A = {x êxÎI และ x 2  = 1 }  ,  B = { 1,–1 } 
          เซต A มีสมาชิกคือ ____________ 
          เซต B มีสมาชิกคือ ____________ 
จะไดวา  _________________________________ 
เรียกวา เซต A __________เซต B เขียนแทนดวย _________ 



ตัวอยางที่ 6  กําหนด A = { 1,2,{3,4},5 }  ,  B = { 1,2,3,4,5 } 
          เซต A มีสมาชิกคือ _________________ 
          เซต B มีสมาชิกคือ _________________ 
จะไดวา  _________________________________ 
เรียกวา เซต A __________เซต B เขียนแทนดวย _________
ใบกิจกรรมที่ 1 
ตัวชี้วัด             1. นักเรียนเขียนสัญลักษณแทนการเทากันของเซตได 
                      2. เมื่อกําหนดเซตตั้งแต 2 เซตขึ้นไป นักเรียนสามารถจําแนกไดวาเซตใดเทากัน 
กระบวนการ             สรางความคิดรวบยอด 
ระดับพฤติกรรม  ความรู-ความจํา 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที พิจารณาวาเซตที่กําหนดใหขอใดเปนเซตที่เทากันหรือไมเทากัน 
                                      เซต                                            คําตอบ 
ตัวอยาง  A = { 4,8 }                                                                A ¹ B 
         B = { 1,2 } 
1.  A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุนทร” } 
   B = { x ê x เปนพยัญชนะในคําวา “รุรสวาที” } 
2.  C = { x êx Î I และ x 2  – 9 = 0 } 
   D = { 3 } 
3.  E = { 2,4,6,8 } 
   F = { 2,4,6,... } 
4.  P = { x êx เปนจํานวนคี่บวก } 
   Q = { 1,3,5,... } 
5.  M = { 0,0,1,2,2,3 } 
   N = { 0,1,2,3 } 
   S = { x Î I ê0 £ x £ 3 } 

                สรุป  เซต 2 เซตจะเทากัน ก็ตอเมื่อ _______________________ 
                        __________________________________________
ใบกิจกรรมที่ 2 
ตัวชี้วัด              1. นักเรียนเขียนสัญลักษณแทนการเทากันของเซตได 
                      2. เมื่อกําหนดเซตตั้งแต 2 เซตขึ้นไป นักเรียนสามารถจําแนกไดวาเซตใดเทากัน 
กระบวนการ             ทักษะการคิดคํานวณ 
ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาทีเพื่อพิจารณาวาเซตใดตอไปนี้ที่เทากัน 
           1. A = { x êx เปนจํานวนคูที่อยูระหวาง 1 และ 12 } 
           2. B = { 2,4,6,8,10 } 
           3. C = { 2,4,6,8,10,12 } 
                    ตอบ _____________________________ 
           2. A = { a,a } 
             B = { 2a } 
             C = { 2,a } 
                    ตอบ _____________________________ 
           3. A = { 2,1 } 
             B = { 1,2 } 
             C = { xÎI ê 0 < x < 3 } 
                    ตอบ _____________________________ 
           4. A = { ก,ร,ม } 
             B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมการ” } 
             C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมกร” } 
             D = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “เวรกรรม” } 
                    ตอบ _____________________________ 
           5. A = { 10,20,30 } 
             B = { 10,20,30,... } 
             C = { x êx เปนจํานวนเต็มบวกที่หารดวย 10 ลงตัว } 
                    ตอบ _____________________________
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาที เพื่อศึกษาและสรุปเซตที่เทากัน 

                1. ถาเซต A เทากับเซต B แลว สมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของเซต B 
        และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A 
                  เขียนแทนเซต A เทากับเซต B ดวย A = B 
                2. ถาเซต A ไมเทากับเซต B ก็ตอเมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว ของเซต A 
        ไมเปนสมาชิกของเซต B หรือ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว ของเซต B ไมเปนสมาชิก 
        ของเซต A 
                  เขียนแทนเซต A ไมเทากับเซต B ดวย A ¹ B 



                บทนิยาม  เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน 
        กลาวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของ 
        เซต B เปนสมาชิกของเซต A 
                เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B
แบบฝกทักษะที่ 1 

         คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทําแบบฝกทักษะตอไปนี้ 
         1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เซตใดเปนเซตที่เทากันหรือเปนเซตที่ไมเทากัน 
                                เซต                                      เทากัน , ไมเทากัน 
1. A = { 2,3,4 } 
  B = { 4,2,3 } 
2. A = { 2,3,5 } 
  B = { 2,3,7 } 
3. A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ 
  B = { a,e,i,o,u } 
4. A = { xÎI ê5 < x < 10 } 
  B = { 6,7,8,9 } 
5. A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปไตย” } 
  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปก” } 

        2. จงพิจารณาวาเซตตอไปนี้ เซตใดบางเปนเซตที่เทากัน 
                A = { x êx เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา –5 } 
                B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สวนสด” } 
                C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สายวาด” } 
                D = { -1,-2,-3,-4 } 
                E = { -6,-7,-8 } 
                F = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุดสวย” } 
        ตอบ _________________________________________________
เฉลยใบความรูที่ 1 

ตัวอยางที่ 5  กําหนด A = {x êxÎI และ x 2  = 1 }  ,  B = { 1,–1 } 
          เซต A มีสมาชิกคือ ___1 , -1______ 
          เซต B มีสมาชิกคือ ___1 , - 1______ 
จะไดวา  ____{x êxÎI และ x 2  = 1 }   =  { 1,–1 }________ 
เรียกวา เซต A _เทากับ____เซต B เขียนแทนดวย ___A = B__ 



ตัวอยางที่ 6  กําหนด A = { 1,2,{3,4},5 }  ,  B = { 1,2,3,4,5 } 
          เซต A มีสมาชิกคือ _____ 1,2,{3,4},5 _______ 
          เซต B มีสมาชิกคือ ____1,2,3,4,5 ________ 
จะไดวา  ______{ 1,2,{3,4},5 }  = { 1,2,3,4,5 }________ 
เรียกวา เซต A __ไมเทากับ__เซต B เขียนแทนดวย __A ¹ B____
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที พิจารณาวาเซตที่กําหนดใหขอใดเปนเซตที่เทากันหรือไมเทากัน 
                                   เซต                                            คําตอบ 
ตัวอยาง  A = { 4,8 }                                                             A ¹ B 
        B = { 1,2 } 
1.  A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุนทร” }                                      A = B 
   B = { x ê x เปนพยัญชนะในคําวา “รุรสวาที” } 
2.  C = { x êx Î I และ x 2  – 9 = 0 }                                             C ¹ D 
   D = { 3 } 
3.  E = { 2,4,6,8 }                                                               E ¹ F 
   F = { 2,4,6,... } 
4.  P = { x êx เปนจํานวนคี่บวก }                                                 P = Q 
   Q = { 1,3,5,... } 
5.  M = { 0,0,1,2,2,3 }                                                        M = N = S 
   N = { 0,1,2,3 } 
   S = { x Î I ê0 £ x £ 3 } 

                สรุป  เซต 2 เซตจะเทากัน ก็ตอเมื่อ __________________________ 
                        _______________เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว______
เฉลยใบกิจกรรมที่ 2 
คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาทีเพื่อพิจารณาวาเซตใดตอไปนี้ที่เทากัน 
          1. A = { x êx เปนจํานวนคูที่อยูระหวาง 1 และ 12 } 
          2. B = { 2,4,6,8,10 } 
          3. C = { 2,4,6,8,10,12 } 
                   ตอบ _____A = B___________________ 
          2. A = { a,a } 
            B = { 2a } 
            C = { 2,a } 
                   ตอบ ______ไมมีเซตใดที่เทากัน_________ 
          3. A = { 2,1 } 
            B = { 1,2 } 
            C = { xÎI ê 0 < x < 3 } 
                   ตอบ ______A = B = C______________ 
          4. A = { ก,ร,ม } 
            B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมการ” } 
            C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมกร” } 
            D = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “เวรกรรม” } 
                   ตอบ ______A = B = C______________ 
          5. A = { 10,20,30 } 
            B = { 10,20,30,... } 
            C = { x êx เปนจํานวนเต็มบวกที่หารดวย 10 ลงตัว } 
                   ตอบ ______B = C__________________
เฉลยแบบฝกทักษะที่ 1 
         คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทําแบบฝกทักษะตอไปนี้ 
         1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เซตใดเปนเซตที่เทากันหรือเปนเซตที่ไมเทากัน 
                                เซต                                      เทากัน , ไมเทากัน 
1. A = { 2,3,4 }                                                                 A = B 
  B = { 4,2,3 } 
2. A = { 2,3,5 }                                                                A ¹ B 
  B = { 2,3,7 } 
3. A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ                                                     A = B 
  B = { a,e,i,o,u } 
4. A = { xÎI ê5 < x < 10 }                                                       A = B 
  B = { 6,7,8,9 } 
5. A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปไตย” }                               A ¹ B 
  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปก” } 

