SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ………
สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค
และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
มฐ.พ 4.1 ป.2/1 บอกลักษณะของการมีสุขภาพดี
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของการมีสุขภาพดีได้
2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของคนที่มีสุขภาพดีได้
3. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดีได้
สาระสาคัญ
ผู้ที่มีสุขภาพดี จะมีร่างกายที่แข็งแรง จิตใจร่าเริง แจ่มใส ดารงชีวิตอยู่ในสังคม
อย่างปลอดภัยและมีความสุข
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ลักษณะของการมีสุขภาพดี
2. การปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย
3. ซื่อสัตย์
4. มุ่งมั่นในการทางาน
5. มีจิตสาธารณะ
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียม
1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข
จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-5คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียน
คละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม
ของตนเอง
3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน
แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้
ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่มมานาเสนอหน้าชั้น
เมื่อมีการทดสอบย่อย
สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book)
2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข
3. ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่าเพื่อนในห้องคนใดมีลักษณะของการมีสุขภาพดี
จากนั้นให้นักเรียนที่เพื่อนคิดว่าเป็นคนที่มีลักษณะของการมีสุขภาพดี
ออกมานาเสนอวิธีการปฏิบัติตนให้เป็นคนที่มีสุขภาพดี โดยครูใช้คาถาม ดังนี้
* นักเรียนมีวิธีปฏิบัติตนอย่างไร เพื่อให้มีสุขภาพที่ดี
4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ลักษณะของการมีสุขภาพดี
การปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข
โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิกแต่ละกลุ่ม
แบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูลให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์
สรุปรวบรวมความรู้ลงในใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษา
และกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม เนื่องจาก
มีการให้คะแนนพฤติกรรม
5. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน
มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง
ไม่เข้าใจให้เข้าใจ
6. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมินการ
นาเสนอผลงานของเพื่อน
ขั้นทดสอบ
1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด
2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน
3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด
5.
นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อไปเทียบกับเกณฑ์คะแ
นนรางวัล
6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน
7.
เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง สุขภาพดีมีสุข ดังนี้ ผู้ที่มีสุขภาพดี จะมี
ร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจ ร่าเริงแจ่มใส และรู้สึกปลอดภัยทั้งอยู่ในบ้านและโรงเรียน ดารงชีวิต
ในสังคมได้อย่างมีความสุข
2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อย
ของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน
10 คะแนนกลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4 คะแนนตามลาดับ
วิธีวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
2. ทาแบบทดสอบย่อย
3. การทาผลงานกลุ่ม
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
2. แบบทดสอบย่อย
3. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2. การทาแบบทดสอบย่อย ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
3. การประเมินผลงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ
5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก
3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย
1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม
1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
2. สาระการเรียนรู้
2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ
2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน
2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน
3. กระบวนการเรียนรู้
3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด
3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้
3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม
3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม
3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
4. สื่อการเรียนรู้
4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน
5. การวัดผลและประเมินผล
5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม
5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
...................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายปรารถนา พละมา)
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
วันที่...........เดือน..................... พ.ศ .............
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต
ที่ ชื่อ-สกุล
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้
มีวินัย
ซื่อสัตย์
มุ่งมั่นในการทางาน
มีจิตสาธารณะ
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ร
ายการปร
ะเมิน
ระดับคะแนน/คุณภาพ
3(ดีมาก)
2 (ดี)
1(ปรับปรุง)
1.
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย
3.
ซื่อสัตย์
มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย
4.
มุ่งมั่นใน
การ
มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั
นเวลาที่กาหนด
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
จนเสร็จ
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
ไม่เสร็จ
ทางาน
5.
