SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ค42101 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่                  5
เรื่อง ลาดับ เวลา 3 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วย ลาดับ

1. สาระที่ 4 : พีชคณิต
2. มาตรฐาน
          ค 4.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปแบบ (pattern) ความสัมพันธ์และฟังก์ชันต่าง ๆ ได้
3. มาตรฐานช่วงชั้นที่ 4
         ค 4.1.5 เข้าใจความหมายของลาดับเลขคณิต และลาดับเรขาคณิต หาพจน์ต่าง ๆ ของ
                  ลาดับเลขคณิตและลาดับเรขาคณิตได้
 4. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
         เข้าใจความหมายของลาดับและหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัดที่กาหนดให้ได้
5. สาระสาคัญ
         ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือลาดับ คือฟังก์ชันที่มี
โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก
         การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ คือ การเขียนลาดับเรียงจากพจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3
ไปเรื่อย ๆ แล้วคั่นแต่ละพจน์ด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น 3, 5, 7, . . .
         พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดหรือพจน์ที่ n เขียนแทนด้วย an เช่น an = 4n + 2 เมื่อ
n = 1, 2, 3
6. จุดประสงค์การเรียนรู้
6.1 บอกความหมายของลาดับได้
6.2 บอกความหมายของลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์ได้
6.3 เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ได้
6.4 หาพจน์ทั่วไปของลาดับที่กาหนดให้ได้
7. สาระการเรียนรู้/เนื้อหา
         ความหมายของลาดับ
         ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือลาดับ คือฟังก์ชันที่มี
โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก
         ลาดับจากัด คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก n ตัวแรก
         ลาดับอนันต์ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก
การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
        พิจารณา f(n) = n + 3 เมื่อ n  {1, 2, 3, 4}
                    ถ้า n = 1 จะได้ f(1) = 1 + 3 = 4
                           n = 2 จะได้ f(2) = 2 + 3 = 5
                           n = 3 จะได้ f(3) = 3 + 3 = 6
                           n = 4 จะได้ f(4) = 4 + 3 = 7
        เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเรียงกันจะได้ f(1), f(2), f(3), f(4) ซึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของ
ลาดับ
        จะเห็นว่า โดเมน คือ {1, 2, 3, 4}
                     เรนจ์ คือ {4, 5, 6, 7}
        เรียกลาดับข้างต้นนี้ว่า ลาดับจากัด
        และเรียก f(1) ว่าพจน์ที่ 1 ของลาดับ แทนด้วย a1
                     f(2) ว่าพจน์ที่ 2 ของลาดับ แทนด้วย a2
                     f(3) ว่าพจน์ที่ 3 ของลาดับ แทนด้วย a3
                     f(4) ว่าพจน์ที่ 4 ของลาดับ แทนด้วย a4
        แต่          f(1) = 4
                     f(2) = 5
                     f(3) = 6
                     f(4) = 7
        ดังนั้น 4, 5, 6, 7 จึงเรียกว่า ลาดับเช่นเดียวกัน
        ซึ่งการเรียงลาดับในลักษณะนี้เรียกว่า การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
        และเรียก 4 ว่า พจน์ที่ 1 ของลาดับ (a1)
                     5 ว่า พจน์ที่ 2 ของลาดับ (a2)
                     6 ว่า พจน์ที่ 3 ของลาดับ (a3)
                     7 ว่า พจน์ที่ 4 ของลาดับ (a4)

        การหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัด
        พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดหรือพจน์ที่ n เขียนแทนด้วย an เช่น an = 4n + 2 เมื่อ
n = 1, 2, 3 ซึ่งในการหาพจน์ทั่วไปของลาดับจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง an กับ n
แล้วจึงสรุปเป็นกฎเกณฑ์
8. กิจกรรมการเรียนรู้
8.1 ขั้นนาเข้าสู่การเรียนรู้
         1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ลาดับ
 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับความรู้เดิมเรื่องฟังก์ชัน โดยครูกาหนด
ฟังก์ชัน y = f(x) โดยที่ฟังก์ชันมีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก แล้วตั้งคาถามกระตุ้นความคิด
นักเรียนว่าฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็ม เช่น f(1), f(2), f(3), …, f(n), … เรียกว่า
อะไร
8.2 ขั้นดาเนินการเรียนรู้
                 กิจกรรมการเรียนรู้             ทักษะการคิด              ตัวบ่งชี้ทักษะ
1. นักเรียนทาเอกสารแนะแนวที่ 1.1.1 แล้ว           การให้คา - สามารถเรียบเรียงสมบัติ
ช่วยกันเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง พร้อม จากัดความ                  เฉพาะของสิ่งนั้นเป็น
ทั้งสรุปความหมายของโดเมนและเรนจ์ของ                               ข้อความได้กะทัดรัด ชัดเจน
ฟังก์ชัน                                                          สละสลวย
 2. นักเรียนทาเอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.2            การให้คา - สามารถเรียบเรียงสมบัติ
โดยครูใช้การถาม- ตอบ พร้อมเฉลย และ               จากัดความ        เฉพาะของสิ่งนั้นเป็น
นักเรียนทุกคนร่วมกันสรุปความหมายของลาดับ                          ข้อความได้กะทัดรัด ชัดเจน
ซึ่งครูคอยแนะแนวทางจนกว่านักเรียนจะเข้าใจ                         สละสลวย
และสรุปได้ ดังนี้ “ ลาดับ คือฟังก์ชันที่มี
โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือ
ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก”
3. นักเรียนทาเอกสารฝึกทักษะที่ 1.1.1 เสร็จ      การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้
แล้วครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ                ไปใช้         มาแล้วในสถานการณ์ที่
ถูกต้อง                                                           ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้
4. นักเรียนทาเอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.3 โดย การให้คา - สามารถเรียบเรียงสมบัติ
ครูใช้การถาม- ตอบ พร้อมเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง จากัดความ              เฉพาะของสิ่งนั้นเป็น
หลังจากนั้นให้นักเรียนพิจารณาลักษณะร่วม                           ข้อความได้กะทัดรัด ชัดเจน
สังเกตรูปทั่วไป เพื่อนาไปสู่ข้อสรุปความหมาย                       สละสลวย
ของลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์ โดยครูคอย
แนะนาจนกว่านักเรียนเข้าใจและสรุปได้ ดังนี้ “
ลาดับจากัด คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของ
จานวนเต็มบวก n ตัวแรก และลาดับอนันต์
คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็ม
บวก ”
5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.1.2 เสร็จแล้ว    การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้
ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง           ไปใช้       มาแล้วในสถานการณ์ที่
                                                              ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้
6. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 พร้อมทั้งศึกษา การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล
ตัวอย่าง แนวคิดทุกขั้นตอนให้ละเอียดจนเข้าใจ ความเห็น          ประกอบความคิดเห็นที่ให้
หากมีข้อสงสัยให้ถามครูผู้สอน แล้วร่วมกันสรุป
วิธีเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
7. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.1.3 เพือ  ่      การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้
ตรวจสอบ ความเข้าใจการเขียนลาดับในรูปแจง           ไปใช้       มาแล้วในสถานการณ์ที่
พจน์ เสร็จแล้วครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน                      ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้
ออกมาเฉลยบนกระดานดา และให้นักเรียน              การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล
ร่วมกันอภิปรายคาตอบที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่       ความเห็น     ประกอบความคิดเห็นที่ให้
อย่างไร
8. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 2 โดยศึกษา         การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล
ตัวอย่าง แนวคิดทุกขั้นตอนให้ละเอียดจนเข้าใจ      ความเห็น     ประกอบความคิดเห็นที่ให้
หากมีข้อสงสัยให้ถามครูผู้สอน แล้วร่วมกันสรุป
การหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัด โดยครูคอย
แนะแนวทางจนกว่านักเรียนจะเข้าใจ
9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.2 เสร็จแล้วครู การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้
สุ่มเรียกตัวแทนนักเรียนออกมาเฉลยบนกระดาน          ไปใช้       มาแล้วในสถานการณ์ที่
ดา และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบที่ได้                    ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้
ว่าถูกต้องหรือไม่อย่างไร                        การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล
                                                 ความเห็น     ประกอบความคิดเห็นที่ให้
10. ครูเขียนลาดับอนันต์ แล้วให้นักเรียนช่วยกัน การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล
หาพจน์ทั่วไป (an) เช่น 3, 5, 7, 9, . . . ซึ่ง    ความเห็น     ประกอบความคิดเห็นที่ให้
คาตอบของนักเรียนอาจมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ
11. นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1.1.1 และ 1.1.2     การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้
ในหนังสือเรียน เพื่อเสริมทักษะและความ             ไปใช้       มาแล้วในสถานการณ์ที่
แม่นยาในการเรียนรู้                                           ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้
8.3 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้
          1. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปการหาพจน์ทั่วไปของลาดับ พร้อมทั้งอภิปรายในประเด็น
 การหาพจน์ทั่วไปของลาดับอนันต์ถ้ากาหนดเพียงพจน์แรก ๆ จานวนหนึ่ง (กี่พจน์ก็ตาม) พจน์
 ทั่วไปจะมีได้หลายคาตอบ ยกเว้นจะทราบชนิดของลาดับนั้น
          2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ลาดับ เพื่อประเมินความก้าวหน้าของ
 นักเรียน
  9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
          1. แบบทดสอบก่อน/หลังเรียน เรื่อง ลาดับ
          2. ใบความรู้ที่ 1 และ 2
  3. เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.1-1.1.3
          4. แบบฝึกทักษะที่ 1.1.1-1.1.3 และ 1.2
          5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 เล่ม 1
          6. ห้องสมุดโรงเรียน / ห้องสมุดกล่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
 10. การวัดและประเมินผล
 10.1 วิธีวัดและประเมินผล
          10.1.1 สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน การสรุป การอภิปราย
  10.1.2          การตรวจแบบฝึกหัด
 10.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล
          10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม
          10.2.2 แบบทดสอบ
 10.3 ประเด็นที่วัดและประเมินผล
10.3.1 นักเรียนสามารถเขียนลาดับในรูปแจกแจงพจน์ได้
10.3.2 นักเรียนสามารถหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัดได้
 10.4 เกณฑ์การตัดสินผลการวัดและการประเมิน
          10.4.1 การตอบคาถาม
                   - ตอบคาถามได้ถูกต้อง ให้ผ่าน
                   - ตอบคาถามไม่ถูกต้องชัดเจน ไม่ผ่าน
          10.4.2 การสรุป/ การอภิปราย
                   - สรุป/ อภิปรายได้ตรงประเด็นอย่างมีเหตุผล ให้ผ่าน
                   - สรุป/ อภิปรายไม่ตรงประเด็น ไม่มีเหตุผล ไม่ผ่าน
          10.4.3 แบบฝึกหัด
                   ดี หมายถึง นักเรียนทาได้ถูกต้อง 76-100% ของจานวนแบบฝึกหัดที่ให้ทา
พอใช้ หมายถึง นักเรียนทาได้ถูกต้อง 50-75% ของจานวนแบบฝึกหัดที่ให้ทา
               ควรปรับปรุง หมายถึง นักเรียนทาได้ถูกต้อง 0-49%ของจานวนแบบฝึกหัดที่ให้ทา
       10.4.4 แบบทดสอบ
ได้                   5-10          คะแนน              ผ่านเกณฑ์
ได้ ต่ากว่า                  5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์
เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.1
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์


ข้อที่ ฟังก์ชัน                                          โดเมนของฟังก์ชัน   เรนจ์ของฟังก์ชัน

 1     f1 = {(3, 1), (4, 2), (5, 3)}                     {3, 4, 5}          {1, 2, 3}

 2     f2 = {(1, x), (2, y), (3, z)}                     {1, 2, 3}          {x, y, z}

 3     f3 = {(1, 2), (2, 4), (3, 5), . . . , (8, 10)}

 4     f4 = {(1, 6), (2, 7), (3, 8), . . . }

 5     f5 = {(1, a), (2, b), (3, c), . . . }

 6     f6 = {(2, 3), (4, 6), (8, 12)}

 7     f7 = {(5, 7), (7, 9), (9, 11), . . ., (15, 17)}

 8     f8 = {(1, 3), (2, 4), (3, 5), . . . }


 สรุป โดเมนของฟังก์ชัน คือ ………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
      เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ …………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….
เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.2
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

                                                                                         ลาดับ
ข้อที่   ฟังก์ชัน                                               โดเมนของฟังก์ชัน
                                                                                     เป็น ไม่เป็น
   1     f1   =   {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5)}              {1, 2, 3, 4}                  -
   2     f2   =   {(2, 4), (4, 6), (6, 8), . . . }               {2, 4, 6, . . . }     -       
   3     f3   =   {(1, 5), (2, 7), (3, 12), (4, 17), (5, 22)}
   4     f4   =   {(1, 5), (2, 7), (3, 9)}
   5     f5   =   {(1, 2), (2, 4), (3, 8), (4, 16)}
   6     f6   =   {(2, 1), (4, 2), (8, 3), (16, 4)}
   7     f7   =   {(1, 1), (2, -1), (3, 1), (4, -1)}
   8     f8 = {( 1 , 1), ( 2 , 3), ( 4 , 3)}
                                     3
                 2         3
  9      f9 = {(x, y) | y = 3x + 1 , x I- }
  10     f10 = {(a, b) | b = 2a + 2 , a I+}

 สรุป ลาดับ คือ …………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.3
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่                        ฟังก์ชัน                         โดเมนของฟังก์ชัน ลาดับ    ลาดับ
                                                                                 จากัด   อนันต์
  1      f1 = {(1, -1), (2, 5), (3, 11), (4, 17)}              {1, 2, 3, 4}               -
  2      f2 = {(1, 0), (2, 1), (3, 2), . . . }                 {1, 2, 3, . . . }   -      
  3      f3 = {(1, 1), (2, 4), (3, 9), (4, 16), (5, 25)}
  4      f4 = {(1, 1), (2, 1 ), (3, 1 9), (4, 1 )}
                           2        3         4
 5       f5 = {(1, 4), (2, 6), (3, 8), . . . , (7, 16)}
 6       f6 = {(1, 3), (2, 12), (3, 27), (4, 48), . . . }
 7       f7 = {(x, y) | y = 4x เมื่อ x = 1, 2, 3, . . ., 10}
 8       f8 = {(x, y) | y = x2 + 2 เมื่อ x = 1, 2, 3, 4}
 9       f9 = {(x, y) | y = x + 2 เมื่อ x I+ }
 10      f10 = {(x, y) | y = x2 - 1 เมื่อ x I+}

