SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู 
                                                 เรื่อง  “ระบบจํานวนจริง” 
                                                      จํานวน  16  ชั่วโมง 
                                             ตารางแจกแจงหนวยยอยการเรียนรู 
                                            คณิตศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา ค31101 
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร                 คณิตศาสตร พืนฐาน  รหัสวิชา ค31101 
                                                                  ้                               ชั้น  มัธยมศึกษาปที่ 4 
จํานวนหนวยการเรียนรู  1  หนวย                           ภาคเรียนที่ 1 
หนวยการ                    มาตรฐาน  ค 1.1 และ ค6.1                            สาระการเรียนรู (Contents)                จํานวน 
เรียนรูที่…       ตัวชี้วัด ม.4-6/1-3  และ ตัวชี้วด ม.4-6/1-6 
                                                       ั                  ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู  ชั่วโมง 
     1        · แสดงความสัมพันธของจํานวนตางๆในระบบจํานวนจริงได  1.  จํานวนจริง                                           16 
             · เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก  การลบ          1.1 ระบบจํานวนจริง                               3 
             การคูณ  และการหารจํานวนจริง                                  1.2 สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการ              3 
             · เขาใจสมบัติของจํานวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก  การคูณ            บวก การลบ  การคูณ และการหาร 
             การเทากันและการไมเทากันและนําไปใชได                     1.3 สมบัติการเทากันและการไมเทากัน             2 
             · แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได             1.4 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว                    2 
             · มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและ        1.5 อสมการตัวแปรเดียว                            3 
             หาคาสัมบูรณของจํานวนจริงได                                1.6 คาสัมบูรณ                                  2 
             · มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยก        1.7 ประเมินผล                                    1 
             กําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและจํานวนจริงในรูป 
             กรณฑ 

    2        ·ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหาได 
             ·ใชความรู  ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร และ 
             เทคโนโลยีในการแกปญหาสถานการณตางๆไดอยาง 
             เหมาะสม 
             ·สามารถแสดงเหตุผลโดยการอางอิงความรู ขอมูลหรือ 
             ขอเท็จจริงหรือการสรางแผนภาพ 
             ·ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อ 
             ความหมายและการนําเสนอไดอยางถูกตองชัดเจนและรัดกุม 
             ·เชื่อมโยงความรูเนื้อหาตางๆในคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับ 
             ศาสตรอื่นๆ 
             ·นําความรูและทักษะที่ไดจากการเรียนคณิตศาสตรไป 
             ประยุกตในการเรียนรูสิ่งตางและในการดํารงชีวิต 
             ·มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน
มาตรฐาน ค 1.1 
       เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง 

        ตัวชี้วัด ม.4-6/1-3 
        1.  แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆในระบบจํานวนจริง 
        2.  มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ คาสัมบูรณของจํานวนจริง 
        3.  มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กาลังเปนจํานวนตรรกยะและ 
                                                                                 ํ
   จํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ 

มาตรฐานการเรียนรู 

       ค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร 
และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมี 
ความคิดริเริ่มสรางสรรค 

        ตัวชี้วัด ม.4-6/1-6 
        1.  ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา 
        2.  ใชความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ได 
            อยางเหมาะสม 
        3.  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม 
        4.  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนําเสนอไดอยาง 
            ถูกตองและชัดเจน 
        5.  เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและนําความรู  หลักการกระบวนการทางคณิตศาสตรไป 
            เชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ 
        6.  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
1.  มาตรฐานการเรียนรู 
    1.1.ดานความรู  (K) 
      1.1.1.แสดงความสัมพันธของจํานวนตางๆในระบบจํานวนจริงได 
      1.1.2.เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวน 
              จริง 
      1.1.3.เขาใจสมบัติของจํานวนจริงทีเ่ กี่ยวกับการบวก การคูณ การเทากันและการไมเทากัน 
              และนําไปใชได 
      1.1.4.แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได 
      1.1.5.  มีความคิดรวมยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสัมบูรณของจํานวนจริง 
              ได 
    1.2.ดานทักษะกระบวนการ  (P) 
      1.2.1.มีความสามารถในการแกปญหา 
      1.2.2.มีความสามารถในการใหเหตุผล 
      1.2.3.มีความสามารถในการสื่อสารและนําเสนอ 
    1.3.ดานคุณลักษณะ (A) 
      1.3.1.มีความรวมมือและรับผิดชอบ 
      1.3.2.มีความสนใจและกระตือรือรน  กลาคิดและแสดงความคิดเห็น
สาระการเรียนรู 
      จํานวนจริง ( Real   Number ) 
            แผนภูมิแสดงความสัมพันธของจํานวนชนิดตางๆ 
                                   จํานวนเชิงซอน 

                   จํานวนจริง                                  จํานวนเชิงซอนที่ไมใชจํานวนจริง 

     จํานวนอตรรกยะ                     จํานวนตรรกยะ 


                      จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม                          จํานวนเต็ม 



                                       จํานวนเต็มลบ               ศูนย                  จํานวนเต็มบวก 
                                                                                         หรือจํานวนนับ




จํานวนตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่สามารถเขียนอยูในรูปของเศษสวนได โดยที่สวนไมเปนศูนย 
                                                                       

                                      a 
                         Q = { x / x = , 
                                      b 
                                             เมื่อ a , b  Π I และ b  ¹ 0 } 

      จํานวนอตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่ไมสามารถเขียนอยูในรูปของเศษสวนได 

             ตัวอยาง                   3 
                                        4 
                                                   เปนจํานวนตรรกยะ 
                                 -15              เปนจํานวนตรรกยะ 
                                  3               เปนจํานวนอตรรกยะ 
4 +  25           เปนจํานวน ตรรกยะ 
                         1.732…              เปนจํานวนอตรรกยะ 
                         1.3356             เปนจํานวน ตรรกยะ 
        การเทากันในระบบจํานวนจริง 
        ขอตกลงพื้นฐานที่ไมพิสูจน  จะมีสมบัตดังนี้   ให  a ,  b และ  c เปนจํานวนจริงใดๆ 
                                                    ิ
        1.  สมบัติการสะทอน  a  =  a 
            จํานวนจริงใดๆยอมเทากับจํานวนจริงนันเสมอ   ้
            เชน  5  =  5  เปนตน 
        2.  สมบัติการสมมาตร  ถา  a  =  b แลว  b  =  a 
                 เชน    ถา  2+3  =  5  แลว  5 = 2+3 
        3.  สมบัติการถายทอด  ถา  a = b และ  b = c  แลว  a = c 
                 เชน  ถา  6+5  =  11 และ  11  =  11  ´  1  แลว  6+5  =  11  ´  1 
        4.  สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา  a  =  b  แลว  a+c  =  b+c 
                 เชน  ถา  x =  6  แลว  x + 3  =  6+3 
        5.  สมบัติการคูณดวยจํานวนทีเ่ ทากัน  ถา  a  =  b  แลว  ac  =  bc 
                 เชน       ถา  x  =  5  แลว  4x  = 4 ´ 5 = 20 