มีจิตสาธา
รณะ
มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก
เรื่อง
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
ดี
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
บางเรื่อง
แบบประเมินผลงานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน
ที่ ชื่อ-สกุล
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
มีความคิดสร้างสร
รค์
มีความสวยงาม
ผลงานมีระเบียบเ
รียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อิทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์ในการให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
การประเมินผลงาน
รายการประเมิน 3 2 1
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน
มีความคิดสร้าง
สรรค์
มีความคิดร้างสรรค์
ดีมาก
มีความคิดร้างสรรค์
ปานกลาง
มีความคิดสร้างสรรค์
เล็กน้อย
มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงา
มมาก
ผลงานมีความสวยงาม
ปานกลาง
ผลงานมีความสวยงามน้อ
ย
ผลงานมีระเบียบ
เรียบร้อย
ผลงานมีความสะอา
ด
ผลงานมีความสะอาด
เรียบร้อยบ้าง
ผลงานไมสะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
เรียบร้อยดีมาก
ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้าเกินเวลากาหนดนิ
ดหน่อย
ส่งงานช้ากว่าเวลากาหนด
ไปมาก
แบบบันทึกคะแนนการประเมินระหว่างเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เลข
ที่
ชื่อ-สกุล
การประเมินพฤติกรรม
การเรียนรู้
(30 คะแนน)
การประเมิน
ผลงานกลุ่ม
(40 คะแนน)
ทดสอบ
ท้ายบทเรียน
(30 คะแนน)
รวม
(100 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ………
สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค
และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
มฐ.พ 4.1 ป.2/2 เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายหลักในการเลือกอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายได้
2. นักเรียนสามารถบอกวิธีหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้
3. นักเรียนสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
สาระสาคัญ
การรับประทานอาหารควรเลือกที่มีประโยชน์ เพื่อทาให้ร่างกายแข็งแรง
และเจริญเติบโตสมวัย
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. อาหารที่มีประโยชน์
2. อาหารที่ไม่มีประโยชน์
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย
3. ซื่อสัตย์
4. มุ่งมั่นในการทางาน
5. มีจิตสาธารณะ
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียม
1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 2 เรื่อง
การเลือกบริโภคอาหาร จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5คน โดยแต่ละกลุ่ม
นักเรียนคละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน
และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่มของตนเอง
3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD
ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน
แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้
ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่ม
มานาเสนอหน้าชั้น เมื่อมีการทดสอบย่อย
สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book)
2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือก
บริโภคอาหาร
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ อาหารที่มีประโยชน์และอาหาร
ที่ไม่มีประโยชน์ จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร
โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิกแต่ละกลุ่ม
แบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์
สรุปรวบรวมความรู้ลงในใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา
ปรึกษาและกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม เนื่องจากมีการให้คะแนนพฤติกรรม
4. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน
มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง
ไม่เข้าใจให้เข้าใจ
5. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมิน
การนาเสนอผลงานของเพื่อน
ขั้นทดสอบ
1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด
2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน
3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด
5. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อ
ไปเทียบกับเกณฑ์คะแนนรางวัล
6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน
7.
เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง อาหารที่มีประโยชน์และอาหาร
ที่ไม่มีประโยชน์ โดยครูตั้งคาถามถามนาให้นักเรียนช่วยกันตอบ
2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อย
ของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน
10 คะแนน กลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4 คะแนนตามลาดับ
วิธีวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ทาแบบทดสอบย่อย
3. ผลงาน
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบทดสอบย่อยหลังเรียน
3. แบบประเมินผลงาน
เกณฑ์การวัดและประเมิน
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2. การทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
3. การประเมินผลงานกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่า
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ
5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก
3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย
1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม
1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
2. สาระการเรียนรู้
2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ
2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน
2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน
3. กระบวนการเรียนรู้
3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด
3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้
3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม
3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม
3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
4. สื่อการเรียนรู้
4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน
5. การวัดผลและประเมินผล
5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม
5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
...................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายปรารถนา พละมา)
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
วันที่...........เดือน..................... พ.ศ .............
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต
ที่ ชื่อ-สกุล
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้
มีวินัย
ซื่อสัตย์
มุ่งมั่นในการทางาน
มีจิตสาธารณะ
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ร
ายการปร
ะเมิน
ระดับคะแนน/คุณภาพ
3(ดีมาก)
2 (ดี)
1(ปรับปรุง)
1.
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย
3. มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย
ซื่อสัตย์
4.
มุ่งมั่นใน
การ
ทางาน
มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั
นเวลาที่กาหนด
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
จนเสร็จ
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
ไม่เสร็จ
5.