 สรุป ลาดับจากัด คือ ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
      ลาดับอนันต์ คือ ……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
แบบฝึกทักษะที่ 1.1.1

จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายของลาดับได้
คาชี้แจง       ให้นักเรียนพิจารณาฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้ว่าเป็นหรือไม่เป็นลาดับ แล้วเติมคาตอบ
               ลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่                                  ฟังก์ชัน                              คาตอบ
  1        f1 = {(1, 4), (2, 8), (3, 12), . . . }
  2        f2 = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)}
  3        f3 = {(2, 1), (3, 2), (4, 3)}
  4        f4 = {(1, 3), (2, 4), (3, 5), (4, 6), . . . , (7, 9)}
  5        f5 = {(3, 4), (4, 5), (5, 6), (6, 7), (7, 8)}
  6        f6 = {(1, 5), (2, 8), (3, 11), (4, 14)}
  7        f7 = {(x, y) | y = 2x – 3 เมื่อ x = 1, 2, 3 }
  8        f8 = {(x, y) | y = 3x2 – 1 เมื่อ x  I+ }
  9        f9 = {(a, b) | b = 4a2 – 5 เมื่อ a = 1, 2, 3, 4 }
 10        f10 = {(x, y) | y = x3 เมื่อ x = 1, 2, 3, . . . }
แบบฝึกทักษะที่ 1.1.2

จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายของลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์ได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาลาดับแต่ละข้อต่อไปนี้ว่าเป็นลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์แล้วเติม
คาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์

ข้อที่                       ลาดับที่กาหนดให้                            คาตอบ
  1      4, 7, 10, 13, 16, . . .
  2      2, 5, 8, 11, 14
  3      1, 4, 9, 16, 25, . . .
  4      6, 10, 14, 18, 22, 26
  5      2, 8, 14, 20, 26, 32, 38
  6      an = 8n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4
  7      an = 3n + 7 เมื่อ n  I+
  8      an = 2n2 – 1 เมื่อ n = 1, 2, 3
  9      an = n3 เมื่อ n  I+
 10      an = 2n – 10 เมื่อ n = 1, 2, 3, . . .
ใบความรู้ที่ 1

1. ลาดับ
1.1 ความหมายของลาดับ
        ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือลาดับ คือฟังก์ชันที่มี
โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก
        ลาดับจากัด คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก n ตัวแรก
        ลาดับอนันต์ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก

        การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
        พิจารณา f(n) = n + 3 เมื่อ n  {1, 2, 3, 4}
                    ถ้า n = 1 จะได้ f(1) = 1 + 3 = 4
                           n = 2 จะได้ f(2) = 2 + 3 = 5
                           n = 3 จะได้ f(3) = 3 + 3 = 6
                           n = 4 จะได้ f(4) = 4 + 3 = 7
        เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเรียงกันจะได้ f(1), f(2), f(3), f(4) ซึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของ
ลาดับ
        จะเห็นว่า โดเมน คือ {1, 2, 3, 4}
                     เรนจ์ คือ {4, 5, 6, 7}
        เรียกลาดับข้างต้นนี้ว่า ลาดับจากัด
        และเรียก f(1) ว่าพจน์ที่ 1 ของลาดับ แทนด้วย a1
                     f(2) ว่าพจน์ที่ 2 ของลาดับ แทนด้วย a2
                     f(3) ว่าพจน์ที่ 3 ของลาดับ แทนด้วย a3
                     f(4) ว่าพจน์ที่ 4 ของลาดับ แทนด้วย a4
        แต่          f(1) = 4
                     f(2) = 5
                     f(3) = 6
                     f(4) = 7
        ดังนั้น 4, 5, 6, 7 จึงเรียกว่า ลาดับเช่นเดียวกัน
        ซึ่งการเรียงลาดับในลักษณะนี้เรียกว่า การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
        และเรียก 4 ว่า พจน์ที่ 1 ของลาดับ (a1)
                     5 ว่า พจน์ที่ 2 ของลาดับ (a2)
6 ว่า พจน์ที่ 3 ของลาดับ (a3)
                  7 ว่า พจน์ที่ 4 ของลาดับ (a4)
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด f(n) = 2n – 1 เมื่อ n  {1, 2, 3, 4, 5} จงเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
วิธีทา จาก f(n) = 2n – 1
                  f(1) = 2(1) – 1 = 1
                  f(2) = 2(2) – 1 = 3
                  f(3) = 2(3) – 1 = 5
                  f(4) = 2(4) – 1 = 7
                  f(5) = 2(5) – 1 = 9
 ลาดับในรูปแจงพจน์ คือ 1, 3, 5, 7, 9
ตัวอย่างที่ 2 กาหนด an = 10 – 2n เมื่อ n  {1, 2, 3, . . ., 9} จงเขียนลาดับในรูปแจงพจน์
วิธีทา จาก an = 10 – 2n
                  a1 = 10 – 2(1) = 8
                  a2 = 10 – 2(2) = 6
                  a3 = 10 – 2(3) = 4
                  .         .         .
                  .         .         .
                  .         .         .
                  a9 = 10 – 2(9) = -8
 ลาดับในรูปแจงพจน์ คือ 8, 6, 4, . . . , -8
แบบฝึกทักษะที่ 1.1.3

จุดประสงค์การเรียนรู้ เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ได้
คาชี้แจง    ให้นักเรียนเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ โดยการเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อ
            ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์


    1. an = 2n – 1                                3. an =   1  2n
                                                            1 - 3n
        a1 = 2(1) – 1 = 1                             a1 = ……………………………..
        a2 = 2(2) – 1 = 3                             a2 = ……………………………..
        a3 = ……………………………..                            a3 = ……………………………..
        a4 = ……………………………..                            a4 = ……………………………..
        a5 = ……………………………..                        เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ
    เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ         ……………………………………………
    …………………………………………..

    2. an = 2n2 – 2                               4. an = 2n2
        a1 = 2(12) – 2 = ………………                       a1 = ……………………………..
        a2 = ……………………………..                            a2 = ……………………………..
        a3 = ……………………………..                            a3 = ……………………………..
                                                      ..
        a4 = ……………………………..                             .
    เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ              a10 = ……………………………..
    ……………………………………………                             เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ
                                                  ……………………………………………
ใบความรู้ที่ 2

          1.2 การหาพจน์ทั่วไปของลาดับ
          พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดหรือพจน์ที่ n เขียนแทนด้วย an เช่น an = 4n + 2 เมื่อ
n = 1, 2, 3 ซึ่งในการหาพจน์ทั่วไปของลาดับ โดยทั่วไปใช้การสังเกตความสัมพันธ์ของพจน์ต่างๆ
และจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง an กับ n แล้วจึงสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ถัดไปสองพจน์ของลาดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้
  1             ) 1, 3, 7, 13, …
                     จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้น 2, 4 และ 6 ตามลาดับ
   ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้จะเพิ่มขึ้น 8 และ 10 ตามลาดับ
   จะได้ 21 และ 31 เป็นพจน์ถัดไปของลาดับที่กาหนดให้
   1 3 7 13 21 31