การบวกและการคูณในระบบจํานวนจริง 

นิยาม  ในระบบจํานวนจริง เรียกจํานวนจริงที่บวกกับจํานวนจริงจํานวนใดก็ตามแลวได 
        จํานวนจริงจํานวนนั้นวา  “ เอกลักษณการบวก” 
       จะได เอกลักษณการบวกคือ  ศูนย  ( 0) เพราะ  0 + a = a = a + 0  เมื่อ a  เปนจํานวนจริงใดๆ 

นิยาม  ในระบบจํานวนจริง อินเวอรสการบวกของจํานวนจริง  a ( ใชแทนดวยสัญลักษณ  - a ) 
       หมายถึง 
       จํานวนจริงที่บวกกับ  a  แลวได เอกลักษณการบวก คือ 0 กลาวคือ  a + ( – a)  =  0  =  ( – a) + a 

                เชน     เอกลักษณการบวกของ  2  คือ  - 2 
                                 เพราะ  2 + ( - 2 ) =  0  หรือ  ( - 2 ) + 2  =  0 
                                                   5 
                      เอกลักษณการบวกของ                คือ  -  5
                                                   6            6 
                                           5 
                                  เพราะ       + ( -  5 ) =  0  หรือ  ( -  5    ) +  5  =  0    เปนตน
                                           6         6                    6        6 
สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก 

   กําหนดให  a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ 
1.  สมบัติการปดของการบวก 
      ถา  aΠR  และ  bΠR  แลว  a + b Î R 
      เชน      ถา  5 Î R และ  2 Î R แลว                  5 + 2  R
                                                                 Î
2.  สมบัติการสลับที่ของการบวก 
       ในการบวกจํานวนจริงสองจํานวนเมื่อสลับที่จํานวนทั้งสองนั้นแลว ผลบวกจะ 
       เทาเดิม นั่นคือ 
                a + b = b + a 
       เชน  6 + (-8) =  ( -8 ) + 6 = -2 
3.  สมบัติการเปลี่ยนกลุมของการบวก 
                       
       ในการบวกจํานวนจริงสามจํานวน จะบวกสองจํานวนหลังกอนหรือสองจํานวน 
       แรกกอน ผลบวกจะเทาเดิม นั่นคือ 
              a + (b + c) = (a + b) + c 
       เชน  2 + (3 + 4) =  (2 + 3) + 4 
               2 + 7  =    5 + 4 
                 9           =       9   เปนตน 
4.  สมบัติการมีเอกลักษณ 
       ในระบบจํานวนจริงมี  0 (ศูนย) เปนเอกลักษณการบวก นันคือ 
                                                           ่
                 a + 0  = a =  0 + a 
       เชน  (-15) + 0  =  -15  =  0 + ( -15)  เปนตน 
5.  สมบัติการมีอินเวอรสการบวก 
       ในระบบจํานวนจริง ถา a  เปนจํานวนจริงจะมี จํานวนจริง –a  ซึ่ง 
                           a + ( -a)  =  0  = ( -a ) + a 
       เชน     อินเวอรสการบวกของ  12  คือ  - 12 เพราะ 
                  12 + ( -12)  =  0  =  ( -12) + 12 
                                          3 
             อินเวอรสการบวกของ                 คือ  - 3  เพราะ 
                                          5            5 
               3 
                    +  (- 3 )  =  (- 3 )  +    3 
                                                    =  0           เปนตน
               5         5          5          5 
สมบัติจํานวนจริงเกี่ยวกับการคูณ 

                          ให  a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ 

บทนิยาม  ในระบบจํานวนจริง เรียกจํานวนจริงที่ไมเปนศูนยซึ่งคูณกับจํานวนจริงจํานวนใดก็ตาม 
                    ไดผลลัพธเปนจํานวนจริงจํานวนนันวา เอกลักษณการคูณ 
                                                    ้



                ในระบบจํานวนจริงมี  1  เปนเอกลักษณของการคูณ เพราะวา 
                             a  ´  1  =  a  =  1  ´  a 
                เชน        56  ´  1  =  56  =  1  ´  56     เปนตน 



บทนิยาม  ในระบบจํานวนจริง อินเวอรสการคูณของจํานวนจริง  a  ¹  0 ( ใชแทนดวยสัญลักษณ a -1  ) 
                หมายถึง จํานวนทีคูณกันกับ  a แลวได 1 นั่นคือ 
                                    ่
                       a  ´  a -1  =  1  =   a -1  ´ a 



       เชน     อินเวอรสการคูณของ  3  คือ  3 -1  เพราะ 
                                3  ´  3 -1  =  1  หรือ  3 -1 ´ 3  =  1    เปนตน
สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการคูณ 

                       การคูณจํานวนจริงมีสมบัติปดของการคูณ   สมบัติการสลับที่ของการคูณ สมบัติการ 
เปลี่ยนกลุมของการคูณ การมีเอกลักษณของการคูณ และการมีอินเวอรสของการคูณ ในทํานองเดียวกับสมบัติ 
เกี่ยวกับการบวก นอกจากนันเมื่อพิจารณาทั้งการบวกและการคูณยังมีสมบัติอีกขอหนึ่ง คือ 
                         ้
                สมบัติการแจกแจง กลาวคือ 
                                a (b + c)  =  (ab) + (ac) 
                เชน             2(3 + 4)  =  (2 ´ 3) + (2 ´ 4) 
                                   2 ´ 7    =   6 + 8 
                                     14     =    14              เปนตน 
               หมายเหตุ  ในระบบจํานวนจริงจะกลาวถึงสมบัติของการบวกและการคูณเทานั้น เพราะ การ 
ลบจะหมายถึงการบวกและการหารจะหมายถึงการคูณ กลาวคือ 
                          a  -  b  หมายถึง  a + ( -a)  และ 
                                   a 
                                        หมายถึง  a  ´  1 
                                   b                      b 
               เชน            5 – 8  หมายถึง  5 + ( -8) 
                                   7 
                                        หมายถึง  7  ´  1 
                                   8                      8 


               สรุป  สมบัติของระบบจํานวนจริง 
              สมบัติ                    การบวก                                             การคูณ 
            ปด              1.  a + b Π R                                 6.       ab  Π R 
        การสลับที่           2.  a + b = b + a                              7.        ab   =   ba 
      การเปลี่ยนกลุม        3.  (a + b) + c = a + (b + c)                  8.         ( ab )c  =  a ( bc ) 
      การมีเอกลักษณ         4.  มีจํานวนจริง 0 ซึ่ง                        9.  มีจํานวนจริง  1 , 1  ¹ 0 ซึ่ง 
                                 0 + a = a = a + 0                                        1a  = a 
       การมีอินเวอรส        5.  สําหรับ  a  จะมีจํานวนจริง –a              10.  สําหรับ  a  ที่ไมเปน  0  จะมี 
                                  โดยที่                                    จํานวนจริง  a -1  โดยที่ 
                                 (-a) + a =  0  = a + ( -a)                                ( a -1 )a  =  1  =  a( a -1 ) 
                             อาน  -a  วาอินเวอรสการบวกของ a              อาน  a -1  วาอินเวอรสการคูณของ  a 