มีจิตสาธา
รณะ
มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก
เรื่อง
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
ดี
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
บางเรื่อง
แบบประเมินผลงานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน
ที่ ชื่อ-สกุล
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
มีความคิดสร้างสร
รค์
มีความสวยงาม
ผลงานมีระเบียบเ
รียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อิทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์ในการให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
การประเมินผลงาน
รายการประเมิน 3 2 1
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน
มีความคิดสร้างสรร
ค์
มีความคิดร้างสรรค์
ดีมาก
มีความคิดร้างสรรค์
ปานกลาง
มีความคิดสร้างสรรค์
เล็กน้อย
มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงามมา
ก
ผลงานมีความสวยงา
ม
ปานกลาง
ผลงานมีความสวยงามน้
อย
ผลงานมีระเบียบ
เรียบร้อย
ผลงานมีความสะอาด
เรียบร้อยดีมาก
ผลงานมีความสะอา
ด
เรียบร้อยบ้าง
ผลงานไมสะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้ากว่ากาหนด
1 วัน
ส่งงานช้ากว่ากาหนด
เกิน 1 วัน
แบบบันทึกคะแนนการประเมินระหว่างเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เลข
ที่
ชื่อ-สกุล
การประเมินพฤติกรรม
การเรียนรู้
(30 คะแนน)
การประเมิน
ผลงานกลุ่ม
(40 คะแนน)
ทดสอบ
ท้ายบทเรียน
(30 คะแนน)
รวม
(100 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเลือกของเล่นและของใช้ให้ปลอดภัย เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ………
สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค
และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
มฐ.พ 4.1 ป.2/3 ระบุของใช้และของเล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพได้
2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพได้
3. นักเรียนสามารถบอกชื่อของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพได้
สาระสาคัญ
การเลือกใช้ของใช้และของเล่นที่เหมาะสม จะทาให้เกิดความปลอดภัย
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. ของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ
2. ของเล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย
3. ซื่อสัตย์
4. มุ่งมั่นการทางาน
5. มีจิตสาธารณะ
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 3 เรื่อง ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อ
สุขภาพ
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียม
1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 3 เรื่อง
ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-5 คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียน
คละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม
ของตนเอง
3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD
ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน
แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้
ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่มมานาเสนอหน้าชั้น
เมื่อมีการทดสอบย่อย
สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book)
2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 3 เรื่อง ของเล่น
และของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสีย
ต่อสุขภาพ จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 3 เรื่อง
ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน
เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิก
แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์ สรุปรวบรวมความรู้ลงใน
ใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษาและกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม
เนื่องจากมีการให้คะแนนพฤติกรรม
4. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน
มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง
ไม่เข้าใจให้เข้าใจ
5. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมิน
การนาเสนอผลงานของเพื่อน
ขั้นทดสอบ
1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด
2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน
3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด
5.
นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อไปเทียบกับเกณฑ์คะแ
นนรางวัล
6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน
7.
เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสีย
ต่อสุขภาพโดยครูตั้งคาถามถามนาให้นักเรียนช่วยกันตอบ
2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม
โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อยของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ
ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน 10 คะแนน กลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4
คะแนนตามลาดับ
วิธีวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ทาแบบทดสอบย่อย
3. การทาผลงานกลุ่ม
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบทดสอบย่อยหลังเรียน
3. แบบประเมินผลงาน
เกณฑ์การวัดและประเมิน
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็น
ร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2. การทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
3. การประเมินผลงานกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ
5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก
3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย
1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม
1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
2. สาระการเรียนรู้
2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ
2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน
2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน
3. กระบวนการเรียนรู้
3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด
3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้
3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม
3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม
3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
4. สื่อการเรียนรู้
4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน
5. การวัดผลและประเมินผล
5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม
5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
...................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายปรารถนา พละมา)
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
วันที่...........เดือน..................... พ.ศ .............
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต
ที่ ชื่อ-สกุล
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้
มีวินัย
ซื่อสัตย์
มุ่งมั่นในการทางาน
มีจิตสาธารณะ
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ร
ายการปร
ะเมิน
ระดับคะแนน/คุณภาพ
3(ดีมาก)
2 (ดี)
1(ปรับปรุง)
1.