                    +2    +4       +6       +8      +10
               2)  100, 99, 97, 94, …
                   จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะลดลง -1, -2 และ -3 ตามลาดับ
  ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้จะลดลง -4 และ -5 ตามลาดับ
  จะได้ 90 และ 85 เป็นพจน์ถัดไปของลาดับที่กาหนดให้
      100 99 97 94 90 85

                    -1    -2       -3       -4      -5
               3)   16, 8, 4, 2, …
                                                        1
                    จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็น        ของพจน์ที่อยู่ข้างหน้า
                                                        2
                                                                         1
  ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้คือ 1 และ                                ตามลาดับ
                                                                         2
                                                              1
  16 8 4 2 1
                                                              2

                    2     2      2       2         2
               4) 2, 20, 200, 2000, …
                  จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้นเป็น 10 เท่าของพจน์ที่อยู่ข้างหน้า
  ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้คือ 20000 และ 200000 ตามลาดับ
  2 20 200 2000 20000 200000

                    x 10 x 10      x 10     x 10    x 10
ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 3, 5, 7, 9, 11
วิธีทา        จากลาดับจากัด 3, 5, 7, 9, 11
              จะได้      a1 = 3 = (2  1) + 1
                         a2 = 5 = (2  2) + 1
                         a3 = 7 = (2  3) + 1
                         a4 = 9 = (2  4) + 1
                         a5 = 11 = (2  5) + 1
 พจน์ทั่วไปของลาดับนี้คือ 2n + 1 เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5

ตัวอย่างที่ 3 จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 15, 18, 21, 24, 27, 30
วิธีทา        จากลาดับจากัด 15, 18, 21, 24, 27, 30
              จะได้      a1 = 15 = 3 + 12 = 3(1) + 12
                         a2 = 18 = 6 + 12 = 3(2) + 12
                         a3 = 21 = 9 + 12 = 3(3) + 12
                         a4 = 24 = 12 + 12 = 3(4) + 12
                         a5 = 27 = 15 + 12 = 3(5) + 12
                         a6 = 30 = 18 + 12 = 3(6) + 12
 พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดนี้คือ 3n + 12 เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5, 6
แบบฝึกทักษะที่ 1.2

จุดประสงค์การเรียนรู้ หาพจน์ทั่วไปของลาดับได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนหาพจน์ถัดไปสองพจน์ของลาดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้
(1) 2 , 6, 10, 14, ………., ………. (2) 200               , 195, 190, 185, ………., ……….

(3) 1 , 4, 16, 64, ………., ………. (4) 729                          , 243, 81, 27, ………., ……….

(5) 2 , 7, 17, 32, ………., ……….            (6) 5                , 4, 1, -4, ………., ……….

(7) 729 , 243, 81, 27, ………., ………. (8) 100                      , 98, 94, 88, ………., ……….

คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนลาดับที่กาหนดให้แต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปพจน์ทั่วไปหรือพจน์ที่ n

(1) 4, 7, 10, 13, …     (2) 1, 1 ,                              1 1
                                                                 , ,   …
                                2                               3 4
 a1 = 4 = (3 x 1) + 1
                        a1 = 1
 a 2 = 7 = (3 x 2) + 1         1
                         a2 =
 a 3 = 10 = (3 x 3) + 1        2
 a 4 = 13 = (3 x 2) + 1
                               1
                         a3 =
                               3
 a n = …………………………………………        1
                         a4 =
                                                          4
                                   = …………………………………………
                                                 an
(3) -2, 3, 8, 13, …           (4) 2, 5, 8, 11, …
 a1 = -2 = 5 – 7 = 5(1) – 7   a1 = 2 = 3 – 1 = ……………………
 a 2 = 3 = 10 – 7 = 5(2) – 7   a 2 = 5 = 6 – 1 = ……………………
 a 3 = 8 = 15 – 7 = …………………… a 3 = 8 = 9 – 1 = ……………………
 a 4 = 13 = 20 – 7 = …………………… a 4 = 11 = 12 – 1 = ……………………
 a n = ………………………………………… a n = …………………………………………
(5) 7, 9, 11, 13, …          (6) sin , sin 2 , sin 3 , sin 4 ,... …
 a1 = 7 = 2 + 5 = …………………… a1 = …………………………………………
 a 2 = 9 = 4 + 5 = …………………… a 2 = …………………………………………
 a 3 = 11 = 6 + 5 = …………………… a 3 = …………………………………………
 a 4 = 13 = 8 + 5 = …………………… a 4 = …………………………………………
 a n = ………………………………………… a n = …………………………………………
(7) 16, 8, 4, 2, ...         (8) 3, 5, 9, 17, ....
 a1 = ………………………………………… a1 = …………………………………………
 a 2 = ………………………………………… a 2 = …………………………………………
 a 3 = ………………………………………… a 3 = …………………………………………
 a 4 = ………………………………………… a 4 = …………………………………………
 a n = ………………………………………… a n = …………………………………………

      1 2 3 4                                3 2 5
(9)    , , , ,...                   (10)   0, , , ,...
      2 3 4 5                                2 3 4
a1    = …………………………………………            a1     = …………………………………………
a2    = …………………………………………            a2   = …………………………………………
a3    = …………………………………………            a3   = …………………………………………
a4    = …………………………………………            a4   = …………………………………………
an    = …………………………………………            an     = …………………………………………

More Related Content

What's hot

จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบMike Polsit
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์Jintana Kujapan
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 

What's hot (20)

จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
Math5
Math5Math5
Math5
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
การเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการการเขียนกราฟของอสมการ
การเขียนกราฟของอสมการ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบแบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
แบบฝึกหัดแยกตัวประกอบ
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
 
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)ข้อสอบ Pre o net  คณิตม.3(2)
ข้อสอบ Pre o net คณิตม.3(2)
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 

Viewers also liked

ลำดับเลขคณิตของเอ
ลำดับเลขคณิตของเอลำดับเลขคณิตของเอ
ลำดับเลขคณิตของเอpoii
 
การเบิกเงิน
การเบิกเงินการเบิกเงิน
การเบิกเงินmathsanook
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายAon Narinchoti
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3srkschool
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
Breastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care Act
Breastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care ActBreastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care Act
Breastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care ActKDeCockerGeist
 
Shaun Barber Art
Shaun Barber ArtShaun Barber Art
Shaun Barber Artskbarber
 
Культурология как наука по Лесли Уайту
Культурология как наука по Лесли УайтуКультурология как наука по Лесли Уайту
Культурология как наука по Лесли УайтуIrina Pasadskaya
 
Taite wk1 term 2pdf
Taite wk1 term 2pdfTaite wk1 term 2pdf
Taite wk1 term 2pdftakp
 
Mane week 8 term 3
Mane week 8 term 3Mane week 8 term 3
Mane week 8 term 3takp
 
Anil kumar tiwary desertation
Anil kumar tiwary desertationAnil kumar tiwary desertation
Anil kumar tiwary desertationmukulkr
 
Turei week 1 term 4 pdf
Turei week 1 term 4 pdfTurei week 1 term 4 pdf
Turei week 1 term 4 pdftakp
 

Viewers also liked (20)

ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
ลำดับเลขคณิตของเอ
ลำดับเลขคณิตของเอลำดับเลขคณิตของเอ
ลำดับเลขคณิตของเอ
 