        2. จงพิจารณาวาเซตตอไปนี้ เซตใดบางเปนเซตที่เทากัน 
                A = { x êx เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา –5 } 
                B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สวนสด” } 
                C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สายวาด” } 
                D = { -1,-2,-3,-4 } 
                E = { -6,-7,-8 } 
                F = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุดสวย” } 
        ตอบ _____A = D ,  B = F = C_______________________________
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555
Set2555

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวว่าที่ ร.ต. ชัยเมธี ใจคุ้มเก่า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1tongcuteboy
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3srkschool
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2krutew Sudarat
 

What's hot (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
Ex
ExEx
Ex
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

Similar to Set2555

เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตteachersaman
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตจูน นะค่ะ
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 

Similar to Set2555 (20)

เซต
เซตเซต
เซต
 
ppset
ppsetppset
ppset
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
สับเซต
สับเซตสับเซต
สับเซต
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
งานนำเสนอSet
งานนำเสนอSetงานนำเสนอSet
งานนำเสนอSet
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 
Set
SetSet
Set
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
Set krupom
Set krupomSet krupom
Set krupom
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 

More from wongsrida

More from wongsrida (20)

Event1 2555
Event1 2555Event1 2555
Event1 2555
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Rubric
RubricRubric
Rubric
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Report
ReportReport
Report
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Event
EventEvent
Event
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Wicharkarn2554
Wicharkarn2554Wicharkarn2554
Wicharkarn2554
 