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย
3.
ซื่อสัตย์
มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย
4.
มุ่งมั่นใน
การ
ทางาน
มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั
นเวลาที่กาหนด
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
จนเสร็จ
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
ไม่เสร็จ
5.
มีจิตสาธา
รณะ
มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก
เรื่อง
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
ดี
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
บางเรื่อง
แบบประเมินผลงานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน
ที่ ชื่อ-สกุล
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
มีความคิดสร้างสร
รค์
มีความสวยงาม
ผลงานมีระเบียบเ
รียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อิทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์ในการให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
การประเมินผลงาน
รายการประเมิน 3 2 1
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน
มีความคิดสร้างสรร
ค์
มีความคิดร้างสรรค์
ดีมาก
มีความคิดร้างสรรค์
ปานกลาง
มีความคิดสร้างสรรค์
เล็กน้อย
มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงามมา
ก
ผลงานมีความสวยงา
ม
ปานกลาง
ผลงานมีความสวยงามน้
อย
ผลงานมีระเบียบ
เรียบร้อย
ผลงานมีความสะอาด
เรียบร้อยดีมาก
ผลงานมีความสะอา
ด
เรียบร้อยบ้าง
ผลงานไมสะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้ากว่ากาหนด
1 วัน
ส่งงานช้ากว่ากาหนด
เกิน 1 วัน
แบบบันทึกคะแนนการประเมินระหว่างเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เลข
ที่
ชื่อ-สกุล
การประเมินพฤติกรรม
การเรียนรู้
(30 คะแนน)
การประเมิน
ผลงานกลุ่ม
(40 คะแนน)
ทดสอบ
ท้ายบทเรียน
(30 คะแนน)
รวม
(100 คะแนน)
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง
หน่วยย่อยที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ เวลา 2 ชั่วโมง
สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ………
สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค
และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วัด
มฐ.พ 4.1 ป.2/4 อธิบายอาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วย การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายอาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วยได้
2. นักเรียนสามารถบอกอาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วยได้
3. นักเรียนรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการเจ็บป่วยต่าง ๆ ได้
สาระสาคัญ
การดูแลเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วยและบาดเจ็บอย่างถูกวิธี จะช่วยให้อาการหายเร็วขึ้น
โดยไม่ต้องไปพบแพทย์และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. โรคตาแดง
2. โรคท้องเสีย
3. โรคไข้หวัด
4. โรคไข้เลือดออก
ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย
3. ซื่อสัตย์
4. มุ่งมั่นในการทางาน
5. มีจิตสาธารณะ
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์
2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้
3. ใบงาน
4. แบบทดสอบ
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นเตรียม
1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้
จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน
2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-5คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียน
คละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม
ของตนเอง
3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่ม
ทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน
พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้ ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่มมานาเสนอหน้าชั้น เมื่อมีการทดสอบย่อย
สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น
ขั้นสอน
1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book)
2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้
3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ โรคต่าง ๆ จากหนังสือ
อิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ โดยแต่ละกลุ่ม ศึกษาความรู้เรื่อง โรคน่ารู้
ในหัวข้อ อาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วย ดังนี้
กลุ่มที่ 1 โรคตาแดง
กลุ่มที่ 2 โรคท้องเสีย
กลุ่มที่ 3 โรคไข้หวัด
กลุ่มที่ 4 โรคไข้เลือดออก
4. แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิก
แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์ สรุปรวบรวมความรู้ลงใน
ใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษาและกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม
เนื่องจากมีการให้คะแนนพฤติกรรม
5. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน
มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง
ไม่เข้าใจให้เข้าใจ
6. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมิน
การนาเสนอผลงานของเพื่อน
ขั้นทดสอบ
1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด
2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน
3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ
4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด
5.
นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อไปเทียบกับเกณฑ์คะแ
นนรางวัล
6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน
7.
เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง โรคน่ารู้ โดยครูตั้งคาถามถามนา
ให้นักเรียนช่วยกันตอบ
2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม
โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อยของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ
ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน 10 คะแนน กลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4
คะแนนตามลาดับ
วิธีวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. ทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน
3. การทาผลงานกลุ่ม
เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล
1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
2. แบบทดสอบย่อยหลังเรียน
3. แบบประเมินผลงานกลุ่ม
เกณฑ์การวัดและประเมิน
1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2. การทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
3. การประเมินผลงานกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด
แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ
5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด
4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก
3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย
1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
1. มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม
1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
2. สาระการเรียนรู้
2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ
2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน
2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน
3. กระบวนการเรียนรู้
3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด
3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้
3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม
3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม
3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ
รายการ
ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ
5 4 3 2 1
4. สื่อการเรียนรู้
4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน
5. การวัดผลและประเมินผล
5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้
5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม
5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
...................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายปรารถนา พละมา)
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง
บันทึกผลหลังการสอน
ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
วันที่...........เดือน..................... พ.ศ .............
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต
ที่ ชื่อ-สกุล
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้
มีวินัย
ซื่อสัตย์
มุ่งมั่นในการทางาน
มีจิตสาธารณะ
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อินทรพรหม)
ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์การให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ร
ายการปร
ะเมิน
ระดับคะแนน/คุณภาพ
3(ดีมาก)
2 (ดี)
1(ปรับปรุง)
1.
ใฝ่เรียนรู้
ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้
2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย
3.
ซื่อสัตย์
มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย
4.
มุ่งมั่นใน
การ
ทางาน
มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั
นเวลาที่กาหนด
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
จนเสร็จ
มุ่งมั่นในการทางานเลย
เวลาที่กาหนด
ไม่เสร็จ
5.
มีจิตสาธา
รณะ
มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก
เรื่อง
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
ดี
มีจิตสาธารณะกับเพื่อน
บางเรื่อง
แบบประเมินผลงานกลุ่ม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน
ที่ ชื่อ-สกุล
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
มีความคิดสร้างสร
รค์
มีความสวยงาม
ผลงานมีระเบียบเ
รียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา
รวม
15
สรุป
ผ่าน
ไม่ผ่าน
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(นางนงค์นุช อิทรพรหม)
ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
เกณฑ์ในการให้คะแนน
3 คะแนน = ดีมาก
2 คะแนน = ดี
1 คะแนน = ปรับปรุง
ระดับคุณภาพ
คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง
การประเมินผลงาน
รายการประเมิน 3 2 1
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน
มีความคิดสร้างสรร
ค์
มีความคิดร้างสรรค์
ดีมาก
มีความคิดร้างสรรค์
ปานกลาง
มีความคิดสร้างสรรค์
เล็กน้อย
มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงามมา
ก
ผลงานมีความสวยงา
ม
ปานกลาง
ผลงานมีความสวยงามน้
อย
ผลงานมีระเบียบ
เรียบร้อย
ผลงานมีความสะอาด
เรียบร้อยดีมาก
ผลงานมีความสะอา
ด
เรียบร้อยบ้าง
ผลงานไมสะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้ากว่ากาหนด
1 วัน
ส่งงานช้ากว่ากาหนด
เกิน 1 วัน
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad
แผน Stad

More Related Content

What's hot

วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์Srinakharinwirot University
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 

What's hot (20)

วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 

Similar to แผน Stad

แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdfssuser49d450
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1Montree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2Montree Jareeyanuwat
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2Montree Jareeyanuwat
 
ประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการกะทิ เบาเบา
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนMontira Butyothee
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 

Similar to แผน Stad (20)

แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
1
11