การเบิกเงิน
การเบิกเงินการเบิกเงิน
การเบิกเงิน
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลายตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.ปลาย
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
แผน 2คณิตศาสตร์เพิ่มเติม3
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
Breastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care Act
Breastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care ActBreastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care Act
Breastfeeding Promotion and the Patient Protection and Affordable Care Act
 
Keenan
KeenanKeenan
Keenan
 
Shaun Barber Art
Shaun Barber ArtShaun Barber Art
Shaun Barber Art
 
Культурология как наука по Лесли Уайту
Культурология как наука по Лесли УайтуКультурология как наука по Лесли Уайту
Культурология как наука по Лесли Уайту
 
Taite wk1 term 2pdf
Taite wk1 term 2pdfTaite wk1 term 2pdf
Taite wk1 term 2pdf
 
Mane week 8 term 3
Mane week 8 term 3Mane week 8 term 3
Mane week 8 term 3
 
Anil kumar tiwary desertation
Anil kumar tiwary desertationAnil kumar tiwary desertation
Anil kumar tiwary desertation
 
Turei week 1 term 4 pdf
Turei week 1 term 4 pdfTurei week 1 term 4 pdf
Turei week 1 term 4 pdf
 

Similar to แผนลำดับ

แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
1positive degree 11 feb 52 แก้ไข
1positive degree 11 feb 52 แก้ไข1positive degree 11 feb 52 แก้ไข
1positive degree 11 feb 52 แก้ไขKrususuthee
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์Por Oraya Moungmontree
 

Similar to แผนลำดับ (20)

Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
1
11
1
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
B slim
B slim B slim
B slim
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
1positive degree 11 feb 52 แก้ไข
1positive degree 11 feb 52 แก้ไข1positive degree 11 feb 52 แก้ไข
1positive degree 11 feb 52 แก้ไข
 
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
การพํฒนาบทเรียนช่วยสอนแนวทางบทเรียนสำเร็จรูป ฉบับสมบูรณ์
 