Kru
KruKru
Kru
 
Postest
PostestPostest
Postest
 

Set2555

  • 1. แผนการจัดการเรียนรูที่  1  หนวยการเรียนที่  1  คณิตศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา  ค31101  เรื่อง   เซต  จํานวน  8 ชั่วโมง  ชั้นมัธยมศึกษาปที่  4  ………………………………………………………………………………………………………  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.1  เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธและฟงกชัน  ตัวชี้วัด  1.  มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการดําเนินการของเซต  มาตรฐานการเรียนรู  ค 4.2  ใชนพจน  สมการ  อสมการ  กราฟและตัวแบบเชิงคณิตศาสตร (mathematical  ิ modela)  อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลออดจนแปลความหมายและนําไปใชแกปญหา  ตัวชี้วัด  1.  เขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร  แสดงเซตและนําไปใชแกปญหา  มาตรฐานการเรียนรู  ค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทาง  คณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตร   กับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค  ตัวชี้วัด  1.  ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา  2.  ใชความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาใน  สถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม  3.  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม  4.  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ  นําเสนอไดอยางถูกตองและชัดเจน  5.  เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและนําความรู  หลักการกระบวนการทาง  คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ  6.  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
  • 2. 1.  มาตรฐานการเรียนรู  1.1  สรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต  2.  ตัวชี้วัด  2.1  ดานความรู (Knowledge) : นักเรียนสามารถ  2.1.1  บอกความหมายของเซตได  2.1.2  เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกหรือแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซตได  2.1.3  บอกไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตจํากัด , เซตอนันต  หรือเซตวาง  ่ 2.1.4  บอกเซตที่เทากันได  2.1.5  หาสับเซตและเพาเวอรเซตของเซตที่กําหนดใหได  2.1  ดานทักษะ / กระบวนการ (Porcess) :  2.1.1  นักเรียนมีความสามารถในการแกปญหา  2.1.2  นักเรียนมีความสามารถในการใหเหตุผล  2.1.3  นักเรียนมีความสามารถในการสื่อสารและนําเสนอ  2.2  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค (Attitude) :  ึ 2.2.1  นักเรียนมีระเบียบวินย ั 2.2.2  นักเรียนทํางานอยางเปนระบบและรอบคอบ  2.2.3  นักเรียนมีความรับผิดชอบ  3.  สาระการเรียนรู  3.1  เซตและสมาชิกของเซต  ในวิชาคณิตศาสตรจะใชคําวา “เซต”  แทนคําตาง ๆ  เชน  ฝูง  หมู    กอง   โขลง  คณะ  ชุด    ฯลฯ      เซตจึงเปนคําที่ไมตองนิยามเพราะมีความหมายอยูในตัวแลว    สิ่งที่อยูในเซต  เรียกวา  “สมาชิก”  ( element  หรือ  member )  ใชสัญลักษณ  Π แทน  “เปนสมาชิกของ”  และ  Ï  แทน  “ไมเปนสมาชิกของ”  3.2  วิธีเขียนเซต  การเขียนเซตนิยมเขียนได  2  วิธี  ดังนี้  3.2.1  การเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก  เชน  A  =  {  a , e , i , o , u }  B  =  { 2  , 4 , 6 , 8 , 10 }  C  =  {  1 , 2 , 3 , … }
  • 3. 3.2.2  การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต   เชน  D  =  { x | x  คือ สระในภาษาอังกฤษ }  E  =  { x |  x 2  =  25  }  F  =  { x |  x 2  +7x + 10  =  0  }  3.3  เซตจํากัดและเซตอนันต  บทนิยาม  เซตจํากัด ( finite  sets )  หมายถึง  เซตที่มีจํานวนสมาชิกที่สามารถระบุไดเปน  จํานวนเต็มบวกใด ๆ  หรือศูนย  ตัวอยางเซตจํากัด  A  =  { 1 , 2 , 3 , …, 9 }  จํานวนสมาชิกของเซต A  เทากับ  9  นิยมใชสัญลักษณ  n(A)  แทนจํานวนสมาชิกของเซต A  ดังนั้น  n(A) = 9  ตัว  B  =  { x |  x  เปนจํานวนเต็ม  และ  4  <  x  <  10  }  สมาชิกของ  B  ไดแก  5 , 6 , 7 , 8 , 9  ดังนั้น  n(B)  =  5  C  =  { x |  x Î I +  และ  x  <  0  }  ไมมีจํานวนเต็มบวกใดที่มีคานอยกวา  0  ดังนั้น  n(C)  =  0  บทนิยาม  เซตอนันต ( infinite  sets )  หมายถึง  เซตที่ไมสามารถระบุจํานวนสมาชิกเปน  จํานวนเต็มบวกหรือศูนยได  หรือเปนเซตที่ไมใชเซตจํากัด  ตัวอยางเซตอนันต  D  =  { 1 , 2 , 3 , … }  E  =  { x |  x  เปนจํานวนเต็มนับ  }  F  =  { x |  x  เปนจํานวนเต็มบวกที่หารดวย  10  ลงตัว  }  3.4  เซตวาง  (  empty  set  หรือ  null  set )  บทนิยาม  เซตวาง (  empty  set  หรือ  null  set )  หมายถึงเซตที่ไมมีสมาชิก  หรือเซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนศูนย  เซตวางเขียนแทนดวยสัญลักษณ  f  หรือ  { }
  • 4. ตัวอยางเซตวาง  { x |  x  Î I  และ  3x  =  5  } { x |  x  เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา  0  } { x |  x  เปนจํานวนเต็มที่อยูระหวางหนึ่งและสอง  }  ขอสังเกต   เซตวางเปนเซตจํากัด  3.5  เซตที่เทากัน  บทนิยาม  เซตที่เทากัน ( equal  sets  หรือ  identical  sets  )  หมายถึง  เซตที่มีจํานวน  สมาชิกเทากันและ เหมือนกันทุกตัว  หมายเหตุ  1.  เซตที่มีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว  อาจจะเรียงสมาชิกตางกัน   หรืออาจมีสมาชิกบางตัวซ้ํา  กันได  2.  เซต  A  เทากับเซต  B  เขียนแทนดวย  A  =  B  และเซต  A  ไมเทากับเซต  B  เขียน  แทนดวย  A  ¹  B  ตัวอยางเซตที่เทากันและเซตที่ไมเทากัน  1.  { 1 , 2 , 3  }  =  { 3 , 1 , 2  }  2.  { x , y , z , z  }  =  { x , y , z  }  3.  { 3  , 5  }  =  { x |  ( x – 3  )( x – 5)  =  0  }  4.  { –2 ,  2  } ¹ { x  Î I +  |  x 2  =  4  }  เซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากัน      แตสมาชิกไมเหมือนกันหรือเหมือนกันบางตัว      เรียกวา  “เซตเทียบเทากัน (equivalent  sets )”  เซต  A  เทียบเทากับเซต  B เขียนแทนดวย  A  « B  ตัวอยางเซตที่เทียบเทากัน  A  =  { p , q , r , s , t  }  ,     B  =  {  a , e , i , o , u }  ,     C  =  {  ก , ข , ค , ง , จ }  จะไดวา  A  « B    ,  B  « C    ,    C  « A  3.6 สับเซตและเพาเวอรเซต  บทนิยาม  เซต  A  เปนสับเซตของเซต  B  ก็ตอเมื่อ  สมาชิกทุกตัวของเซต  A  เปน  สมาชิกของเซต  B  เซต  A  เปนสับเซตของเซต  B  เขียนแทนดวย  A  Ì B  ถามีสมาชิกอยางนอยหนึ่งตัว  ของเซต  A ไมเปนสมาชิกของเซต  B  แลว   เซต  A  ไมเปนสับเซตของเซต  B  เขียนแทนดวย  A Ë  B
  • 5. ตัวอยาง  1.  กําหนด  A  =  { p , q , r }  ,   B  =  { p , q , r , s , t  }  ,   C  =  {  q , r , s  }  จะได  A Ì B  และ A Ë  C  ,  C Ì B  และ C Ë  A  , B Ë  A และ  B Ë  C  2.  กําหนด  P  =  { 2 , 3 }  ,    Q  =  { x |  ( x – 2 )( x – 3 )  =  0  }  จะได  P Ì Q  และ  Q Ì P  ในกรณีเชนนี้ทําให  P  =  Q  สมบัติทเปนขอตกลงเกี่ยวกับสับเซต  ี่ 1.  เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวมันเอง  2.  เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต  3.  ถา  A Ì B  และ  B Ì C  แลว  A Ì C  4.  A  =  B  ก็ตอเมื่อ  A Ì B  และ  B Ì A  5.  ถา  A Ì B  และ  A  ¹  B  แลว  A  เปนสับเซตแทของ  B  6.  เซตวางเปนสับเซตแทของทุกเซต  พิจารณาเซต  A  =  { a , b , c }  เซตที่ไมมีสมาชิก  หรือ มีสมาชิกศูนยตัว ไดแก  f  เซตที่มีสมาชิก  1  ตัว  ไดแก  {a}  , {b}  , {c}  เซตที่มีสมาชิก  2  ตัว  ไดแก  {a , b}  , {a , c}  , {b , c}  เซตที่มีสมาชิก  3  ตัว  ไดแก  { a , b , c }  ดังนั้น  สับเซตทั้งหมดขอ { a , b , c } ไดแก  f , {a}  , {b}  , {c} , {a , b}  , {a , c}  ,  {b , c}  และ  { a , b , c }  ซึ่งมีทั้งหมด  8  สับเซต  ถา  A  เปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเปน  n  เมื่อ  n  เปนจํานวนเต็มบวกแลว  จํานวนสับ  เซตทั้งหมดของ  A  เทากับ  2 n  เซตของสับเซตทั้งหมดของ  A  เมื่อ  A  เปนเซตจํากัด   เรียกวา  “เพาเวอรเซตของเซต  A”  เขียนแทนดวย  P(A)  กําหนด  A  =  { a , b , c }  ดังนั้น  P(A)  =  { f , {a}  , {b}  , {c} , {a , b}  , {a , c}  , {b , c}  , { a , b , c }}