        การแจกแจง                                  11.         a (b + c)  =  (ab) + (ac)
นอกจากสมบัติทั้ง  11  ประการนี้แลว ระบบจํานวนจริงจะมีระบบยอย  R +  ซึ่ง 
                   R +  Ì  R  มีสมบัติเพิ่มเติมอีก 3 ประการ คือ 
          12.  0 Ï  R +  และถา  a  เปนจํานวนจริงที่  a  ¹  0  แลวตองเปนไปประการใดประการหนึ่ง 
เทานั้นคือ 
                           ก.  a Î  R +  หรือ 
                           ข.  –a Π R +  ,  a <  0 ( a เปนจํานวนจริงลบ) 
          13.  ถา  a , b  Π R +  แลว  a + b Π R + 
          14.  ถา  a , b  Π R +  แลว  ab  Π R + 
          นอกจากนี้  ระบบจํานวนจริงยังมีสมบัติสําคัญอีกประการหนึ่งคือ  สมบัติความบริบูรณ ซึ่งจะ 
กลาวถึงภายหลัง สมบัติทั้ง 15 ประการนี้เปนสมบัติพื้นฐานเฉพาะของระบบจํานวนจริง ทําใหระบบ 
จํานวนจริงมีโครงสรางเฉพาะตัวที่มีขอแตกตางจากระบบจํานวนอื่นๆ 


        จากสมบัติทั้งหมดใชในการพิสูจนทฤษฎีตอไปนี้ 
                                             

        ทฤษฎีบทที่ 1 (กฎการตัดออกสําหรับการบวก) เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ 
              ถา  a + c  =  b + c  แลว  a = b 
              ถา  a + b  =  a + c  แลว  b = c 

        ทฤษฎีบทที่ 2 (กฎการตัดออกสําหรับการคูณ) เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ 
              ถา  ac = bc  และ  c  ¹  0  แลว  a = b 
              ถา  ab = ac  และ  a  ¹  0  แลว  b = c 

        ทฤษฎีบทที่ 3  เมื่อ  a  เปนจํานวนจริงใดๆ 
                       a(0)   =  0 
                       0(a)   =   0 

        ทฤษฎีบทที่ 4  ถา  a  เปนจํานวนจริงใดๆ 
                      ( - 1 )a  =  - a
ทฤษฎีบทที่ 5  เมื่อ  a  และ  b  เปนจํานวนจริงใดๆ 
              ถา  ab  =  0  แลว  a  =  0 หรือ  b  =  0 

ทฤษฎีบทที่ 6  เมือ  a  และ  b  เปนจํานวนจริงใดๆ 
                 ่
              1.  a(- b)  =  - ab 
              2.  (-a)b     =  -  ab 
              3.  (- a)( - b)  =    ab
การบวกและการลบจํานวนจริง 

        นิยาม  เมื่อ  a  และ b เปนจํานวนจริงใดๆ  a – b  =  a + (-b) 
        นิยาม  เมื่อ  a  และ  b เปนจํานวนจริงใดๆ  b  ¹  0  ,  a  =  a ( b  -1
                                                                                 ) 
                                                                       b 


ทฤษฎีบทที่ 7  เมือ  a , b  และ c  เปนจํานวนจริงใดๆ 
                 ่
              1.  a(b – c)  =  ab  - ac 
              2.  (a – b)c  =  ac  - bc 
              3.  ( - a)(b – c)  =  - ab  +  ac 

ทฤษฎีบทที่ 8  ถา  a  ¹  0  จะได  a -1    ¹  0 


                       a
                     (  ) 
ทฤษฎีบทที่ 9     1.  b  =  a                เมื่อ  b , c  ¹  0 
                       c        bc 
                 2.  a =  ac                เมื่อ  b , c  ¹  0 
                       b  bc 
                  3.  a +  c  = ad + bc  เมื่อ  b , d  ¹          0 
                       b  d            bd 
                 4.  ( a )( c )  =  ac  เมื่อ  b , d  ¹  0 
                       b  d         bd 
                  5.  (  )  =
                         b -1  c 
                                           เมื่อ  b , c  ¹  0
                         c         d 
การไมเทากัน 

       ในจํานวนจริง ใชสัญลักษณ  <  ,  > , £  ,  ³  และ  ¹  แทน ความสัมพันธ 
นอยกวา  มากกวา  นอยกวาหรือเทากับ  มากกวาหรือเทากับ  และไมเทากับ ตามลําดับ 
       ถา  a  และ b  เปนจํานวนจริง  สัญลักษณ  a  <  b  หมายความวา  a  มีคานอยกวา  b 
และ สัญลักษณ  a  >  b  หมายความวา  a  มีคามากกวา  b 

สมบัติของการไมเทากัน 

นิยาม  สมบัติไตรวิภาค  ( trichotomy  property ) 
       ถา  a  และ b  เปนจํานวนจริง  แลว  a  =  b  ,  a  <  b  และ  a  >  b 
        จะเปนจริงเพียงอยางใดอยางหนึง เทานัน 
                                       ่        ้

นิยาม 
          a  £  b         หมายถึง    a  นอยกวาหรือเทากับ  b 
          a  ³  b         หมายถึง    a  มากกวาหรือเทากับ  b 
         a <  b  < c      หมายถึง    a  <  b  และ  b  <  c 
         a  £  b  £  c    หมายถึง    a  £  b  และ  b  £  c 
         a  <  b  £  c    หมายถึง    a  <  b  และ  b  £  c 
         a  £  b  < c     หมายถึง    a  £  b  และ  b < c
สมบัติการไมเทากัน 

      ให  a ,b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ 
      1.  สมบัติการถายทอด 
          ถา  a > b และ b > c แลว  a > c 
          เชน  ถา  15 > 8 และ 8  > - 4 แลว  15 > - 4  เปนตน 
      2.  สมบัติการบวกดวยจํานวนทีเ่ ทากัน 
          ถา  a  >  b  แลว  a + c > b + c 
           เชน  ถา  5 >  3 แลว  5 + ( - 6 ) > 3 + (- 6) 
                                            - 1 > -3               เปนตน 
      3.  จํานวนบวกและจํานวนลบเปรียบเทียบกับ 0 
               a  เปนจํานวนบวก  ก็ตอเมื่อ  a  > 0 
               a  เปนจํานวนลบ    ก็ตอเมื่อ  a < 0 
      4.  สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน 
               4.1  ถา  a > b และ c > 0  แลว  ac >  bc 
                        เชน     ถา  7 > 3  แลว  7(5)  > 3(5) 
                                                    35 > 15  เปนตน 
               4.2  ถา  a > b  และ c < 0  แลว  ac  <  bc 
                        เชน     ถา  6  >  4  แลว  6( -2) < 4( -2) 
                                                       -12 <  -8 
      5.  สมบัติการตัดออกการบวก 
               ถา  a + c > b + c  แลว  a > b 
                        เชน  56  + 23  >  35 +  23  แลว  56  >  35 
      6. สมบัติการตัดออกของการคูณ 
               6.1  ถา  ac > bc และ c > 0 แลว  a > b 
                        เชน  13(7)  >  8(7)  แลว  13 >  8 
               6.2  ถา  ac > bc และ c < 0  แลว  a < b 
                        เชน  5 ( -3)  > 7( -3)  แลว  5 < 7 
                                     -  15 > - 21
ชวงและการแกอสมการ 