แผนลำดับ

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ค42101 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ลาดับ เวลา 3 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วย ลาดับ 1. สาระที่ 4 : พีชคณิต 2. มาตรฐาน ค 4.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปแบบ (pattern) ความสัมพันธ์และฟังก์ชันต่าง ๆ ได้ 3. มาตรฐานช่วงชั้นที่ 4 ค 4.1.5 เข้าใจความหมายของลาดับเลขคณิต และลาดับเรขาคณิต หาพจน์ต่าง ๆ ของ ลาดับเลขคณิตและลาดับเรขาคณิตได้ 4. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เข้าใจความหมายของลาดับและหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัดที่กาหนดให้ได้ 5. สาระสาคัญ ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือลาดับ คือฟังก์ชันที่มี โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ คือ การเขียนลาดับเรียงจากพจน์ที่ 1 พจน์ที่ 2 พจน์ที่ 3 ไปเรื่อย ๆ แล้วคั่นแต่ละพจน์ด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น 3, 5, 7, . . . พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดหรือพจน์ที่ n เขียนแทนด้วย an เช่น an = 4n + 2 เมื่อ n = 1, 2, 3 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ 6.1 บอกความหมายของลาดับได้ 6.2 บอกความหมายของลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์ได้ 6.3 เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ได้ 6.4 หาพจน์ทั่วไปของลาดับที่กาหนดให้ได้ 7. สาระการเรียนรู้/เนื้อหา ความหมายของลาดับ ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือลาดับ คือฟังก์ชันที่มี โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก ลาดับจากัด คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก n ตัวแรก ลาดับอนันต์ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก
  • 2. การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ พิจารณา f(n) = n + 3 เมื่อ n  {1, 2, 3, 4} ถ้า n = 1 จะได้ f(1) = 1 + 3 = 4 n = 2 จะได้ f(2) = 2 + 3 = 5 n = 3 จะได้ f(3) = 3 + 3 = 6 n = 4 จะได้ f(4) = 4 + 3 = 7 เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเรียงกันจะได้ f(1), f(2), f(3), f(4) ซึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของ ลาดับ จะเห็นว่า โดเมน คือ {1, 2, 3, 4} เรนจ์ คือ {4, 5, 6, 7} เรียกลาดับข้างต้นนี้ว่า ลาดับจากัด และเรียก f(1) ว่าพจน์ที่ 1 ของลาดับ แทนด้วย a1 f(2) ว่าพจน์ที่ 2 ของลาดับ แทนด้วย a2 f(3) ว่าพจน์ที่ 3 ของลาดับ แทนด้วย a3 f(4) ว่าพจน์ที่ 4 ของลาดับ แทนด้วย a4 แต่ f(1) = 4 f(2) = 5 f(3) = 6 f(4) = 7 ดังนั้น 4, 5, 6, 7 จึงเรียกว่า ลาดับเช่นเดียวกัน ซึ่งการเรียงลาดับในลักษณะนี้เรียกว่า การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ และเรียก 4 ว่า พจน์ที่ 1 ของลาดับ (a1) 5 ว่า พจน์ที่ 2 ของลาดับ (a2) 6 ว่า พจน์ที่ 3 ของลาดับ (a3) 7 ว่า พจน์ที่ 4 ของลาดับ (a4) การหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัด พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดหรือพจน์ที่ n เขียนแทนด้วย an เช่น an = 4n + 2 เมื่อ n = 1, 2, 3 ซึ่งในการหาพจน์ทั่วไปของลาดับจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง an กับ n แล้วจึงสรุปเป็นกฎเกณฑ์
  • 3. 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 ขั้นนาเข้าสู่การเรียนรู้ 1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ลาดับ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนเกี่ยวกับความรู้เดิมเรื่องฟังก์ชัน โดยครูกาหนด ฟังก์ชัน y = f(x) โดยที่ฟังก์ชันมีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก แล้วตั้งคาถามกระตุ้นความคิด นักเรียนว่าฟังก์ชันซึ่งมีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็ม เช่น f(1), f(2), f(3), …, f(n), … เรียกว่า อะไร 8.2 ขั้นดาเนินการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการคิด ตัวบ่งชี้ทักษะ 1. นักเรียนทาเอกสารแนะแนวที่ 1.1.1 แล้ว การให้คา - สามารถเรียบเรียงสมบัติ ช่วยกันเฉลยและตรวจสอบความถูกต้อง พร้อม จากัดความ เฉพาะของสิ่งนั้นเป็น ทั้งสรุปความหมายของโดเมนและเรนจ์ของ ข้อความได้กะทัดรัด ชัดเจน ฟังก์ชัน สละสลวย 2. นักเรียนทาเอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.2 การให้คา - สามารถเรียบเรียงสมบัติ โดยครูใช้การถาม- ตอบ พร้อมเฉลย และ จากัดความ เฉพาะของสิ่งนั้นเป็น นักเรียนทุกคนร่วมกันสรุปความหมายของลาดับ ข้อความได้กะทัดรัด ชัดเจน ซึ่งครูคอยแนะแนวทางจนกว่านักเรียนจะเข้าใจ สละสลวย และสรุปได้ ดังนี้ “ ลาดับ คือฟังก์ชันที่มี โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือ ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก” 3. นักเรียนทาเอกสารฝึกทักษะที่ 1.1.1 เสร็จ การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้ แล้วครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความ ไปใช้ มาแล้วในสถานการณ์ที่ ถูกต้อง ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้ 4. นักเรียนทาเอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.3 โดย การให้คา - สามารถเรียบเรียงสมบัติ ครูใช้การถาม- ตอบ พร้อมเฉลยคาตอบที่ถูกต้อง จากัดความ เฉพาะของสิ่งนั้นเป็น หลังจากนั้นให้นักเรียนพิจารณาลักษณะร่วม ข้อความได้กะทัดรัด ชัดเจน สังเกตรูปทั่วไป เพื่อนาไปสู่ข้อสรุปความหมาย สละสลวย ของลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์ โดยครูคอย แนะนาจนกว่านักเรียนเข้าใจและสรุปได้ ดังนี้ “ ลาดับจากัด คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของ จานวนเต็มบวก n ตัวแรก และลาดับอนันต์ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็ม
  • 4. บวก ” 5. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.1.2 เสร็จแล้ว การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ไปใช้ มาแล้วในสถานการณ์ที่ ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้ 6. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 1 พร้อมทั้งศึกษา การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล ตัวอย่าง แนวคิดทุกขั้นตอนให้ละเอียดจนเข้าใจ ความเห็น ประกอบความคิดเห็นที่ให้ หากมีข้อสงสัยให้ถามครูผู้สอน แล้วร่วมกันสรุป วิธีเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ 7. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.1.3 เพือ ่ การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้ ตรวจสอบ ความเข้าใจการเขียนลาดับในรูปแจง ไปใช้ มาแล้วในสถานการณ์ที่ พจน์ เสร็จแล้วครูสุ่มเรียกตัวแทนนักเรียน ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้ ออกมาเฉลยบนกระดานดา และให้นักเรียน การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล ร่วมกันอภิปรายคาตอบที่ได้ว่าถูกต้องหรือไม่ ความเห็น ประกอบความคิดเห็นที่ให้ อย่างไร 8. นักเรียนศึกษาใบความรู้ที่ 2 โดยศึกษา การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล ตัวอย่าง แนวคิดทุกขั้นตอนให้ละเอียดจนเข้าใจ ความเห็น ประกอบความคิดเห็นที่ให้ หากมีข้อสงสัยให้ถามครูผู้สอน แล้วร่วมกันสรุป การหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัด โดยครูคอย แนะแนวทางจนกว่านักเรียนจะเข้าใจ 9. นักเรียนทาแบบฝึกทักษะที่ 1.2 เสร็จแล้วครู การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้ สุ่มเรียกตัวแทนนักเรียนออกมาเฉลยบนกระดาน ไปใช้ มาแล้วในสถานการณ์ที่ ดา และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบที่ได้ ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้ ว่าถูกต้องหรือไม่อย่างไร การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล ความเห็น ประกอบความคิดเห็นที่ให้ 10. ครูเขียนลาดับอนันต์ แล้วให้นักเรียนช่วยกัน การสรุปลง - สามารถอธิบายเหตุผล หาพจน์ทั่วไป (an) เช่น 3, 5, 7, 9, . . . ซึ่ง ความเห็น ประกอบความคิดเห็นที่ให้ คาตอบของนักเรียนอาจมีมากกว่าหนึ่งคาตอบ 11. นักเรียนทาแบบฝึกหัดที่ 1.1.1 และ 1.1.2 การนาความรู้ - สามารถใช้ความรู้ที่ได้เรียนรู้ ในหนังสือเรียน เพื่อเสริมทักษะและความ ไปใช้ มาแล้วในสถานการณ์ที่ แม่นยาในการเรียนรู้ ใกล้เคียงกับที่ได้เคยเรียนรู้