  • 6. สมบัติที่สาคัญของเพาเวอรเซต  ํ 1.  เพาเวอรเซตของทุกเซตไมเปนเซตวาง  2.  P(f ) =  {f}  3.  fÎ P(f )  และ  f Ì  P(A)  เมื่อ  A  เปนเซตจํากัด  4.  A Î P(A )  เมื่อ  A  เปนเซตจํากัด  5.  A Ì B  ก็ตอเมื่อ  P(A) Ì  P(B)  4.  กิจกรรมการเรียนการรู  1.  นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับเกี่ยวกับเนื้อหาใหม  2.  ครูแจงผลการเรียนรูที่คาดหวังและจุดประสงคการเรียนรูนกเรียนทราบ   ั 3.  แบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุมละประมาณ  5  คน  และใหนักเรียนปฏิบัติงานโดยใช  กระบวนการกลุม  4.  แจกใบความรูและใบกิจกรรมใหนักเรียนแตละกลุมศึกษา  5.  สุมตัวแทนกลุม  1-2  กลุม  มาเสนอผลงานหรืออธิบายเนื้อหาตามหัวขอในใบความรูและใบ  กิจกรรม แลวใหนักเรียนรวมกันอภิรายซักถาม  6.  นักเรียนและครูรวมกันสรุปเนื้อหา  7.  แจกใบแบบฝกทักษะใหนกเรียนฝกปฏิบัติรายบุคคลแลวสุมนักเรียน  1-2  คน  เสนอผลงาน  ั และนักเรียนและครูรวมกันอภิปรายในกรณีที่มีขอบกพรอง  8.  ใหนักเรียนทําแบบฝกหัดในหนังสือ สสวท. เปนการบาน  5.  สื่อการเรียนการสอน  5.1  สื่อการเรียนรู  5.1.1  ใบความรู  5.1.4  หนังสือเรียน สสวท.  5.1.2  ใบกิจกรรม  5.1.5  VDO  CD  เรื่อง  เซต  5.1.3  แบบฝกทักษะ  5.2  แหลงการเรียนรู คนหาขอมูลจากระบบอินเตอรเนต
  • 7. 6.  การวัดผลประเมินผล  การวัดผลประเมินผลอาศัยเกณฑการใหคะแนนตามหัวขอคือ    ดานความรู  ,  ดานทักษะ  /  กระบวนการทางคณิตศาสตร และดานคุณลักษณะอันพึงประสงค ดังนี้  จุดประสงคการเรียนรู  น้ําหนัก  น้ําหนัก  วิธีวัด  เครื่องมือวัด  คะแนน  คะแนน  K  A  P  ดานความรู  5  ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน  ž บอกความหมายของเซตได  คุณภาพดานความรู  ž เขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก  หรือแบบบอกเงื่อนไขของ  สมาชิกในเซตได  ž บอกไดวาเซตทีกําหนดใหเปน  ่ เซตจํากัด , เซตอนันต  หรือ  เซตวาง  ž บอกเซตที่เทากันได  ž หาสับเซตและเพาเวอรเซต  ของเซตที่กําหนดใหได  ดานทักษะ/กระบวนการ  3  ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน  ž การแกปญหา  คุณภาพดานทักษะ  ž การใหเหตุผล  กระบวนการ  ž การสื่อสารและนําเสนอ  ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค  2  ตรวจเอกสาร  เกณฑประเมิน  ž มีระเบียบวินัย  หรือ  คุณภาพดาน  ž มีความรอบคอบ  สังเกต  คุณลักษณะที่พึง  ž มีความรับผิดชอบ  พฤติกรรมใน  ประสงค  หอง  รวม
  • 8. เกณฑประเมินคุณภาพดานตาง ๆ  6.1  การประเมินผลดานความรู  คะแนน /  ผลการทําแบบฝกหัดที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  4 การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ คําตอบถูกตอง ครบถวน  ดีมาก  3  การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจนนัก แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบถูกตอง  ู ดี  ครบถวน  2 การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน หรือไมแสดงวิธีทํา คําตอบถูกตอง ครบถวน หรือ  พอใช  การแสดงวิธีทําชัดเจน สมบูรณ แตคําตอบไมถูกตอง ขาดการตรวจสอบ  1  การแสดงวิธีทํายังไมชัดเจน แตอยูในแนวทางที่ถกตอง คําตอบไมถูกตอง หรือ  ู ควรแกไข  ไมแสดงวิธีทําและ คําตอบที่ไดไมถูกตองแตอยูในแนวทางถูกตอง   0  ทําไดไมถึงเกณฑ  ตองปรับปรุง  6.2  เกณฑการใหคะแนนดานทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตร  การแกปญหา   คะแนน /  ความสามารถในการแกปญหาที่ปรากฏใหเห็น   ความหมาย  4 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพ  อธิบายถึงเหตุผลใน  ดีมาก  การใชวิธีการดังกลาวไดเขาใจชัดเจน  3  ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จ  แตนาจะอธิบายถึงเหตุผลในการใช  ดี  วิธีการดังกลาวไดดีกวานี้  2 ใชยุทธวิธีดําเนินการแกปญหาสําเร็จเพียงบางสวน  จะอธิบายถึงเหตุผลในการ  พอใช  ใชวิธีการดังกลาวไดบางสวน  1  มีรองรอยการดําเนินการแกปญหาบางสวน  เริ่มคิดวาทําไมจึงตองใชวิธการนัน  ี ้ ตองปรับปรุง  แลวหยุดอธิบายตอไปไมได  แกปญหาไมสําเร็จ  0  ทําไดไมถึงเกณฑขางตน  หรือไมมีรองรอยการดําเนินการแกปญหา ไมพยายาม 
  • 9. การใหเหตุผล  คะแนน /  ความสามารถในการใหเหตุผลทีปรากฏใหเห็น  ่ ความหมาย  4 มีการอางอิง  เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอยางสมเหตุสมผล  ดีมาก  3  มีการอางอิงที่ถูกตองบางสวน  และเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ  ดี  2 เสนอแนวคิดไมสมเหตุสมผลในการประกอบการตัดสินใจ  พอใช  1  มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ  ตองปรับปรุง  0  ไมมีแนวคิดประกอบการตัดสินใจ  ไมพยายาม  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  คะแนน /  ความสามารถในการสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  ความหมาย  และการนําเสนอที่ปรากฏใหเห็น  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรที่ถูกตอง  นําเสนอโดยใชกราฟ  4 แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบตามลําดับขั้นตอนไดเปนระบบ  ดีมาก  กระชับ  ชัดเจน  และ มีรายละเอียดสมบูรณ  3  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  นําเสนอโดยใชกราฟ  แผนภูมิหรือ  ดี  ตารางแสดงขอมูลประกอบลําดับขันตอนไดถูกตอง  ขาดรายละเอียดที่สมบูรณ  ้ 2 ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร  พยายามนําเสนอขอมูลโดยใชกราฟ  พอใช  แผนภูมิหรือตารางแสดงขอมูลประกอบชัดเจนบางสวน  1  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรอยางงาย ๆ ไมไดใชกราฟ  แผนภูมิหรือ  ตองปรับปรุง  ตารางเลย  และการนําเสนอขอมูลไมชัดเจน  0  ไมนําเสนอ ไมพยายาม 
  • 10. 6.3  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค  ึ มีความรับผิดชอบ  คะแนน /  คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  สงงานกอนหรือตรงกําหนด เวลานัดหมาย  3 รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมายและปฏิบัติเองจนเปนนิสัยเปนระบบแกผูอื่น  ดีมาก  และแนะนําชักชวนใหผูอื่นปฏิบัติ  2  สงงานชากวากําหนด แตมการติดตอชี้แจงครูผูสอน   มีเหตุผลที่รับฟงได  ี ดี  รับผิดชอบในงานที่ไดรับมอบหมาย  ปฏิบัติเองจนเปนนิสัย  1 สงชากวากําหนด  พอใช  ปฏิบัติงานโดยตองอาศัยการชี้แนะ แนะนํา ตักเตือนหรือใหกําลังใจ  มีระเบียบวินัย  คะแนน /  คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  3 สมุดงาน  ชิ้นงานสะอาดเรียบรอย  ดีมาก  ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือทุกครั้ง  2  สมุดงาน  ชิ้นงานสวนใหญสะอาดเรียบรอย  ดี  ปฏิบัติอยูในขอตกลงที่กําหนด  ใหความรวมมือกันไดเปนสวนใหญ  1 สมุดงาน  ชิ้นงานไมคอยเรียบรอย  พอใช  ปฏิบัติตนอยูในขอตกลงทีกําหนดใหรวมกันเปนบางครั้ง  ตองอาศัยการแนะนํา  ่ ทํางานเปนระบบและรอบคอบ  คะแนน /  คุณลักษณะที่ปรากฏใหเห็น  ความหมาย  3 มีการวางแผนการดําเนินงานอยางเปนระบบการทํางานมีครบทุกขันตอน  ตัด  ้ ดีมาก  ขั้นตอนที่ไมสําคัญออกไดจดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังถูกตองครบถวน  ั 2  มีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมครบทุกขันตอน  และผิดพลาดบาง  ้ ดี  จัดเรียงลําดับความสําคัญกอน – หลังไดเปนบางสวน  1 ไมมีการวางแผนการดําเนินงานการทํางานไมมีขั้นตอน  มีความผิดพลาดตอง  พอใช  แกไขไมจดเรียงความสําคัญ ั