1
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1ประเมินสมศรอบ1
ประเมินสมศรอบ1
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2
 
ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2ประเมินสมศรอบ2
ประเมินสมศรอบ2
 
ประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการประเมินพนักงานราชการ
ประเมินพนักงานราชการ
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
Psychology
PsychologyPsychology
Psychology
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียนโครงการนิเทศภายในโรงเรียน
โครงการนิเทศภายในโรงเรียน
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 

แผน Stad

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ……… สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มฐ.พ 4.1 ป.2/1 บอกลักษณะของการมีสุขภาพดี จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของการมีสุขภาพดีได้ 2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของคนที่มีสุขภาพดีได้ 3. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดีได้ สาระสาคัญ ผู้ที่มีสุขภาพดี จะมีร่างกายที่แข็งแรง จิตใจร่าเริง แจ่มใส ดารงชีวิตอยู่ในสังคม อย่างปลอดภัยและมีความสุข สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1. ลักษณะของการมีสุขภาพดี 2. การปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย
  • 2. 3. ซื่อสัตย์ 4. มุ่งมั่นในการทางาน 5. มีจิตสาธารณะ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข 3. ใบงาน 4. แบบทดสอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียม 1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-5คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียน คละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม ของตนเอง 3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้ ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่มมานาเสนอหน้าชั้น เมื่อมีการทดสอบย่อย สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น ขั้นสอน 1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) 2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข 3. ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาว่าเพื่อนในห้องคนใดมีลักษณะของการมีสุขภาพดี จากนั้นให้นักเรียนที่เพื่อนคิดว่าเป็นคนที่มีลักษณะของการมีสุขภาพดี ออกมานาเสนอวิธีการปฏิบัติตนให้เป็นคนที่มีสุขภาพดี โดยครูใช้คาถาม ดังนี้ * นักเรียนมีวิธีปฏิบัติตนอย่างไร เพื่อให้มีสุขภาพที่ดี
  • 3. 4. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ลักษณะของการมีสุขภาพดี การปฏิบัติตนเพื่อสุขภาพที่ดี จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 1 เรื่อง สุขภาพดีมีสุข โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิกแต่ละกลุ่ม แบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูลให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์ สรุปรวบรวมความรู้ลงในใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษา และกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม เนื่องจาก มีการให้คะแนนพฤติกรรม 5. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง ไม่เข้าใจให้เข้าใจ 6. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมินการ นาเสนอผลงานของเพื่อน ขั้นทดสอบ 1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด 2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน 3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 5. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อไปเทียบกับเกณฑ์คะแ นนรางวัล 6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน 7. เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง สุขภาพดีมีสุข ดังนี้ ผู้ที่มีสุขภาพดี จะมี ร่างกายที่แข็งแรง มีจิตใจ ร่าเริงแจ่มใส และรู้สึกปลอดภัยทั้งอยู่ในบ้านและโรงเรียน ดารงชีวิต ในสังคมได้อย่างมีความสุข 2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อย ของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน 10 คะแนนกลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4 คะแนนตามลาดับ วิธีวัดและประเมินผล
  • 4. 1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD 2. ทาแบบทดสอบย่อย 3. การทาผลงานกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD 2. แบบทดสอบย่อย 3. แบบประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การวัดและประเมิน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2. การทาแบบทดสอบย่อย ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 3. การประเมินผลงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
  • 5. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ 5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก 3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย 1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้ 1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ 1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม 1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ 2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน 2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน 3. กระบวนการเรียนรู้ 3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด
  • 6. 3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ 3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม 3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 4. สื่อการเรียนรู้ 4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ 4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน 5. การวัดผลและประเมินผล 5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม 5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ (นายปรารถนา พละมา) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง
  • 7. บันทึกผลหลังการสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง วันที่...........เดือน..................... พ.ศ .............