  • 5. 8.3 ขั้นสรุปผลการเรียนรู้ 1. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปการหาพจน์ทั่วไปของลาดับ พร้อมทั้งอภิปรายในประเด็น การหาพจน์ทั่วไปของลาดับอนันต์ถ้ากาหนดเพียงพจน์แรก ๆ จานวนหนึ่ง (กี่พจน์ก็ตาม) พจน์ ทั่วไปจะมีได้หลายคาตอบ ยกเว้นจะทราบชนิดของลาดับนั้น 2. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ลาดับ เพื่อประเมินความก้าวหน้าของ นักเรียน 9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อน/หลังเรียน เรื่อง ลาดับ 2. ใบความรู้ที่ 1 และ 2 3. เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.1-1.1.3 4. แบบฝึกทักษะที่ 1.1.1-1.1.3 และ 1.2 5. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 เล่ม 1 6. ห้องสมุดโรงเรียน / ห้องสมุดกล่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 10. การวัดและประเมินผล 10.1 วิธีวัดและประเมินผล 10.1.1 สังเกตจากการตอบคาถามของนักเรียน การสรุป การอภิปราย 10.1.2 การตรวจแบบฝึกหัด 10.2 เครื่องมือวัดและประเมินผล 10.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม 10.2.2 แบบทดสอบ 10.3 ประเด็นที่วัดและประเมินผล 10.3.1 นักเรียนสามารถเขียนลาดับในรูปแจกแจงพจน์ได้ 10.3.2 นักเรียนสามารถหาพจน์ทั่วไปของลาดับจากัดได้ 10.4 เกณฑ์การตัดสินผลการวัดและการประเมิน 10.4.1 การตอบคาถาม - ตอบคาถามได้ถูกต้อง ให้ผ่าน - ตอบคาถามไม่ถูกต้องชัดเจน ไม่ผ่าน 10.4.2 การสรุป/ การอภิปราย - สรุป/ อภิปรายได้ตรงประเด็นอย่างมีเหตุผล ให้ผ่าน - สรุป/ อภิปรายไม่ตรงประเด็น ไม่มีเหตุผล ไม่ผ่าน 10.4.3 แบบฝึกหัด ดี หมายถึง นักเรียนทาได้ถูกต้อง 76-100% ของจานวนแบบฝึกหัดที่ให้ทา
  • 6. พอใช้ หมายถึง นักเรียนทาได้ถูกต้อง 50-75% ของจานวนแบบฝึกหัดที่ให้ทา ควรปรับปรุง หมายถึง นักเรียนทาได้ถูกต้อง 0-49%ของจานวนแบบฝึกหัดที่ให้ทา 10.4.4 แบบทดสอบ ได้ 5-10 คะแนน ผ่านเกณฑ์ ได้ ต่ากว่า 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์
  • 7. เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.1 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ฟังก์ชัน โดเมนของฟังก์ชัน เรนจ์ของฟังก์ชัน 1 f1 = {(3, 1), (4, 2), (5, 3)} {3, 4, 5} {1, 2, 3} 2 f2 = {(1, x), (2, y), (3, z)} {1, 2, 3} {x, y, z} 3 f3 = {(1, 2), (2, 4), (3, 5), . . . , (8, 10)} 4 f4 = {(1, 6), (2, 7), (3, 8), . . . } 5 f5 = {(1, a), (2, b), (3, c), . . . } 6 f6 = {(2, 3), (4, 6), (8, 12)} 7 f7 = {(5, 7), (7, 9), (9, 11), . . ., (15, 17)} 8 f8 = {(1, 3), (2, 4), (3, 5), . . . } สรุป โดเมนของฟังก์ชัน คือ ……………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. เรนจ์ของฟังก์ชัน คือ ………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………….
  • 8. เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.2 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ลาดับ ข้อที่ ฟังก์ชัน โดเมนของฟังก์ชัน เป็น ไม่เป็น 1 f1 = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5)} {1, 2, 3, 4}  - 2 f2 = {(2, 4), (4, 6), (6, 8), . . . } {2, 4, 6, . . . } -  3 f3 = {(1, 5), (2, 7), (3, 12), (4, 17), (5, 22)} 4 f4 = {(1, 5), (2, 7), (3, 9)} 5 f5 = {(1, 2), (2, 4), (3, 8), (4, 16)} 6 f6 = {(2, 1), (4, 2), (8, 3), (16, 4)} 7 f7 = {(1, 1), (2, -1), (3, 1), (4, -1)} 8 f8 = {( 1 , 1), ( 2 , 3), ( 4 , 3)} 3 2 3 9 f9 = {(x, y) | y = 3x + 1 , x I- } 10 f10 = {(a, b) | b = 2a + 2 , a I+} สรุป ลาดับ คือ ……………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 9. เอกสารแนะแนวทางที่ 1.1.3 คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ฟังก์ชัน โดเมนของฟังก์ชัน ลาดับ ลาดับ จากัด อนันต์ 1 f1 = {(1, -1), (2, 5), (3, 11), (4, 17)} {1, 2, 3, 4}  - 2 f2 = {(1, 0), (2, 1), (3, 2), . . . } {1, 2, 3, . . . } -  3 f3 = {(1, 1), (2, 4), (3, 9), (4, 16), (5, 25)} 4 f4 = {(1, 1), (2, 1 ), (3, 1 9), (4, 1 )} 2 3 4 5 f5 = {(1, 4), (2, 6), (3, 8), . . . , (7, 16)} 6 f6 = {(1, 3), (2, 12), (3, 27), (4, 48), . . . } 7 f7 = {(x, y) | y = 4x เมื่อ x = 1, 2, 3, . . ., 10} 8 f8 = {(x, y) | y = x2 + 2 เมื่อ x = 1, 2, 3, 4} 9 f9 = {(x, y) | y = x + 2 เมื่อ x I+ } 10 f10 = {(x, y) | y = x2 - 1 เมื่อ x I+} สรุป ลาดับจากัด คือ ……………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ลาดับอนันต์ คือ …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
  • 10. แบบฝึกทักษะที่ 1.1.1 จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายของลาดับได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้ว่าเป็นหรือไม่เป็นลาดับ แล้วเติมคาตอบ ลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ฟังก์ชัน คาตอบ 1 f1 = {(1, 4), (2, 8), (3, 12), . . . } 2 f2 = {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 5), (5, 6)} 3 f3 = {(2, 1), (3, 2), (4, 3)} 4 f4 = {(1, 3), (2, 4), (3, 5), (4, 6), . . . , (7, 9)} 5 f5 = {(3, 4), (4, 5), (5, 6), (6, 7), (7, 8)} 6 f6 = {(1, 5), (2, 8), (3, 11), (4, 14)} 7 f7 = {(x, y) | y = 2x – 3 เมื่อ x = 1, 2, 3 } 8 f8 = {(x, y) | y = 3x2 – 1 เมื่อ x  I+ } 9 f9 = {(a, b) | b = 4a2 – 5 เมื่อ a = 1, 2, 3, 4 } 10 f10 = {(x, y) | y = x3 เมื่อ x = 1, 2, 3, . . . }
  • 11. แบบฝึกทักษะที่ 1.1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ บอกความหมายของลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์ได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนพิจารณาลาดับแต่ละข้อต่อไปนี้ว่าเป็นลาดับจากัดหรือลาดับอนันต์แล้วเติม คาตอบลงในช่องว่างให้ถูกต้องสมบูรณ์ ข้อที่ ลาดับที่กาหนดให้ คาตอบ 1 4, 7, 10, 13, 16, . . . 2 2, 5, 8, 11, 14 3 1, 4, 9, 16, 25, . . . 4 6, 10, 14, 18, 22, 26 5 2, 8, 14, 20, 26, 32, 38 6 an = 8n เมื่อ n = 1, 2, 3, 4 7 an = 3n + 7 เมื่อ n  I+ 8 an = 2n2 – 1 เมื่อ n = 1, 2, 3 9 an = n3 เมื่อ n  I+ 10 an = 2n – 10 เมื่อ n = 1, 2, 3, . . .