  • 11. ชั่วโมงที่ 1  ใบกิจกรรมที่ 1  ตัวชี้วัด  บอกไดวากลุมของสิ่งของตางๆทีกําหนดใหกลุมใดเปนเซต  ่ กระบวนการ  สรางความคิดรวบยอด  ระดับพฤติกรรม  ความรู-ความจํา   คําชี้แจง  ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้แลวทําเครื่องหมาย /  ลงในชองวางขอละ 1 ชอง  โดยใชเวลา 5 นาที  ขอที่  ขอความ  บอกสมาชิก  บอกสมาชิก  ไดแนนอน  ไดไมแนนอน  ก.  กลุมของวันในหนึ่งสัปดาห  /  ข.  กลุมของคนรูปหลอที่สุดในประเทศไทย  /  1.  กลุมของเดือนใน 1 ป  2.  กลุมของคนที่มีอายุต่ํากวา 15 ป  3.  กลุมของสระในภาษาอังกฤษ  4.  กลุมของพยัญชนะในภาษาไทย  5.  กลุมของผลไมที่อรอย 5 ชนิด  6.  กลุมของจํานวนนับทีนอยกวา 8  ่ 7.  กลุมของสัตวเลี้ยงที่นารัก  8.  กลุมของจํานวนนับที่หารดวย 5 ลงตัว  9.  กลุมของนายกรัฐมนตรีของประเทศไทยที่เปนผูหญิง  10.  กลุมของคนรวยในประเทศไทย  กลุมของขอ ก. มีลักษณะเปนเซต  กลุมของขอ ข. มีลักษณะไมเปนเซต  ดังนั้นกลุมที่มีลักษณะเปนเซต คือ ขอที่ ______________________________________________  กลุมที่มีลักษณะไมเปนเซต คือ ขอที่ ______________________________________________  เราจะใชคําวาเซต ก็ตอเมื่อ _______________________________________________________  ____________________________________________________________________________
  • 12. ใบกิจกรรมที่ 2  ตัวชี้วัด  1. บอกสมาชิกของเซตที่กําหนดใหได  2. เมื่อกําหนดเซตให  นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิกได  กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาทีเพื่อศึกษาขอความและทํากิจกรรมในกรอบ  เซต  สมาชิกของเซต  เขียนอยูในรูปเซตแบบ   แจกแจงสมาชิก  ก. ให A แทนเซตของสระในภาษาอังกฤษ  a , e , i,o , u  A = { a,e,i,o,u}  ข. ให B แทนเซตของจํานวนนับที่นอยกวา 8  1,2,3,4,5,6,7  A = { 1,2,3,4,5,6,7 }  ค. ให C แทนเซตของพยัญชนะภาษาไทย  ก,ข,ฃ,...,อ,ฮ  C = {ก,ข,ฃ,...,อ,ฮ}  ง. ให D แทนเซตของจํานวนเต็มบวก  1,2,3,4,...  D = { 1,2,3,4,... }  1. ให E แทนเซตของจํานวนนับตั้งแต 5 ถึง10  5,6,7,8,9,10  E = { 5,6,7,8,9,10 }  2. ให F แทนเซตพยัญชนะคําวา “คณิตศาสตร”  ค,ณ,ต,ศ,ส,ร  F = { ค,ณ,ต,ศ,ส,ร }  3. ให G แทนเซตของจํานวนเต็มลบ  -1,-2,-3,...  G = { -1,-2,-3,... }  4. ให H แทนสีของธงชาติไทย  5. ให K แทนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปน  เลข 2 หลัก  สรุปวิธีเขียนเซตแบบแจกแจงสมาชิก มีหลักการดังนี้  1. โดยทั่วไปนิยมใชอกษรภาษาอังกฤษตัวพิมพใหญแทนเซต เชน _________________________  ั 2. ถาสมาชิกเปนพยัญชนะภาษาอังกฤษ จะใชตัวอักษรตัวพิมพเล็ก เชน _____________________  3. เขียนสมาชิกทุกตัวของเซตลงในเครื่องหมาย _____________________________________  4. สมาชิกแตละตัวจะคั่นดวยเครื่องหมาย _________________________________________  5. ในกรณีที่เซตนันมีสมาชิกมากตัวไมสะดวกทีจะเขียนใหครบทุกตัว อาจใชสัญลักษณ  ้ ่ ______________แลวตอดวยสมาชิกตัวสุดทายเพื่อแสดงวามีสมาชิกตัวอื่นๆในเซตนั้นตอไปอีก  ดังใบกิจกรรมที่ 2 ขอ ค.  6. ในกรณีที่มีจานวนสมาชิกมากมายนับไมถวนไมสามารถแจกแจงสมาชิกไดครบทุกตัว เราจะใช  ํ สัญลักษณ ___________ตอทาย เพื่อแสดงวามีสมาชิกตอไปอีกเรื่อยๆไมมีที่สิ้นสุด  ดังใบกิจกรรม    ที่ 2 ขอ ง.
  • 13. ใบกิจกรรมที่ 3  ตัวชี้วัด  ใชสัญลักษณ “Γ แทนการเปนสมาชิก และ “Ï“ แทนการไมเปนสมาชิกได  กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษาและทํากิจกรรมตอไปนี้  กิจกรรม 3.1  กําหนดให A = {a,e,i,o,u}  จะไดวา A มีสมาชิก 5 ตัว  a เปนสมาชิกของ A  เขียนแทนดวย a Î A  e เปนสมาชิกของ A  เขียนแทนดวย e Î A  b ไมเปนสมาชิกของ A  เขียนแทนดวย b Ï A  i ____________  A  เขียนแทนดวย _________  o ____________  A  เขียนแทนดวย _________  d ____________  A  เขียนแทนดวย _________  คําวา เปนสมาชิกของ (Element) จะเขียนแทนดวย สัญลักษณ __________  คําวา ไมเปนสมาชิกของ  จะเขียนแทนดวย สัญลักษณ __________  กิจกรรม 3.2  กําหนด A = {1,2,3,{4,5},6}  จงเติมสัญลักษณ Î , Ï  ลงในชองวางใหถูกตอง  A มีสมาชิกจํานวน _____________ ตัว  1.   1 ______ A  5.   5 _______ A  2.   2 ______ A  6.   6 _______ A  3.   7 ______ A  7.   3 _______ A  4.   4 ______ A  8.   9 _______ A
  • 14. แบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม  1. จงเขียนเซตตอไปนี้แบบแจกแจงสมาชิก  1.1  A เปนเซตของจังหวัดในประเทศไทยที่ขึ้นตนดวย “ช”  A = ________________________________________________  1.2  B เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปนจํานวนเฉพาะทีนอยกวา 20  ่  B = ________________________________________________  1.3  C เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่หารดวย 10 ลงตัว  C = ________________________________________________  1.4  D เปนเซตของจํานวนเต็มที่สอดคลองกับสมการ (x+2)(3x–1) = 0  D = ________________________________________________  1.5  E เปนเซตของพยัญชนะในคําวา “กรรมการ”  E = ________________________________________________  2. กําหนด  A = {1,2,3,4} , B = {1,{2,3},3,4}  จงพิจารณาวาประโยคตอไปนี้เปนจริงหรือเท็จ  ประโยค  จริง,เท็จ  1.  1 Î A  _________  2.  2 Î B  _________  3.  4 Ï A  _________  4.  3 Î B  _________  5.  {2,3} Î B  _________  6.  3 Ï B  _________
  • 15. ชั่วโมงที่  2 - 3  ใบความรูที่ 1  เอกภพสัมพัทธ  หมายถึงขอบขายของสิ่งที่กลาวถึง เชน ในเรื่องระบบจํานวน  ระดับประถมศึกษาจะจํากัดเอกภพสัมพัทธ คือ จํานวนตรรกยะที่เปนบวกและศูนย แต  ในระดับมัธยมศึกษาจะใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง  สัญลักษณแทนเซตของจํานวนตางๆ  “ U “  (Universe)  แทน  เอกภพสัมพัทธ  “ N “  (Number)  แทน  เซตของจํานวนนับ  “ I “   (Integer)  แทน  เซตของจํานวนเต็ม  “ I +  “  แทน  เซตของจํานวนเต็มบวก  –  “ I  “  แทน  เซตของจํานวนเต็มลบ  “ Q “  แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ  “ Q +  “  แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ  “ Q –  “  แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ  “ R “  (Real)  แทน  เซตของจํานวนจริง  +  “ R  “  แทน  เซตของจํานวนจริงบวก  “ R –  “  แทน  เซตของจํานวนจริงลบ  “ P “  (Prime)  แทน  เซตของจํานวนตรรกยะ  “ | “  แทน  คําวา  “โดยที่”
  • 16. ใบกิจกรรมที่ 1  ตัวชี้วัด  1. เขียนสัญลักษณแทนเซตแบบบอกเงื่อนไขได  2. เมื่อกําหนดเซตให นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขได  กระบวนการ  สรางความคิดรวบยอด  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ศึกษาการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขตอไปนี้  เซต  เซตแบบบอกเงื่อนไข  1. A เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่นอยกวา 15  1. A={xÎR | x เปนจํานวนเต็มบวกทีนอยกวา 15}  ่ 2. B = {a,e,i,o,u}  2. B={xÎU | x เปนสระในภาษาอังกฤษ } ,  เมื่อ U เปนเซตของพยัญชนะในภาษาอังกฤษ  3. C = { -1 }  3. C = { yÎI | x 2  = 1 }  4. D เปนเซตของจํานวนเต็มที่อยูระหวาง 2 กับ 10  4. D = {xÎI | 2 < x < 10}  5. E = {2,4,6,8,10}  5. E = {yÎR | y เปนจํานวนคูบวกที่นอยกวา 12}  6. F = {...,-3,-2,-1,0,1,2,3,...}  6. ________________________________  7. G = {มวง,คราม,น้ําเงิน,เขียว,เหลือง,แดง,แสด}  7. ________________________________  8. H เปนเซตของจํานวนเต็มที่มากกวา 0  8. ________________________________  9. J เปนเซตของจํานวนจริงคู  9.________________________________  10. K = {ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ}  10. _______________________________  สรุป  การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข เริ่มตนดวยการกําหนดเอกภพสัมพัทธ U  และ  พิจารณาเซตที่ตองการเฉพาะสมาชิกใน U  ซึ่งมีสมบัติตามตองการ เชน  ถากําหนดเอกภพสัมพัทธ  U = { 0,1,2,3,4,5,6 }  และให A เปนเซตที่ประกอบไปดวยสมาชิกใน U และเปนจํานวนคู เราจะ  เขียน A ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขไดโดยการใช”ตัวแปร”แทนสมาชิกของ A แลวบรรยายสมบัติ  ของตัวแปรนัน        ดังนี้  A = {xÎ___ | x เปนจํานวน_____ }  ้ อานวา A เปนเซตที่ประกอบดวย x ซึ่งเปนสมาชิกของ____โดยที่ x เปนจํานวน____  หมายเหตุ  1. เครื่องหมาย “ | “  อานวา _________  2. เราจะเขียน A ในแบบบอกเงื่อนไขไดอกวิธีหนึ่งคือ  ี A = { x | x Î____ และ x เปนจํานวน _____ }  3. ตัวแปรที่กําหนดเปนสมาชิกของ A ไมจําเปนตองเปน x เสมอไป  4. ถาเซตใดๆกลาวถึงจํานวนแตไมไดระบุเอกภพสัมพัทธไว เอกภพสัมพัทธ  จะหมายถึงจํานวนจริง