  • 8. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต ที่ ชื่อ-สกุล ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27
  • 9. ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ ร ายการปร ะเมิน ระดับคะแนน/คุณภาพ 3(ดีมาก) 2 (ดี) 1(ปรับปรุง) 1. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย 3. ซื่อสัตย์ มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย 4. มุ่งมั่นใน การ มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั นเวลาที่กาหนด มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด จนเสร็จ มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด ไม่เสร็จ
  • 10. ทางาน 5. มีจิตสาธา รณะ มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก เรื่อง มีจิตสาธารณะกับเพื่อน ดี มีจิตสาธารณะกับเพื่อน บางเรื่อง แบบประเมินผลงานกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน ที่ ชื่อ-สกุล ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ มีความคิดสร้างสร รค์ มีความสวยงาม ผลงานมีระเบียบเ รียบร้อย ส่งงานตรงเวลา รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22
  • 11. 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อิทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์ในการให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง การประเมินผลงาน รายการประเมิน 3 2 1 ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน มีความคิดสร้าง สรรค์ มีความคิดร้างสรรค์ ดีมาก มีความคิดร้างสรรค์ ปานกลาง มีความคิดสร้างสรรค์ เล็กน้อย มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงา มมาก ผลงานมีความสวยงาม ปานกลาง ผลงานมีความสวยงามน้อ ย ผลงานมีระเบียบ เรียบร้อย ผลงานมีความสะอา ด ผลงานมีความสะอาด เรียบร้อยบ้าง ผลงานไมสะอาดและ ไม่เรียบร้อย
  • 12. เรียบร้อยดีมาก ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้าเกินเวลากาหนดนิ ดหน่อย ส่งงานช้ากว่าเวลากาหนด ไปมาก แบบบันทึกคะแนนการประเมินระหว่างเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เลข ที่ ชื่อ-สกุล การประเมินพฤติกรรม การเรียนรู้ (30 คะแนน) การประเมิน ผลงานกลุ่ม (40 คะแนน) ทดสอบ ท้ายบทเรียน (30 คะแนน) รวม (100 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
  • 13. 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ……… สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มฐ.พ 4.1 ป.2/2 เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายหลักในการเลือกอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายได้ 2. นักเรียนสามารถบอกวิธีหลีกเลี่ยงอาหารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพได้ 3. นักเรียนสามารถเลือกอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้ สาระสาคัญ การรับประทานอาหารควรเลือกที่มีประโยชน์ เพื่อทาให้ร่างกายแข็งแรง และเจริญเติบโตสมวัย สาระการเรียนรู้ ความรู้
  • 14. 1. อาหารที่มีประโยชน์ 2. อาหารที่ไม่มีประโยชน์ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. ซื่อสัตย์ 4. มุ่งมั่นในการทางาน 5. มีจิตสาธารณะ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร 3. ใบงาน 4. แบบทดสอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียม 1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม กลุ่มละ 4-5คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียนคละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่มของตนเอง 3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้ ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่ม มานาเสนอหน้าชั้น เมื่อมีการทดสอบย่อย สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น
  • 15. ขั้นสอน 1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) 2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือก บริโภคอาหาร 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ อาหารที่มีประโยชน์และอาหาร ที่ไม่มีประโยชน์ จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 2 เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิกแต่ละกลุ่ม แบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์ สรุปรวบรวมความรู้ลงในใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษาและกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม เนื่องจากมีการให้คะแนนพฤติกรรม 4. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง ไม่เข้าใจให้เข้าใจ 5. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมิน การนาเสนอผลงานของเพื่อน ขั้นทดสอบ 1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด 2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน 3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 5. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อ ไปเทียบกับเกณฑ์คะแนนรางวัล 6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน 7. เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง อาหารที่มีประโยชน์และอาหาร ที่ไม่มีประโยชน์ โดยครูตั้งคาถามถามนาให้นักเรียนช่วยกันตอบ 2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อย ของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน 10 คะแนน กลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4 คะแนนตามลาดับ
  • 16. วิธีวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ทาแบบทดสอบย่อย 3. ผลงาน เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบทดสอบย่อยหลังเรียน 3. แบบประเมินผลงาน เกณฑ์การวัดและประเมิน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2. การทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 3. การประเมินผลงานกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
  • 17. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ 5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก 3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย 1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้ 1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ 1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม 1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ 2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด
  • 18. 2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน 2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน 3. กระบวนการเรียนรู้ 3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด 3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ 3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม 3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 4. สื่อการเรียนรู้ 4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ 4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน 5. การวัดผลและประเมินผล 5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม 5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ (นายปรารถนา พละมา) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง
  • 19. บันทึกผลหลังการสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง วันที่...........เดือน..................... พ.ศ .............