  • 12. ใบความรู้ที่ 1 1. ลาดับ 1.1 ความหมายของลาดับ ลาดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นจานวนเต็มบวก n ตัวแรก หรือลาดับ คือฟังก์ชันที่มี โดเมนเป็นจานวนเต็มบวก ลาดับจากัด คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก n ตัวแรก ลาดับอนันต์ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจานวนเต็มบวก การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ พิจารณา f(n) = n + 3 เมื่อ n  {1, 2, 3, 4} ถ้า n = 1 จะได้ f(1) = 1 + 3 = 4 n = 2 จะได้ f(2) = 2 + 3 = 5 n = 3 จะได้ f(3) = 3 + 3 = 6 n = 4 จะได้ f(4) = 4 + 3 = 7 เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเรียงกันจะได้ f(1), f(2), f(3), f(4) ซึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งของ ลาดับ จะเห็นว่า โดเมน คือ {1, 2, 3, 4} เรนจ์ คือ {4, 5, 6, 7} เรียกลาดับข้างต้นนี้ว่า ลาดับจากัด และเรียก f(1) ว่าพจน์ที่ 1 ของลาดับ แทนด้วย a1 f(2) ว่าพจน์ที่ 2 ของลาดับ แทนด้วย a2 f(3) ว่าพจน์ที่ 3 ของลาดับ แทนด้วย a3 f(4) ว่าพจน์ที่ 4 ของลาดับ แทนด้วย a4 แต่ f(1) = 4 f(2) = 5 f(3) = 6 f(4) = 7 ดังนั้น 4, 5, 6, 7 จึงเรียกว่า ลาดับเช่นเดียวกัน ซึ่งการเรียงลาดับในลักษณะนี้เรียกว่า การเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ และเรียก 4 ว่า พจน์ที่ 1 ของลาดับ (a1) 5 ว่า พจน์ที่ 2 ของลาดับ (a2)
  • 13. 6 ว่า พจน์ที่ 3 ของลาดับ (a3) 7 ว่า พจน์ที่ 4 ของลาดับ (a4) ตัวอย่างที่ 1 กาหนด f(n) = 2n – 1 เมื่อ n  {1, 2, 3, 4, 5} จงเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ วิธีทา จาก f(n) = 2n – 1 f(1) = 2(1) – 1 = 1 f(2) = 2(2) – 1 = 3 f(3) = 2(3) – 1 = 5 f(4) = 2(4) – 1 = 7 f(5) = 2(5) – 1 = 9  ลาดับในรูปแจงพจน์ คือ 1, 3, 5, 7, 9 ตัวอย่างที่ 2 กาหนด an = 10 – 2n เมื่อ n  {1, 2, 3, . . ., 9} จงเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ วิธีทา จาก an = 10 – 2n a1 = 10 – 2(1) = 8 a2 = 10 – 2(2) = 6 a3 = 10 – 2(3) = 4 . . . . . . . . . a9 = 10 – 2(9) = -8  ลาดับในรูปแจงพจน์ คือ 8, 6, 4, . . . , -8
  • 14. แบบฝึกทักษะที่ 1.1.3 จุดประสงค์การเรียนรู้ เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนลาดับในรูปแจงพจน์ โดยการเติมคาตอบลงในช่องว่างแต่ละข้อ ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์ 1. an = 2n – 1 3. an = 1  2n 1 - 3n a1 = 2(1) – 1 = 1 a1 = …………………………….. a2 = 2(2) – 1 = 3 a2 = …………………………….. a3 = …………………………….. a3 = …………………………….. a4 = …………………………….. a4 = …………………………….. a5 = …………………………….. เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ …………………………………………… ………………………………………….. 2. an = 2n2 – 2 4. an = 2n2 a1 = 2(12) – 2 = ……………… a1 = …………………………….. a2 = …………………………….. a2 = …………………………….. a3 = …………………………….. a3 = …………………………….. .. a4 = …………………………….. . เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ a10 = …………………………….. …………………………………………… เขียนลาดับในรูปแจงพจน์ จะได้ลาดับ คือ ……………………………………………
  • 15. ใบความรู้ที่ 2 1.2 การหาพจน์ทั่วไปของลาดับ พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดหรือพจน์ที่ n เขียนแทนด้วย an เช่น an = 4n + 2 เมื่อ n = 1, 2, 3 ซึ่งในการหาพจน์ทั่วไปของลาดับ โดยทั่วไปใช้การสังเกตความสัมพันธ์ของพจน์ต่างๆ และจะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง an กับ n แล้วจึงสรุปเป็นกฎเกณฑ์ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 จงหาพจน์ถัดไปสองพจน์ของลาดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1 ) 1, 3, 7, 13, … จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้น 2, 4 และ 6 ตามลาดับ ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้จะเพิ่มขึ้น 8 และ 10 ตามลาดับ จะได้ 21 และ 31 เป็นพจน์ถัดไปของลาดับที่กาหนดให้ 1 3 7 13 21 31 +2 +4 +6 +8 +10 2) 100, 99, 97, 94, … จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะลดลง -1, -2 และ -3 ตามลาดับ ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้จะลดลง -4 และ -5 ตามลาดับ จะได้ 90 และ 85 เป็นพจน์ถัดไปของลาดับที่กาหนดให้ 100 99 97 94 90 85 -1 -2 -3 -4 -5 3) 16, 8, 4, 2, … 1 จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเป็น ของพจน์ที่อยู่ข้างหน้า 2 1 ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้คือ 1 และ ตามลาดับ 2 1 16 8 4 2 1 2 2 2 2 2 2 4) 2, 20, 200, 2000, … จะเห็นว่า พจน์ที่อยู่ถัดไปจะเพิ่มขึ้นเป็น 10 เท่าของพจน์ที่อยู่ข้างหน้า ดังนั้นพจน์สองพจน์ถัดไปของลาดับนี้คือ 20000 และ 200000 ตามลาดับ 2 20 200 2000 20000 200000 x 10 x 10 x 10 x 10 x 10
  • 16. ตัวอย่างที่ 2 จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 3, 5, 7, 9, 11 วิธีทา จากลาดับจากัด 3, 5, 7, 9, 11 จะได้ a1 = 3 = (2  1) + 1 a2 = 5 = (2  2) + 1 a3 = 7 = (2  3) + 1 a4 = 9 = (2  4) + 1 a5 = 11 = (2  5) + 1  พจน์ทั่วไปของลาดับนี้คือ 2n + 1 เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5 ตัวอย่างที่ 3 จงหาพจน์ทั่วไปของลาดับ 15, 18, 21, 24, 27, 30 วิธีทา จากลาดับจากัด 15, 18, 21, 24, 27, 30 จะได้ a1 = 15 = 3 + 12 = 3(1) + 12 a2 = 18 = 6 + 12 = 3(2) + 12 a3 = 21 = 9 + 12 = 3(3) + 12 a4 = 24 = 12 + 12 = 3(4) + 12 a5 = 27 = 15 + 12 = 3(5) + 12 a6 = 30 = 18 + 12 = 3(6) + 12  พจน์ทั่วไปของลาดับจากัดนี้คือ 3n + 12 เมื่อ n = 1, 2, 3, 4, 5, 6
  • 17. แบบฝึกทักษะที่ 1.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ หาพจน์ทั่วไปของลาดับได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนหาพจน์ถัดไปสองพจน์ของลาดับที่กาหนดให้ต่อไปนี้ (1) 2 , 6, 10, 14, ………., ………. (2) 200 , 195, 190, 185, ………., ………. (3) 1 , 4, 16, 64, ………., ………. (4) 729 , 243, 81, 27, ………., ………. (5) 2 , 7, 17, 32, ………., ………. (6) 5 , 4, 1, -4, ………., ………. (7) 729 , 243, 81, 27, ………., ………. (8) 100 , 98, 94, 88, ………., ………. คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนลาดับที่กาหนดให้แต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปพจน์ทั่วไปหรือพจน์ที่ n (1) 4, 7, 10, 13, … (2) 1, 1 , 1 1 , , … 2 3 4 a1 = 4 = (3 x 1) + 1 a1 = 1 a 2 = 7 = (3 x 2) + 1 1 a2 = a 3 = 10 = (3 x 3) + 1 2 a 4 = 13 = (3 x 2) + 1 1 a3 = 3 a n = ………………………………………… 1 a4 = 4 = ………………………………………… an (3) -2, 3, 8, 13, … (4) 2, 5, 8, 11, … a1 = -2 = 5 – 7 = 5(1) – 7 a1 = 2 = 3 – 1 = …………………… a 2 = 3 = 10 – 7 = 5(2) – 7 a 2 = 5 = 6 – 1 = …………………… a 3 = 8 = 15 – 7 = …………………… a 3 = 8 = 9 – 1 = …………………… a 4 = 13 = 20 – 7 = …………………… a 4 = 11 = 12 – 1 = …………………… a n = ………………………………………… a n = …………………………………………
  • 18. (5) 7, 9, 11, 13, … (6) sin , sin 2 , sin 3 , sin 4 ,... … a1 = 7 = 2 + 5 = …………………… a1 = ………………………………………… a 2 = 9 = 4 + 5 = …………………… a 2 = ………………………………………… a 3 = 11 = 6 + 5 = …………………… a 3 = ………………………………………… a 4 = 13 = 8 + 5 = …………………… a 4 = ………………………………………… a n = ………………………………………… a n = ………………………………………… (7) 16, 8, 4, 2, ... (8) 3, 5, 9, 17, .... a1 = ………………………………………… a1 = ………………………………………… a 2 = ………………………………………… a 2 = ………………………………………… a 3 = ………………………………………… a 3 = ………………………………………… a 4 = ………………………………………… a 4 = ………………………………………… a n = ………………………………………… a n = ………………………………………… 1 2 3 4 3 2 5 (9) , , , ,... (10) 0, , , ,... 2 3 4 5 2 3 4 a1 = ………………………………………… a1 = ………………………………………… a2 = ………………………………………… a2 = ………………………………………… a3 = ………………………………………… a3 = ………………………………………… a4 = ………………………………………… a4 = ………………………………………… an = ………………………………………… an = …………………………………………