           บทนิยาม  เมือเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง  และ  a < b 
                       ่
                         ชวงเปด       ( a , b )   หมายถึง      { x / a < x < b } 
                         ชวงปด        [ a , b ]   หมายถึง      { x / a  £  x  £  b } 
                         ชวงครึ่งเปด  ( a , b ]   หมายถึง      { x / a < x  £  b } 
                         ชวงครึ่งเปด  [ a , b )   หมายถึง      { x /  a  £  x < b } 
                         ชวง           ( a ,  ¥ )  หมายถึง      { x / x > a } 
                         ชวง           [ a ,  ¥ )  หมายถึง      { x / x  ³  a } 
                         ชวง            ( -  ¥ , a )        หมายถึง        { x / x < a } 
                         ชวง            ( -  ¥ , a ]        หมายถึง        { x / x  £  a } 
                         ชวง            ( -  ¥ ,  ¥ )       หมายถึง        { x / x Î R } 




จากสมบัติดังกลาวจะนําไปใชในการแกอสมการ 
เชน 



   ตัวอยาง       จงหาคาของ  x  เมื่อ  3x + 7  ³  19 
                  วิธีทํา       จาก  3x + 7  ³  19 
                  บวกดวย  - 7      3x + 7 +(-7)  ³  19 +(-7) 
                                            3x  ³  12 
                  คูณดวย  1               3x( 1  )  ³  12( 1  ) 
                           3                    3            3 
                                                  x  ³  4 
                  คําตอบคือ      { x / x  ³  4 }  =                                            +¥

                                                                        4
ตัวอยาง      จงหาคาของ  x  เมื่อ  x 2  +5x + 6  £  0 
                  วิธีทํา  จาก              x 2  +5x + 6  £  0 
                  เนื่องจาก  x 2  +5x + 6  = ( x + 2)(x + 3) 
                          ดังนั้น จะได 
                                   ( x + 2)(x + 3)  £  0 
          พิจารณา  ( x + 2)(x + 3)  £  0  ก็ตอเมื่อ   กรณีที่  1  x+2  ³  0  และ x + 3  £  0 
                                                          กรณีที่  2     x+2  £  0  และ x + 3  ³  0 
พิจารณาคําตอบกรณีที่ 1 
          x+2  ³  0  และ x + 3  £  0 
            x  ³  - 2 และ  x  £  - 3 
                                                                +¥

                                   ­2 
                                                           +¥

                           ­3                                             +¥

                                   ­2 


          คําตอบกรณีที่  1  จะไดคาของ  x  คือ  { x /  x  ³  - 2 } 
พิจารณาคําตอบกรณีที่ 2 
          x+2  £  0  และ x + 3  ³  0 
            x  £  - 2  และ  x  ³  - 3 
คาสัมบูรณ  ( Absolute  value , Modulus) 

                บทนิยาม 
                       ให  a  เปนจํานวนจริงใดๆ 
                                    ì a  เมื่อ  a > 0 
                                    ï
                               a  = í 0  เมื่อ  a  = 0 

                                    î - a  เมื่อ  a < 0 
                                    ï



                                      5   =  5 
                   เชน               - 5  = - (  5  = 5 
                                                - ) 
                                      0  = 0 



   ทฤษฎีบทคาสัมบูรณ 
                       เมื่อ  x  และ  y เปนจํานวนจริงใดๆ 
                       1.  x =  - x 
                                 เชน  13 =  - 13  = 13 
                       2.  xy =  x  y 
                                          2(  3  = 2 - 3 
                                            -  ) 
                              เชน        - 6         = 2 ´ 3 
                                                  6  = 6 

                       3.     x
                                = 
                                   x 
                              y  y 
                                          15     15 
                                               =
                                          - 3    - 3 

                              เชน             - 5  =
                                                     15 
                                                      3 
                                                5  = 5 
                       4.     x -  y  = y - x 
                                            4 - 7  = 7 - 4 
                              เชน              - 3  = 3 
                                                  3  = 3 
                       5.    ( x ) 
                                 2        2 
                                      =  x 
                                          ( - 6 ) 2
                                                      = (- 6 
                                                            )2 



                              เชน                 2 
                                               (6 )  =
                                                     36 
                                               36  = 36 
6.        x +  y  £ x + y 
                           5 +  (  8  < 5 + - 8 
                                 - ) 
                เชน         - 3     < 5 + 8 
                               3     < 13 
                7.  เมือ  a  เปนจํานวนจริงบวก 
                       ่
                     7.1  x  < a  ความหมายตร งกับ  - a < x < a 
                     7.2  x  £ a ความหมายตร งกับ  - a £ x £ a 

        ตัวอยางที่  1 
                                   จงหาคาของ x เมื่อ  x  < 3
                         วิธีทํา     จาก       x  <  3
                                           ­¥                                      +¥
คาของ  x คือ  { x / - 3 < x < 3 }  = 
                                                       ­3               3 


        ตัวอยางที่  2 
                                  จงหาคาของ  x เมื่อ  x + 5 £ 7 
                         วิธีทํา         จาก        x + 5 £ 7 

                                  จะได         –  7  £  x + 5  £  7 
                                            – 7 – 5  £  x  £  7 – 5 
                                                 – 12  £  x  £  2 
                                              ­¥
คําตอบ        { x / – 12  £  x  £  2 }  =                    ­12             2 



                8.  เมื่อ  a  เปนจํานวนจริงบวก 
                         8.1  x >  a  ความหมายตรงกับ  x < - a  หรือ  x >  a 
                         8.2  x ³  a  ความหมายตรงกับ  x  £  - a  หรือ  x  ³  a 

        ตัวอยางที่  1 
                        จงหาคาของ  x  เมื่อ  x  > 9
               วิธีทํา                 จาก        x  > 9

      คาของ x ที่แทนอสมการเปนจริง คือ  x <  - 9  หรือ  x > 9 
คําตอบ  { x / x <  - 9  หรือ  x > 9 }  = 
                                             ­¥                                   +¥

                                                                ­9      9 
ตัวอยางที่  2 
                                          จงหาคาของ  x เมื่อ  x + 2 ³ 8 
                              วิธีทํา         จาก  x + 2 ³ 8 
                              จะได  x + 2  £  - 8  หรือ  x + 2  ³  8 
                                            x  £  - 8 - 2  หรือ  x  ³  8 - 2 
                                            x  £  -  10  หรือ  x  ³  6 
                                                                                     +¥
คําตอบคือ  { x / x  £  -  10  หรือ x  ³  6 } = 
                                                       ­¥

                                                                       ­10      6 
              หมายเหตุ 
                     ถา  a  เปนจํานวนจริงลบ 
                               x <  a  คาของ  x  จะเปนเซตวาง 

                     เชน  x  <  - 20 จะได  x  =  f 
                               x >  a  คาของ x จะเปนจํานวนจริง 

                     เชน  x  >  - 16 คาของ x = R 
บันทึกผล หลังการจัดการเรียนรู 

มาตรฐานการเรียนรู 
1.  ดานความรู 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ...................................................................... 
2.  ดานทักษะ/กระบวนการ 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ...................................................................... 
3.  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค      ึ
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ............................................................................................................................................................................... 
    ...................................................................... 
        ปญหาที่ควรแกไข/พัฒนา                              วิธีดําเนินการแกไข/พัฒนา                                 ผลการแกไข/พัฒนา 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 
    ...............................................  ...............................................  ............................................... 