  • 17. ใบกิจกรรมที่ 2  ตัวชี้วัด  1. เขียนสัญลักษณแทนเซตแบบบอกเงื่อนไขได  2. เมื่อกําหนดเซตให นักเรียนสามารถเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขได  กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที เขียนเซตตอไปนี้เปนแบบบอกเงื่อนไข  เซต  เซตแบบบอกเงื่อนไข  1. A เปนเซตของพยัญชนะในภาษาไทยของคําวา  “ พยัญชนะ”  1. A = ____________________________  2. B = { 2,4,6,8,... }  2. B = ____________________________  3. C = { 1,2,3,...,100 }  3. C = ____________________________  4. D เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปน  จํานวนเฉพาะ  4. D = ____________________________  5. E เปนเซตของจํานวนจริงบวกที่เปนคําตอบ  ของสมการ x 2 – 4x – 5 = 0  5. E = ____________________________  แบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม  เซต  เซตแบบบอกเงื่อนไข  1. F = { 5,10,15,...,50 }  1. F = ____________________________  2. G = { 0 }  2. G = ____________________________  3. H = {เชียงราย,เชียงใหม,ชลบุรี,ชุมพร}  3. H = ____________________________  4. J = { 1,4,9,16,25 }  4. J = ____________________________  5. K = { 1,3 }  5. K = ____________________________
  • 18. เฉลยใบกิจกรรมที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ศึกษาการเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขตอไปนี้  เซต  เซตแบบบอกเงื่อนไข  6. F = {...,-3,-2,-1,0,1,2,3,...}  6. __F = { x Î R | x เปนจํานวนเต็ม }______  7. G = {มวง,คราม,น้ําเงิน,เขียว,เหลือง,แดง,แสด}  7. __G = { x | x เปนสีของรุงกินน้ํา }_______  8. H เปนเซตของจํานวนเต็มที่มากกวา 0  8. __H = {x Î R | x  เปนจํานวนเต็มบวก }___  9. J เปนเซตของจํานวนจริงคู  9.__J = { x | x เปนจํานวนเต็มคู }__________  10. K = {ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ}  10. __K = { x | x  เปนอักษรกลางในพยัญชนะ  ภาษาไทย } ___________  สรุป  การเขียนเซตแบบบอกเงื่อนไข  เริ่มตนดวยการกําหนดเอกภพสัมพัทธ  U  และ  พิจารณาเซตที่ตองการเฉพาะสมาชิกใน U  ซึ่งมีสมบัติตามตองการ เชน  ถากําหนดเอกภพสัมพัทธ  U = { 0,1,2,3,4,5,6 }  และให  A  เปนเซตที่ประกอบไปดวยสมาชิกใน U  และเปนจํานวนคู  เราจะ  เขียน  A  ในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขไดโดยการใช”ตัวแปร”แทนสมาชิกของ  A  แลวบรรยายสมบัติ  ของตัวแปรนัน ดังนี้  A = {xÎ_U_ | x เปนจํานวน__จํานวนคู__ }  ้  อานวา A เปนเซตที่ประกอบดวย x ซึ่งเปนสมาชิกของ__U__โดยที่ x เปนจํานวน_คู  หมายเหตุ  1. เครื่องหมาย “ | “  อานวา __โดยที____  ่ 2. เราจะเขียน A ในแบบบอกเงื่อนไขไดอกวิธีหนึ่งคือ  ี A = { x | x Î__U__ และ x เปนจํานวน __คู___ }   3. ตัวแปรที่กําหนดเปนสมาชิกของ A ไมจําเปนตองเปน x เสมอไป  4. ถาเซตใดๆกลาวถึงจํานวนแตไมไดระบุเอกภพสัมพัทธไว เอกภพสัมพัทธ  จะหมายถึงจํานวนจริง
  • 19. เฉลยใบกิจกรรมที่ 2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที เขียนเซตตอไปนี้เปนแบบบอกเงื่อนไข  เซต  เซตแบบบอกเงื่อนไข  1. A เปนเซตของพยัญชนะในภาษาไทยของคําวา  1. A = {x | x เปนพยัญชนะในภาษาไทย  “ พยัญชนะ”  ของคําวา “ พยัญชนะ” }  2. B = { 2,4,6,8,... }  2. B = { x | x เปนจํานวนคูบวก }  3. C = { 1,2,3,...,100 }  3. C = { x | x เปนจํานวนนับที่นอยกวา 101 }  4. D เปนเซตของจํานวนเต็มบวกที่เปน  4. D = {x | x เปนจํานวนเต็มบวกที่เปน  จํานวนเฉพาะ  จํานวนเฉพาะ }  5. E เปนเซตของจํานวนจริงบวกที่เปนคําตอบ  5. E = { x Î R | x เปนจํานวนที่สอดคลองกับ  ของสมการ x 2 – 4x – 5 = 0  สมการ x 2 – 4x – 5 = 0 }  เฉลยแบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม  เซต  เซตแบบบอกเงื่อนไข  1. F = { 5,10,15,...,50 }  1. F = { x Î R + | x เปนจํานวนทีนอยกวา 51 ที่  ่ หารดวย 5 ลงตัว }  2. G = { 0 }  2. G = { x Î I | –1 < x < 1 }  3. H = {เชียงราย,เชียงใหม,ชลบุรี,ชุมพร}  3. H = { x | x เปนชื่อของจังหวัดที่ขึ้นตนดวย  พยํญชนะ “ ช “ }  4. J = { 1,4,9,16,25 }  4. J = { x Î I +  | x = y 2  และ y < 6 }  5. K = { 1,3 }  5. K = { x Î I + | x เปนจํานวนคี่ที่นอยกวา 5 }
  • 20. ชั่วโมงที่ 4  ใบกิจกรรมที่ 1  ตัวชี้วัด  1. เมื่อกําหนดเซตใหนกเรียนสามารถบอกจํานวนสมาชิกของเซตได  ั 2. ระบุไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตจํากัดหรือไม  ่ 3. ระบุไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตอนันตหรือไม  ่ 4. ระบุไดวาเซตทีกําหนดใหเปนเซตวางหรือไม  ่ 5. นักเรียนบอกความหมายและยกตัวอยางเซตจํากัด  เซตอนันตและเซตวางได  กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  กิจกรรมที่ 1.1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษากิจกรรมที่ 1.1 และเติมคําตอบที่ถูกตอง  เซต  จํานวนสมาชิก  เขียนแทนดวย  1. A = { -2,0,1,2,3 }  5  n(A) = 5  2. B = { 1,3,5,7,11,13 }  6  n(B) = 6  3. C = { 5,10,15,... }  มากมายนับไมถวน  –  4. D = { ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ }  9  _____ = 9  5. E = { xÎR | 1 £ x £ 3 }  _____________  –  6. F = { a,b,c,...,z }  _____________  _____________  7. G = { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “สวัสดี” }  _____________  _____________  8. H = { 1234 }  _____________  _____________  9. J = { xÎI | x 2  = 5 }  _____________  _____________  10. K = { xÎI | x – 3 ³ 0 }  _____________  _____________  11. L = { 0,1,2,3,...,20 }  _____________  _____________  12. M = { xÎR | x หารดวย 7 ลงตัว }  _____________  _____________  13. N = { 100,101,102,...,999 }  _____________  _____________  14. P = { x | x เปนนายกรัฐมนตรีของไทยที่เปนหญิง }  _____________  _____________
  • 21. กิจกรรมที่ 1.2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาที จําแนกประเภทของเซตโดยอาศัยกิจกรรมที่ 1.1  เซตที่สามารถบอกจํานวนสมาชิกไดแนนอน  เซตที่ไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกได  วามีจํานวนเทาใด ไดแกเซต __A,B,_____  แนนอนวามีกี่จํานวน  ไดแกเซต ____  _____________________________  ___C , E , _________________  เซต  A , B  เรียกวา  ” เซตจํากัด ”  เซต  C , E  เรียกวา  “ เซตอนันต ”  เซต  J , P  เรียกวา  “ เซตวาง ”  เซต  D, F, G, H, J, L, N, P  เรียกวา ______________________  เซต  K, M  เรียกวา _________________________  จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด A เขียนแทนดวย สัญลักษณ __________  เซตจํากัด หมายถึง ___________________________________  เซตอนันต หมายถึง __________________________________  เซตวาง หมายถึง ____________________________________
  • 22. ใบกิจกรรมที่ 2  ตัวชี้วัด  ขอ 1 - 5  กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  กิจกรรม 2.1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษากรอบที่กําหนดใหตอไปนี้  1. เซตจํากัด ( Finite Set )  หมายถึง เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย  2. จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด A เขียนแทนดวยสัญลักษณ  n (A)  3. เซตอนันต ( Infinite Set )  หมายถึง เซตที่ไมใชเซตจํากัด  4. เซตวาง  ( Empty Set )  หมายถึง เซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากับศูนย  5. สัญลักษณทใชแทนเซตวาง คือ  { } หรือ f  ี่ กิจกรรม 2.2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทํากิจกรรมตอไปนี้  1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้ เปนเซตจํากัด หรือ เซตอนันต  ______ 1. { ก,ข,ฃ,ค,...,ฮ }  ______ 6. { xÎR | 1 £ x £ 3 }  ______ 2. { 2,4,6,...,100 }  ______ 7. { xÎI | x.x = x 2  }  ______ 3. { 1,2,3,... }  ______ 8. { x | x เปนสระในคําวา “ empty ” }  ______ 4. { 0 }  ______ 9. { xÎN | x ³ 3 }  ______ 5. {  }  ______ 10. { xÎN | 2x = 16 }  2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม  ______ 1. { x | x เปนสระในคําวา “บงกช” }  ______ 2. { xÎR | x 2  = 5 }  ______ 3. { xÎR | x 2  < 0 }  ______ 4. { xÎI | x + 5 = x }  ______ 5. { xÎI | x + x = x }  3. ใหนักเรียนยกตัวอยางเซตทีกําหนดใหอยางละ 1 เซต  ่ 1. เซตที่เปนเซตจํากัด ______________________________________________  2. เซตที่เปนเซตอนันต _____________________________________________  3. เซตที่เปนเซตวาง _______________________________________________
  • 23. แบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม  1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต  ______1. { x | xÎI –  }  ______2. { -2,3,{1,5}}  ______3. { xÎN | x – 3 < 5 }  ______4. { xÎI | –1 £ x £ 7 }  ______5. { x | x เปนจุดบนเสนตรง }  ______6. { x | x เปนวงกลมที่มีจดศูนยกลางที่ (0,0) }  ุ ______7. { xÎI –  | x ³ –10 }  ______8. { xÎI | x ¹ 0 }  ______9. { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “ examination “ }  ______10. { f }  2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม  ______1. { 0 }  ______2. { f }  ______3. { xÎN | x สอดคลองกับสมการ  x(x+3) = 0 }  ______4. { x | x + x = x 2  }  ______5. { x | x เปนสระในภาษาอังกฤษในคําวา “ try “ }
  • 24. เฉลยใบกิจกรรมที่ 1  กิจกรรมที่ 1.1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาทีเพื่อศึกษากิจกรรมที่ 1.1 และเติมคําตอบที่ถูกตอง  เซต  จํานวนสมาชิก  เขียนแทนดวย  1. A = { -2,0,1,2,3 }  5  n(A) = 5  2. B = { 1,3,5,7,11,13 }  6  n(B) = 6  3. C = { 5,10,15,... }  มากมายนับไมถวน  –  4. D = { ก,จ,ด,ต,ฎ,ฏ,บ,ป,อ }  9  n(D) = 9  5. E = { xÎR | 1 £ x £ 3 }  มากมายนับไมถวน  –  6. F = { a,b,c,...,z }  ______26_____  n(F) = 26  7. G = { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “สวัสดี” }  ______3______  __n(G) = 3___  8. H = { 1234 }  ______1______  __n(H) = 1___  9. J = { xÎI | x 2  = 5 }  ______0______  __n(J) = 0___  10. K = { xÎI | x – 3 ³ 0 }  มากมายนับไมถวน  -  11. L = { 0,1,2,3,...,20 }  ______21_____  __n(L) = 21__  12. M = { xÎR | x หารดวย 7 ลงตัว }  มากมายนัยไมถวน  -  13. N = { 100,101,102,...,999 }  _____900____  __n(N) = 900__  14. P = { x | x เปนนายกรัฐมนตรีของไทยที่เปนหญิง }  _______0_____  __n(P) = 0___
  • 25. กิจกรรมที่ 1.2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาที จําแนกประเภทของเซตโดยอาศัยกิจกรรมที่ 1.1  เซตที่สามารถบอกจํานวนสมาชิกไดแนนอน  เซตที่ไมสามารถบอกจํานวนสมาชิกได  วามีจํานวนเทาใด ไดแกเซต __A,B,D,F,G  แนนอนวามีกี่จํานวน  ไดแกเซต ____  ___H,J,L,N,P_________________  ___C , E , K , M____________  เซต  A , B  เรียกวา  ” เซตจํากัด ”  เซต  C , E  เรียกวา  “ เซตอนันต ”  เซต  J , P  เรียกวา  “ เซตวาง ”  เซต  D, F, G, H, J, L, N, P  เรียกวา ___เซตจํากัด____  เซต  K, M  เรียกวา ___เซตอนันต____  จํานวนสมาชิกของเซตจํากัด A เขียนแทนดวย สัญลักษณ __n(A)____  เซตจํากัด หมายถึง __เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนจํานวนเต็มบวกหรือศูนย  เซตอนันต หมายถึง __เซตที่ไมใชเซตจํากัด__________________  เซตวาง หมายถึง __เซตที่มีจํานวนสมาชิกเปนศูนย_____________
  • 26. เฉลยใบกิจกรรมที่ 2  กิจกรรม 2.2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทํากิจกรรมตอไปนี้  1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้ เปนเซตจํากัด หรือ เซตอนันต  _จํากัด__ 1. { ก,ข,ฃ,ค,...,ฮ }  _อนันต_ 6. { xÎR | 1 £ x £ 3 }  _จํากัด__ 2. { 2,4,6,...,100 }  _อนันต_ 7. { xÎI | x.x = x 2  }  _อนันต_ 3. { 1,2,3,... }  _จํากัด__ 8. { x | x เปนสระในคําวา “ empty ” }  _จํากัด__ 4. { 0 }  _อนันต_ 9. { xÎN | x ³ 3 }  _จํากัด__ 5. {  }  _จํากัด__ 10. { xÎN | 2x = 16 }  2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม  _วาง___1. { x | x เปนสระในคําวา “บงกช” }  _ไมวาง_2. { xÎR | x 2  = 5 }  _วาง___3. { xÎR | x 2  < 0 }  _วาง___4. { xÎI | x + 5 = x }  _ไมวาง_5. { xÎI | x + x = x }  3. ใหนักเรียนยกตัวอยางเซตทีกําหนดใหอยางละ 1 เซต  ่ 1. เซตที่เปนเซตจํากัด ___{ 1,2,3,4,...,10 }_________________________  2. เซตที่เปนเซตอนันต ___{ 1,2,3,... }_____________________________  3. เซตที่เปนเซตวาง ___{ x êx เปนนายกรัฐมนตรีหญิงของไทย }______________
  • 27. เฉลยแบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ในการทําแบบฝกทักษะ แลวรวมกันอภิปรายและซักถาม  1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เปนเซตจํากัดหรือเซตอนันต  _อนันต_ 1. { x | xÎI –  }  _จํากัด__2. { -2,3,{1,5}}  _จํากัด__3. { xÎN | x – 3 < 5 }  _จํากัด__4. { xÎI | –1 £ x £ 7 }  _อนันต_ 5. { x | x เปนจุดบนเสนตรง }  _อนันต_ 6. { x | x เปนวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่ (0,0) }  _จํากัด__7. { xÎI –  | x ³ –10 }  _อนันต_ 8. { xÎI | x ¹ 0 }  _จํากัด__9. { x | x เปนพยัญชนะในคําวา “ examination “ }  _จํากัด__10. { f }  2. เซตที่กําหนดใหเปนเซตวางหรือไม  _ไมวาง_1. { 0 }  _ไมวาง_2. { f }  _วาง___3. { xÎN | x สอดคลองกับสมการ  x(x+3) = 0 }  _ไมวาง_4. { x | x + x = x 2  }  _วาง___5. { x | x เปนสระในภาษาอังกฤษในคําวา “ try “ }
  • 28. ชั่วโมงที่  5  ใบความรูที่ 1  เรื่อง เซตที่เทากัน  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 8 นาทีศึกษาการเทากันของเซต  ตัวอยางที่ 1  กําหนด A = {a,b,c} ,  B = {b,c,a}  เซต A มีสมาชิกคือ a,b,c  เซต B มีสมาชิกคือ a,b,c  จะไดวา {a,b,c} = {b,c,a}  เรียกวา เซต A เทากับเซต B  เขียนแทนดวน  A = B  ตัวอยางที่ 2  กําหนด A = {3,5,7} ,  B = {3,5,7,9}  เซต A มีสมาชิกคือ 3,5,7  เซต B มีสมาชิกคือ 3,5,7,9  จะไดวา {3,5,7} ¹ {3,5,7,9}  เรียกวา เซต A ไมเทากับเซต B เขียนแทนดวย A ¹ B  ตัวอยางที่ 3  กําหนด A = { 3 } ,  B = { 5 }  เซต A มีสมาชิกคือ 3  เซต B มีสมาชิกคือ 5  จะไดวา { 3 } ¹ { 5 }  เรียกวา เซต A ไมเทากับเซต B เขียนแทนดวย A ¹ B  ตัวอยางที่ 4  กําหนด A = {x êxÎI , 5 < x £ 8 }  ,  B = { 6,7,8 }  เซต A มีสมาชิกคือ 6,7,8  เซต B มีสมาชิกคือ 6,7,8  จะไดวา  {x êxÎI , 5 < x £ 8 }  = { 6,7,8 }  เรียกวา เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B