                                                                   ลงชื่อ...........................................ผูจัดทํา 
                                                                            (นายอุดม  วงศศรีดา) 
                                                                            ครู  ชํานาญการพิเศษ

More Related Content

What's hot

สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...กุ้ง ณัฐรดา
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองlekho
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
สมการMath
สมการMathสมการMath
สมการMathSattakamon
 

What's hot (20)

สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
การคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็มการคูณและหารจำนวนเต็ม
การคูณและหารจำนวนเต็ม
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
สมการMath
สมการMathสมการMath
สมการMath
 

Similar to Real number2555

หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กNichaya100376
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103พัน พัน
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มJirathorn Buenglee
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfrattapoomKruawang2
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริงChwin Robkob
 

Similar to Real number2555 (20)

หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
ระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม แผน 3 นวัตกรรม
แผน 3 นวัตกรรม
 
Krootip
KrootipKrootip
Krootip
 
3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง3 ระบบจำนวนจริง
3 ระบบจำนวนจริง
 

More from wongsrida

More from wongsrida (20)

Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Event1 2555
Event1 2555Event1 2555
Event1 2555
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
Asian
AsianAsian
Asian
 
Analytic geometry2555
Analytic geometry2555Analytic geometry2555
Analytic geometry2555
 
Rubric2555
Rubric2555Rubric2555
Rubric2555
 
Conic section2555
Conic section2555Conic section2555
Conic section2555
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Plan matric2555
Plan matric2555Plan matric2555
Plan matric2555
 
Function2555
Function2555Function2555
Function2555
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
Sufficiency55
Sufficiency55Sufficiency55
Sufficiency55
 
Rubric
RubricRubric
Rubric
 
Aseancountry thai
Aseancountry thaiAseancountry thai
Aseancountry thai
 
Report
ReportReport
Report
 
Relation
RelationRelation
Relation
 
Event
EventEvent
Event
 
Analytic geometry
Analytic geometryAnalytic geometry
Analytic geometry
 

Real number2555

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู  เรื่อง  “ระบบจํานวนจริง”  จํานวน  16  ชั่วโมง  ตารางแจกแจงหนวยยอยการเรียนรู  คณิตศาสตรพื้นฐาน รหัสวิชา ค31101  กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร  คณิตศาสตร พืนฐาน  รหัสวิชา ค31101  ้ ชั้น  มัธยมศึกษาปที่ 4  จํานวนหนวยการเรียนรู  1  หนวย                           ภาคเรียนที่ 1  หนวยการ  มาตรฐาน  ค 1.1 และ ค6.1  สาระการเรียนรู (Contents)  จํานวน  เรียนรูที่…  ตัวชี้วัด ม.4-6/1-3  และ ตัวชี้วด ม.4-6/1-6  ั ชื่อหนวยการเรียนรู / หนวยยอยการเรียนรู  ชั่วโมง  1  · แสดงความสัมพันธของจํานวนตางๆในระบบจํานวนจริงได  1.  จํานวนจริง  16  · เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจากการบวก  การลบ  1.1 ระบบจํานวนจริง  3  การคูณ  และการหารจํานวนจริง  1.2 สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการ  3  · เขาใจสมบัติของจํานวนจริงที่เกี่ยวกับการบวก  การคูณ  บวก การลบ  การคูณ และการหาร  การเทากันและการไมเทากันและนําไปใชได  1.3 สมบัติการเทากันและการไมเทากัน  2  · แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได  1.4 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว  2  · มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและ  1.5 อสมการตัวแปรเดียว  3  หาคาสัมบูรณของจํานวนจริงได  1.6 คาสัมบูรณ  2  · มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยก  1.7 ประเมินผล  1  กําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะและจํานวนจริงในรูป  กรณฑ  2  ·ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหาได  ·ใชความรู  ทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร และ  เทคโนโลยีในการแกปญหาสถานการณตางๆไดอยาง  เหมาะสม  ·สามารถแสดงเหตุผลโดยการอางอิงความรู ขอมูลหรือ  ขอเท็จจริงหรือการสรางแผนภาพ  ·ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร สื่อ  ความหมายและการนําเสนอไดอยางถูกตองชัดเจนและรัดกุม  ·เชื่อมโยงความรูเนื้อหาตางๆในคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับ  ศาสตรอื่นๆ  ·นําความรูและทักษะที่ไดจากการเรียนคณิตศาสตรไป  ประยุกตในการเรียนรูสิ่งตางและในการดํารงชีวิต  ·มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการทํางาน
  • 2. มาตรฐาน ค 1.1  เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง  ตัวชี้วัด ม.4-6/1-3  1.  แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆในระบบจํานวนจริง  2.  มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ คาสัมบูรณของจํานวนจริง  3.  มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กาลังเปนจํานวนตรรกยะและ  ํ จํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ  มาตรฐานการเรียนรู  ค 6.1  มีความสามารถในการแกปญหา  การใหเหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร  และการนําเสนอ  การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมี  ความคิดริเริ่มสรางสรรค  ตัวชี้วัด ม.4-6/1-6  1.  ใชวิธีการที่หลากหลายในการแกปญหา  2.  ใชความรู ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหาในสถานการณตางๆ ได  อยางเหมาะสม  3.  ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลไดอยางเหมาะสม  4.  ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนําเสนอไดอยาง  ถูกตองและชัดเจน  5.  เชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและนําความรู  หลักการกระบวนการทางคณิตศาสตรไป  เชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ  6.  มีความคิดริเริ่มสรางสรรค
  • 3. 1.  มาตรฐานการเรียนรู  1.1.ดานความรู  (K)  1.1.1.แสดงความสัมพันธของจํานวนตางๆในระบบจํานวนจริงได  1.1.2.เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวน  จริง  1.1.3.เขาใจสมบัติของจํานวนจริงทีเ่ กี่ยวกับการบวก การคูณ การเทากันและการไมเทากัน  และนําไปใชได  1.1.4.แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสองได  1.1.5.  มีความคิดรวมยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของจํานวนจริงและหาคาสัมบูรณของจํานวนจริง  ได  1.2.ดานทักษะกระบวนการ  (P)  1.2.1.มีความสามารถในการแกปญหา  1.2.2.มีความสามารถในการใหเหตุผล  1.2.3.มีความสามารถในการสื่อสารและนําเสนอ  1.3.ดานคุณลักษณะ (A)  1.3.1.มีความรวมมือและรับผิดชอบ  1.3.2.มีความสนใจและกระตือรือรน  กลาคิดและแสดงความคิดเห็น
  • 4. สาระการเรียนรู  จํานวนจริง ( Real   Number )  แผนภูมิแสดงความสัมพันธของจํานวนชนิดตางๆ  จํานวนเชิงซอน  จํานวนจริง  จํานวนเชิงซอนที่ไมใชจํานวนจริง  จํานวนอตรรกยะ  จํานวนตรรกยะ  จํานวนตรรกยะที่ไมใชจํานวนเต็ม  จํานวนเต็ม  จํานวนเต็มลบ  ศูนย  จํานวนเต็มบวก  หรือจํานวนนับ จํานวนตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่สามารถเขียนอยูในรูปของเศษสวนได โดยที่สวนไมเปนศูนย   a  Q = { x / x = ,  b  เมื่อ a , b  Π I และ b  ¹ 0 }  จํานวนอตรรกยะ หมายถึง จํานวนที่ไมสามารถเขียนอยูในรูปของเศษสวนได  ตัวอยาง  3  4  เปนจํานวนตรรกยะ  -15  เปนจํานวนตรรกยะ  3  เปนจํานวนอตรรกยะ 
  • 5. 4 +  25  เปนจํานวน ตรรกยะ  1.732…  เปนจํานวนอตรรกยะ  1.3356  เปนจํานวน ตรรกยะ  การเทากันในระบบจํานวนจริง  ขอตกลงพื้นฐานที่ไมพิสูจน  จะมีสมบัตดังนี้   ให  a ,  b และ  c เปนจํานวนจริงใดๆ  ิ 1.  สมบัติการสะทอน  a  =  a  จํานวนจริงใดๆยอมเทากับจํานวนจริงนันเสมอ  ้ เชน  5  =  5  เปนตน  2.  สมบัติการสมมาตร  ถา  a  =  b แลว  b  =  a  เชน    ถา  2+3  =  5  แลว  5 = 2+3  3.  สมบัติการถายทอด  ถา  a = b และ  b = c  แลว  a = c  เชน  ถา  6+5  =  11 และ  11  =  11  ´  1  แลว  6+5  =  11  ´  1  4.  สมบัติการบวกดวยจํานวนที่เทากัน ถา  a  =  b  แลว  a+c  =  b+c  เชน  ถา  x =  6  แลว  x + 3  =  6+3  5.  สมบัติการคูณดวยจํานวนทีเ่ ทากัน  ถา  a  =  b  แลว  ac  =  bc  เชน       ถา  x  =  5  แลว  4x  = 4 ´ 5 = 20  การบวกและการคูณในระบบจํานวนจริง  นิยาม  ในระบบจํานวนจริง เรียกจํานวนจริงที่บวกกับจํานวนจริงจํานวนใดก็ตามแลวได  จํานวนจริงจํานวนนั้นวา  “ เอกลักษณการบวก”  จะได เอกลักษณการบวกคือ  ศูนย  ( 0) เพราะ  0 + a = a = a + 0  เมื่อ a  เปนจํานวนจริงใดๆ  นิยาม  ในระบบจํานวนจริง อินเวอรสการบวกของจํานวนจริง  a ( ใชแทนดวยสัญลักษณ  - a )  หมายถึง  จํานวนจริงที่บวกกับ  a  แลวได เอกลักษณการบวก คือ 0 กลาวคือ  a + ( – a)  =  0  =  ( – a) + a  เชน     เอกลักษณการบวกของ  2  คือ  - 2  เพราะ  2 + ( - 2 ) =  0  หรือ  ( - 2 ) + 2  =  0  5  เอกลักษณการบวกของ  คือ  -  5 6  6  5  เพราะ  + ( -  5 ) =  0  หรือ  ( -  5 ) +  5  =  0  เปนตน 6  6  6  6 