  • 29. ตัวอยางที่ 5  กําหนด A = {x êxÎI และ x 2  = 1 }  ,  B = { 1,–1 }  เซต A มีสมาชิกคือ ____________  เซต B มีสมาชิกคือ ____________  จะไดวา  _________________________________  เรียกวา เซต A __________เซต B เขียนแทนดวย _________  ตัวอยางที่ 6  กําหนด A = { 1,2,{3,4},5 }  ,  B = { 1,2,3,4,5 }  เซต A มีสมาชิกคือ _________________  เซต B มีสมาชิกคือ _________________  จะไดวา  _________________________________  เรียกวา เซต A __________เซต B เขียนแทนดวย _________
  • 30. ใบกิจกรรมที่ 1  ตัวชี้วัด  1. นักเรียนเขียนสัญลักษณแทนการเทากันของเซตได  2. เมื่อกําหนดเซตตั้งแต 2 เซตขึ้นไป นักเรียนสามารถจําแนกไดวาเซตใดเทากัน  กระบวนการ  สรางความคิดรวบยอด  ระดับพฤติกรรม  ความรู-ความจํา  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที พิจารณาวาเซตที่กําหนดใหขอใดเปนเซตที่เทากันหรือไมเทากัน  เซต  คําตอบ  ตัวอยาง  A = { 4,8 }  A ¹ B  B = { 1,2 }  1.  A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุนทร” }  B = { x ê x เปนพยัญชนะในคําวา “รุรสวาที” }  2.  C = { x êx Î I และ x 2  – 9 = 0 }  D = { 3 }  3.  E = { 2,4,6,8 }  F = { 2,4,6,... }  4.  P = { x êx เปนจํานวนคี่บวก }  Q = { 1,3,5,... }  5.  M = { 0,0,1,2,2,3 }  N = { 0,1,2,3 }  S = { x Î I ê0 £ x £ 3 }  สรุป  เซต 2 เซตจะเทากัน ก็ตอเมื่อ _______________________  __________________________________________
  • 31. ใบกิจกรรมที่ 2  ตัวชี้วัด  1. นักเรียนเขียนสัญลักษณแทนการเทากันของเซตได  2. เมื่อกําหนดเซตตั้งแต 2 เซตขึ้นไป นักเรียนสามารถจําแนกไดวาเซตใดเทากัน  กระบวนการ  ทักษะการคิดคํานวณ  ระดับพฤติกรรม  ความเขาใจ  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาทีเพื่อพิจารณาวาเซตใดตอไปนี้ที่เทากัน  1. A = { x êx เปนจํานวนคูที่อยูระหวาง 1 และ 12 }  2. B = { 2,4,6,8,10 }  3. C = { 2,4,6,8,10,12 }  ตอบ _____________________________  2. A = { a,a }  B = { 2a }  C = { 2,a }  ตอบ _____________________________  3. A = { 2,1 }  B = { 1,2 }  C = { xÎI ê 0 < x < 3 }  ตอบ _____________________________  4. A = { ก,ร,ม }  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมการ” }  C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมกร” }  D = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “เวรกรรม” }  ตอบ _____________________________  5. A = { 10,20,30 }  B = { 10,20,30,... }  C = { x êx เปนจํานวนเต็มบวกที่หารดวย 10 ลงตัว }  ตอบ _____________________________
  • 32. คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 5 นาที เพื่อศึกษาและสรุปเซตที่เทากัน  1. ถาเซต A เทากับเซต B แลว สมาชิกทุกตัวของ A เปนสมาชิกของเซต B  และสมาชิกทุกตัวของเซต B เปนสมาชิกของเซต A  เขียนแทนเซต A เทากับเซต B ดวย A = B  2. ถาเซต A ไมเทากับเซต B ก็ตอเมื่อ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว ของเซต A  ไมเปนสมาชิกของเซต B หรือ มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว ของเซต B ไมเปนสมาชิก  ของเซต A  เขียนแทนเซต A ไมเทากับเซต B ดวย A ¹ B  บทนิยาม  เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกัน  กลาวคือ สมาชิกทุกตัวของเซต A เปนสมาชิกของเซต B และสมาชิกทุกตัวของ  เซต B เปนสมาชิกของเซต A  เซต A เทากับเซต B เขียนแทนดวย A = B
  • 33. แบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทําแบบฝกทักษะตอไปนี้  1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เซตใดเปนเซตที่เทากันหรือเปนเซตที่ไมเทากัน  เซต  เทากัน , ไมเทากัน  1. A = { 2,3,4 }  B = { 4,2,3 }  2. A = { 2,3,5 }  B = { 2,3,7 }  3. A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ  B = { a,e,i,o,u }  4. A = { xÎI ê5 < x < 10 }  B = { 6,7,8,9 }  5. A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปไตย” }  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปก” }  2. จงพิจารณาวาเซตตอไปนี้ เซตใดบางเปนเซตที่เทากัน  A = { x êx เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา –5 }  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สวนสด” }  C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สายวาด” }  D = { -1,-2,-3,-4 }  E = { -6,-7,-8 }  F = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุดสวย” }  ตอบ _________________________________________________
  • 34. เฉลยใบความรูที่ 1  ตัวอยางที่ 5  กําหนด A = {x êxÎI และ x 2  = 1 }  ,  B = { 1,–1 }  เซต A มีสมาชิกคือ ___1 , -1______  เซต B มีสมาชิกคือ ___1 , - 1______  จะไดวา  ____{x êxÎI และ x 2  = 1 }   =  { 1,–1 }________  เรียกวา เซต A _เทากับ____เซต B เขียนแทนดวย ___A = B__  ตัวอยางที่ 6  กําหนด A = { 1,2,{3,4},5 }  ,  B = { 1,2,3,4,5 }  เซต A มีสมาชิกคือ _____ 1,2,{3,4},5 _______  เซต B มีสมาชิกคือ ____1,2,3,4,5 ________  จะไดวา  ______{ 1,2,{3,4},5 }  = { 1,2,3,4,5 }________  เรียกวา เซต A __ไมเทากับ__เซต B เขียนแทนดวย __A ¹ B____
  • 35. เฉลยใบกิจกรรมที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที พิจารณาวาเซตที่กําหนดใหขอใดเปนเซตที่เทากันหรือไมเทากัน  เซต  คําตอบ  ตัวอยาง  A = { 4,8 }  A ¹ B  B = { 1,2 }  1.  A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุนทร” }  A = B  B = { x ê x เปนพยัญชนะในคําวา “รุรสวาที” }  2.  C = { x êx Î I และ x 2  – 9 = 0 }  C ¹ D  D = { 3 }  3.  E = { 2,4,6,8 }  E ¹ F  F = { 2,4,6,... }  4.  P = { x êx เปนจํานวนคี่บวก }  P = Q  Q = { 1,3,5,... }  5.  M = { 0,0,1,2,2,3 }  M = N = S  N = { 0,1,2,3 }  S = { x Î I ê0 £ x £ 3 }  สรุป  เซต 2 เซตจะเทากัน ก็ตอเมื่อ __________________________  _______________เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว______
  • 36. เฉลยใบกิจกรรมที่ 2  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาทีเพื่อพิจารณาวาเซตใดตอไปนี้ที่เทากัน  1. A = { x êx เปนจํานวนคูที่อยูระหวาง 1 และ 12 }  2. B = { 2,4,6,8,10 }  3. C = { 2,4,6,8,10,12 }  ตอบ _____A = B___________________  2. A = { a,a }  B = { 2a }  C = { 2,a }  ตอบ ______ไมมีเซตใดที่เทากัน_________  3. A = { 2,1 }  B = { 1,2 }  C = { xÎI ê 0 < x < 3 }  ตอบ ______A = B = C______________  4. A = { ก,ร,ม }  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมการ” }  C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “กรรมกร” }  D = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “เวรกรรม” }  ตอบ ______A = B = C______________  5. A = { 10,20,30 }  B = { 10,20,30,... }  C = { x êx เปนจํานวนเต็มบวกที่หารดวย 10 ลงตัว }  ตอบ ______B = C__________________
  • 37. เฉลยแบบฝกทักษะที่ 1  คําชี้แจง  ใหนักเรียนใชเวลา 10 นาที ทําแบบฝกทักษะตอไปนี้  1. เซตที่กําหนดใหตอไปนี้เซตใดเปนเซตที่เทากันหรือเปนเซตที่ไมเทากัน  เซต  เทากัน , ไมเทากัน  1. A = { 2,3,4 }  A = B  B = { 4,2,3 }  2. A = { 2,3,5 }  A ¹ B  B = { 2,3,7 }  3. A = เซตของสระในภาษาอังกฤษ  A = B  B = { a,e,i,o,u }  4. A = { xÎI ê5 < x < 10 }  A = B  B = { 6,7,8,9 }  5. A = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปไตย” }  A ¹ B  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “ประชาธิปก” }  2. จงพิจารณาวาเซตตอไปนี้ เซตใดบางเปนเซตที่เทากัน  A = { x êx เปนจํานวนเต็มลบที่มากกวา –5 }  B = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สวนสด” }  C = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สายวาด” }  D = { -1,-2,-3,-4 }  E = { -6,-7,-8 }  F = { x êx เปนพยัญชนะในคําวา “สุดสวย” }  ตอบ _____A = D ,  B = F = C_______________________________