  • 6. สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก  กําหนดให  a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ  1.  สมบัติการปดของการบวก  ถา  aΠR  และ  bΠR  แลว  a + b Î R  เชน      ถา  5 Î R และ  2 Î R แลว  5 + 2  R Î 2.  สมบัติการสลับที่ของการบวก  ในการบวกจํานวนจริงสองจํานวนเมื่อสลับที่จํานวนทั้งสองนั้นแลว ผลบวกจะ  เทาเดิม นั่นคือ  a + b = b + a  เชน  6 + (-8) =  ( -8 ) + 6 = -2  3.  สมบัติการเปลี่ยนกลุมของการบวก   ในการบวกจํานวนจริงสามจํานวน จะบวกสองจํานวนหลังกอนหรือสองจํานวน  แรกกอน ผลบวกจะเทาเดิม นั่นคือ  a + (b + c) = (a + b) + c  เชน  2 + (3 + 4) =  (2 + 3) + 4  2 + 7  =    5 + 4  9           =       9  เปนตน  4.  สมบัติการมีเอกลักษณ  ในระบบจํานวนจริงมี  0 (ศูนย) เปนเอกลักษณการบวก นันคือ  ่ a + 0  = a =  0 + a  เชน  (-15) + 0  =  -15  =  0 + ( -15)  เปนตน  5.  สมบัติการมีอินเวอรสการบวก  ในระบบจํานวนจริง ถา a  เปนจํานวนจริงจะมี จํานวนจริง –a  ซึ่ง  a + ( -a)  =  0  = ( -a ) + a  เชน     อินเวอรสการบวกของ  12  คือ  - 12 เพราะ  12 + ( -12)  =  0  =  ( -12) + 12  3  อินเวอรสการบวกของ  คือ  - 3  เพราะ  5  5  3  +  (- 3 )  =  (- 3 )  +  3  =  0  เปนตน 5  5  5  5 
  • 7. สมบัติจํานวนจริงเกี่ยวกับการคูณ  ให  a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ  บทนิยาม  ในระบบจํานวนจริง เรียกจํานวนจริงที่ไมเปนศูนยซึ่งคูณกับจํานวนจริงจํานวนใดก็ตาม  ไดผลลัพธเปนจํานวนจริงจํานวนนันวา เอกลักษณการคูณ  ้ ในระบบจํานวนจริงมี  1  เปนเอกลักษณของการคูณ เพราะวา  a  ´  1  =  a  =  1  ´  a  เชน  56  ´  1  =  56  =  1  ´  56  เปนตน  บทนิยาม  ในระบบจํานวนจริง อินเวอรสการคูณของจํานวนจริง  a  ¹  0 ( ใชแทนดวยสัญลักษณ a -1  )  หมายถึง จํานวนทีคูณกันกับ  a แลวได 1 นั่นคือ  ่ a  ´  a -1  =  1  =   a -1  ´ a  เชน     อินเวอรสการคูณของ  3  คือ  3 -1  เพราะ  3  ´  3 -1  =  1  หรือ  3 -1 ´ 3  =  1  เปนตน
  • 8. สมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการคูณ  การคูณจํานวนจริงมีสมบัติปดของการคูณ   สมบัติการสลับที่ของการคูณ สมบัติการ  เปลี่ยนกลุมของการคูณ การมีเอกลักษณของการคูณ และการมีอินเวอรสของการคูณ ในทํานองเดียวกับสมบัติ  เกี่ยวกับการบวก นอกจากนันเมื่อพิจารณาทั้งการบวกและการคูณยังมีสมบัติอีกขอหนึ่ง คือ  ้ สมบัติการแจกแจง กลาวคือ  a (b + c)  =  (ab) + (ac)  เชน  2(3 + 4)  =  (2 ´ 3) + (2 ´ 4)  2 ´ 7    =   6 + 8  14     =    14  เปนตน  หมายเหตุ  ในระบบจํานวนจริงจะกลาวถึงสมบัติของการบวกและการคูณเทานั้น เพราะ การ  ลบจะหมายถึงการบวกและการหารจะหมายถึงการคูณ กลาวคือ  a  -  b  หมายถึง  a + ( -a)  และ  a  หมายถึง  a  ´  1  b  b  เชน  5 – 8  หมายถึง  5 + ( -8)  7  หมายถึง  7  ´  1  8  8  สรุป  สมบัติของระบบจํานวนจริง  สมบัติ  การบวก  การคูณ  ปด  1.  a + b Π R  6.       ab  Π R  การสลับที่  2.  a + b = b + a  7.        ab   =   ba  การเปลี่ยนกลุม  3.  (a + b) + c = a + (b + c)  8.         ( ab )c  =  a ( bc )  การมีเอกลักษณ  4.  มีจํานวนจริง 0 ซึ่ง  9.  มีจํานวนจริง  1 , 1  ¹ 0 ซึ่ง  0 + a = a = a + 0  1a  = a  การมีอินเวอรส  5.  สําหรับ  a  จะมีจํานวนจริง –a  10.  สําหรับ  a  ที่ไมเปน  0  จะมี  โดยที่  จํานวนจริง  a -1  โดยที่  (-a) + a =  0  = a + ( -a)  ( a -1 )a  =  1  =  a( a -1 )  อาน  -a  วาอินเวอรสการบวกของ a  อาน  a -1  วาอินเวอรสการคูณของ  a  การแจกแจง  11.  a (b + c)  =  (ab) + (ac)
  • 9. นอกจากสมบัติทั้ง  11  ประการนี้แลว ระบบจํานวนจริงจะมีระบบยอย  R +  ซึ่ง  R +  Ì  R  มีสมบัติเพิ่มเติมอีก 3 ประการ คือ  12.  0 Ï  R +  และถา  a  เปนจํานวนจริงที่  a  ¹  0  แลวตองเปนไปประการใดประการหนึ่ง  เทานั้นคือ  ก.  a Î  R +  หรือ  ข.  –a Π R +  ,  a <  0 ( a เปนจํานวนจริงลบ)  13.  ถา  a , b  Π R +  แลว  a + b Π R +  14.  ถา  a , b  Π R +  แลว  ab  Π R +  นอกจากนี้  ระบบจํานวนจริงยังมีสมบัติสําคัญอีกประการหนึ่งคือ  สมบัติความบริบูรณ ซึ่งจะ  กลาวถึงภายหลัง สมบัติทั้ง 15 ประการนี้เปนสมบัติพื้นฐานเฉพาะของระบบจํานวนจริง ทําใหระบบ  จํานวนจริงมีโครงสรางเฉพาะตัวที่มีขอแตกตางจากระบบจํานวนอื่นๆ  จากสมบัติทั้งหมดใชในการพิสูจนทฤษฎีตอไปนี้   ทฤษฎีบทที่ 1 (กฎการตัดออกสําหรับการบวก) เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ  ถา  a + c  =  b + c  แลว  a = b  ถา  a + b  =  a + c  แลว  b = c  ทฤษฎีบทที่ 2 (กฎการตัดออกสําหรับการคูณ) เมื่อ a , b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ  ถา  ac = bc  และ  c  ¹  0  แลว  a = b  ถา  ab = ac  และ  a  ¹  0  แลว  b = c  ทฤษฎีบทที่ 3  เมื่อ  a  เปนจํานวนจริงใดๆ  a(0)   =  0  0(a)   =   0  ทฤษฎีบทที่ 4  ถา  a  เปนจํานวนจริงใดๆ  ( - 1 )a  =  - a
  • 10. ทฤษฎีบทที่ 5  เมื่อ  a  และ  b  เปนจํานวนจริงใดๆ  ถา  ab  =  0  แลว  a  =  0 หรือ  b  =  0  ทฤษฎีบทที่ 6  เมือ  a  และ  b  เปนจํานวนจริงใดๆ  ่ 1.  a(- b)  =  - ab  2.  (-a)b     =  -  ab  3.  (- a)( - b)  =    ab
  • 11. การบวกและการลบจํานวนจริง  นิยาม  เมื่อ  a  และ b เปนจํานวนจริงใดๆ  a – b  =  a + (-b)  นิยาม  เมื่อ  a  และ  b เปนจํานวนจริงใดๆ  b  ¹  0  ,  a  =  a ( b  -1 )  b  ทฤษฎีบทที่ 7  เมือ  a , b  และ c  เปนจํานวนจริงใดๆ  ่ 1.  a(b – c)  =  ab  - ac  2.  (a – b)c  =  ac  - bc  3.  ( - a)(b – c)  =  - ab  +  ac  ทฤษฎีบทที่ 8  ถา  a  ¹  0  จะได  a -1  ¹  0  a (  )  ทฤษฎีบทที่ 9  1.  b  =  a  เมื่อ  b , c  ¹  0  c  bc  2.  a =  ac  เมื่อ  b , c  ¹  0  b  bc  3.  a +  c  = ad + bc  เมื่อ  b , d  ¹  0  b  d  bd  4.  ( a )( c )  =  ac  เมื่อ  b , d  ¹  0  b  d  bd  5.  (  )  = b -1  c  เมื่อ  b , c  ¹  0 c  d 
  • 12. การไมเทากัน  ในจํานวนจริง ใชสัญลักษณ  <  ,  > , £  ,  ³  และ  ¹  แทน ความสัมพันธ  นอยกวา  มากกวา  นอยกวาหรือเทากับ  มากกวาหรือเทากับ  และไมเทากับ ตามลําดับ  ถา  a  และ b  เปนจํานวนจริง  สัญลักษณ  a  <  b  หมายความวา  a  มีคานอยกวา  b  และ สัญลักษณ  a  >  b  หมายความวา  a  มีคามากกวา  b  สมบัติของการไมเทากัน  นิยาม  สมบัติไตรวิภาค  ( trichotomy  property )  ถา  a  และ b  เปนจํานวนจริง  แลว  a  =  b  ,  a  <  b  และ  a  >  b  จะเปนจริงเพียงอยางใดอยางหนึง เทานัน  ่ ้ นิยาม  a  £  b  หมายถึง  a  นอยกวาหรือเทากับ  b  a  ³  b  หมายถึง  a  มากกวาหรือเทากับ  b  a <  b  < c  หมายถึง  a  <  b  และ  b  <  c  a  £  b  £  c  หมายถึง  a  £  b  และ  b  £  c  a  <  b  £  c  หมายถึง  a  <  b  และ  b  £  c  a  £  b  < c  หมายถึง  a  £  b  และ  b < c
  • 13. สมบัติการไมเทากัน  ให  a ,b และ c เปนจํานวนจริงใดๆ  1.  สมบัติการถายทอด  ถา  a > b และ b > c แลว  a > c  เชน  ถา  15 > 8 และ 8  > - 4 แลว  15 > - 4  เปนตน  2.  สมบัติการบวกดวยจํานวนทีเ่ ทากัน  ถา  a  >  b  แลว  a + c > b + c  เชน  ถา  5 >  3 แลว  5 + ( - 6 ) > 3 + (- 6)  - 1 > -3  เปนตน  3.  จํานวนบวกและจํานวนลบเปรียบเทียบกับ 0  a  เปนจํานวนบวก  ก็ตอเมื่อ  a  > 0  a  เปนจํานวนลบ    ก็ตอเมื่อ  a < 0  4.  สมบัติการคูณดวยจํานวนที่เทากัน  4.1  ถา  a > b และ c > 0  แลว  ac >  bc  เชน     ถา  7 > 3  แลว  7(5)  > 3(5)  35 > 15  เปนตน  4.2  ถา  a > b  และ c < 0  แลว  ac  <  bc  เชน     ถา  6  >  4  แลว  6( -2) < 4( -2)  -12 <  -8  5.  สมบัติการตัดออกการบวก  ถา  a + c > b + c  แลว  a > b  เชน  56  + 23  >  35 +  23  แลว  56  >  35  6. สมบัติการตัดออกของการคูณ  6.1  ถา  ac > bc และ c > 0 แลว  a > b  เชน  13(7)  >  8(7)  แลว  13 >  8  6.2  ถา  ac > bc และ c < 0  แลว  a < b  เชน  5 ( -3)  > 7( -3)  แลว  5 < 7  -  15 > - 21
  • 14. ชวงและการแกอสมการ  บทนิยาม  เมือเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง  และ  a < b  ่ ชวงเปด  ( a , b )  หมายถึง  { x / a < x < b }  ชวงปด  [ a , b ]  หมายถึง  { x / a  £  x  £  b }  ชวงครึ่งเปด  ( a , b ]  หมายถึง  { x / a < x  £  b }  ชวงครึ่งเปด  [ a , b )  หมายถึง  { x /  a  £  x < b }  ชวง  ( a ,  ¥ )  หมายถึง  { x / x > a }  ชวง  [ a ,  ¥ )  หมายถึง  { x / x  ³  a }  ชวง  ( -  ¥ , a )  หมายถึง  { x / x < a }  ชวง  ( -  ¥ , a ]  หมายถึง  { x / x  £  a }  ชวง  ( -  ¥ ,  ¥ )  หมายถึง  { x / x Î R }  จากสมบัติดังกลาวจะนําไปใชในการแกอสมการ  เชน  ตัวอยาง  จงหาคาของ  x  เมื่อ  3x + 7  ³  19  วิธีทํา  จาก  3x + 7  ³  19  บวกดวย  - 7  3x + 7 +(-7)  ³  19 +(-7)  3x  ³  12  คูณดวย  1  3x( 1  )  ³  12( 1  )  3  3  3  x  ³  4  คําตอบคือ  { x / x  ³  4 }  =  +¥ 4
  • 15. ตัวอยาง  จงหาคาของ  x  เมื่อ  x 2  +5x + 6  £  0  วิธีทํา  จาก  x 2  +5x + 6  £  0  เนื่องจาก  x 2  +5x + 6  = ( x + 2)(x + 3)  ดังนั้น จะได  ( x + 2)(x + 3)  £  0  พิจารณา  ( x + 2)(x + 3)  £  0  ก็ตอเมื่อ   กรณีที่  1  x+2  ³  0  และ x + 3  £  0  กรณีที่  2     x+2  £  0  และ x + 3  ³  0  พิจารณาคําตอบกรณีที่ 1  x+2  ³  0  และ x + 3  £  0  x  ³  - 2 และ  x  £  - 3  +¥ ­2  +¥ ­3  +¥ ­2  คําตอบกรณีที่  1  จะไดคาของ  x  คือ  { x /  x  ³  - 2 }  พิจารณาคําตอบกรณีที่ 2  x+2  £  0  และ x + 3  ³  0  x  £  - 2  และ  x  ³  - 3 
  • 16. คาสัมบูรณ  ( Absolute  value , Modulus)  บทนิยาม  ให  a  เปนจํานวนจริงใดๆ  ì a  เมื่อ  a > 0  ï a  = í 0  เมื่อ  a  = 0  î - a  เมื่อ  a < 0  ï 5 =  5  เชน  - 5  = - (  5  = 5  - )  0  = 0  ทฤษฎีบทคาสัมบูรณ  เมื่อ  x  และ  y เปนจํานวนจริงใดๆ  1.  x =  - x  เชน  13 =  - 13  = 13  2.  xy =  x  y  2(  3  = 2 - 3  -  )  เชน  - 6  = 2 ´ 3  6  = 6  3.  x =  x  y  y  15 15  = - 3  - 3  เชน  - 5  = 15  3  5  = 5  4.  x -  y  = y - x  4 - 7  = 7 - 4  เชน  - 3  = 3  3  = 3  5.  ( x )  2  2  =  x  ( - 6 ) 2 = (- 6  )2  เชน  2  (6 )  = 36  36  = 36 
  • 17. 6.  x +  y  £ x + y  5 +  (  8  < 5 + - 8  - )  เชน  - 3  < 5 + 8  3  < 13  7.  เมือ  a  เปนจํานวนจริงบวก  ่ 7.1  x  < a  ความหมายตร งกับ  - a < x < a  7.2  x  £ a ความหมายตร งกับ  - a £ x £ a  ตัวอยางที่  1  จงหาคาของ x เมื่อ  x  < 3 วิธีทํา     จาก  x  <  3 ­¥ +¥ คาของ  x คือ  { x / - 3 < x < 3 }  =  ­3  3  ตัวอยางที่  2  จงหาคาของ  x เมื่อ  x + 5 £ 7  วิธีทํา  จาก  x + 5 £ 7  จะได  –  7  £  x + 5  £  7  – 7 – 5  £  x  £  7 – 5  – 12  £  x  £  2  ­¥ คําตอบ  { x / – 12  £  x  £  2 }  =  ­12  2  8.  เมื่อ  a  เปนจํานวนจริงบวก  8.1  x >  a  ความหมายตรงกับ  x < - a  หรือ  x >  a  8.2  x ³  a  ความหมายตรงกับ  x  £  - a  หรือ  x  ³  a  ตัวอยางที่  1  จงหาคาของ  x  เมื่อ  x  > 9 วิธีทํา  จาก  x  > 9 คาของ x ที่แทนอสมการเปนจริง คือ  x <  - 9  หรือ  x > 9  คําตอบ  { x / x <  - 9  หรือ  x > 9 }  =  ­¥ +¥ ­9  9 
  • 18. ตัวอยางที่  2  จงหาคาของ  x เมื่อ  x + 2 ³ 8  วิธีทํา  จาก  x + 2 ³ 8  จะได  x + 2  £  - 8  หรือ  x + 2  ³  8  x  £  - 8 - 2  หรือ  x  ³  8 - 2  x  £  -  10  หรือ  x  ³  6  +¥ คําตอบคือ  { x / x  £  -  10  หรือ x  ³  6 } =  ­¥ ­10  6  หมายเหตุ  ถา  a  เปนจํานวนจริงลบ  x <  a  คาของ  x  จะเปนเซตวาง  เชน  x  <  - 20 จะได  x  =  f  x >  a  คาของ x จะเปนจํานวนจริง  เชน  x  >  - 16 คาของ x = R 
  • 19. บันทึกผล หลังการจัดการเรียนรู  มาตรฐานการเรียนรู  1.  ดานความรู  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ......................................................................  2.  ดานทักษะ/กระบวนการ  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ......................................................................  3.  ดานคุณลักษณะที่พงประสงค  ึ ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ...............................................................................................................................................................................  ......................................................................  ปญหาที่ควรแกไข/พัฒนา  วิธีดําเนินการแกไข/พัฒนา  ผลการแกไข/พัฒนา  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ...............................................  ลงชื่อ...........................................ผูจัดทํา  (นายอุดม  วงศศรีดา)  ครู  ชํานาญการพิเศษ