  • 20. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต ที่ ชื่อ-สกุล ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21
  • 21. 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ ร ายการปร ะเมิน ระดับคะแนน/คุณภาพ 3(ดีมาก) 2 (ดี) 1(ปรับปรุง) 1. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย 3. มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย
  • 22. ซื่อสัตย์ 4. มุ่งมั่นใน การ ทางาน มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั นเวลาที่กาหนด มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด จนเสร็จ มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด ไม่เสร็จ 5. มีจิตสาธา รณะ มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก เรื่อง มีจิตสาธารณะกับเพื่อน ดี มีจิตสาธารณะกับเพื่อน บางเรื่อง แบบประเมินผลงานกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน ที่ ชื่อ-สกุล ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ มีความคิดสร้างสร รค์ มีความสวยงาม ผลงานมีระเบียบเ รียบร้อย ส่งงานตรงเวลา รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
  • 23. 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อิทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์ในการให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง การประเมินผลงาน รายการประเมิน 3 2 1 ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน มีความคิดสร้างสรร ค์ มีความคิดร้างสรรค์ ดีมาก มีความคิดร้างสรรค์ ปานกลาง มีความคิดสร้างสรรค์ เล็กน้อย
  • 24. มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงามมา ก ผลงานมีความสวยงา ม ปานกลาง ผลงานมีความสวยงามน้ อย ผลงานมีระเบียบ เรียบร้อย ผลงานมีความสะอาด เรียบร้อยดีมาก ผลงานมีความสะอา ด เรียบร้อยบ้าง ผลงานไมสะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้ากว่ากาหนด 1 วัน ส่งงานช้ากว่ากาหนด เกิน 1 วัน แบบบันทึกคะแนนการประเมินระหว่างเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เลข ที่ ชื่อ-สกุล การประเมินพฤติกรรม การเรียนรู้ (30 คะแนน) การประเมิน ผลงานกลุ่ม (40 คะแนน) ทดสอบ ท้ายบทเรียน (30 คะแนน) รวม (100 คะแนน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
  • 25. 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเลือกของเล่นและของใช้ให้ปลอดภัย เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ……… สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มฐ.พ 4.1 ป.2/3 ระบุของใช้และของเล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพได้ 2. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพได้ 3. นักเรียนสามารถบอกชื่อของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพได้
  • 26. สาระสาคัญ การเลือกใช้ของใช้และของเล่นที่เหมาะสม จะทาให้เกิดความปลอดภัย สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1. ของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ 2. ของเล่นที่มีผลเสียต่อสุขภาพ ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. ซื่อสัตย์ 4. มุ่งมั่นการทางาน 5. มีจิตสาธารณะ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 3 เรื่อง ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อ สุขภาพ 3. ใบงาน 4. แบบทดสอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียม 1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 3 เรื่อง ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-5 คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียน คละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม ของตนเอง
  • 27. 3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่มทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้ ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่มมานาเสนอหน้าชั้น เมื่อมีการทดสอบย่อย สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น ขั้นสอน 1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) 2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 3 เรื่อง ของเล่น และของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสีย ต่อสุขภาพ จากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 3 เรื่อง ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ โดยให้แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิก แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์ สรุปรวบรวมความรู้ลงใน ใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษาและกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม เนื่องจากมีการให้คะแนนพฤติกรรม 4. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง ไม่เข้าใจให้เข้าใจ 5. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมิน การนาเสนอผลงานของเพื่อน ขั้นทดสอบ 1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด 2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน 3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 5. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อไปเทียบกับเกณฑ์คะแ นนรางวัล 6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน
  • 28. 7. เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง ของเล่นและของใช้ที่มีผลเสีย ต่อสุขภาพโดยครูตั้งคาถามถามนาให้นักเรียนช่วยกันตอบ 2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อยของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน 10 คะแนน กลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4 คะแนนตามลาดับ วิธีวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ทาแบบทดสอบย่อย 3. การทาผลงานกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบทดสอบย่อยหลังเรียน 3. แบบประเมินผลงาน เกณฑ์การวัดและประเมิน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2. การทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 3. การประเมินผลงานกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
  • 29. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ 5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก 3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย 1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
  • 30. รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้ 1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ 1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม 1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ 2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน 2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน 3. กระบวนการเรียนรู้ 3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด 3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ 3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม 3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 4. สื่อการเรียนรู้ 4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ 4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน 5. การวัดผลและประเมินผล 5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม
  • 31. 5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ (นายปรารถนา พละมา) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง บันทึกผลหลังการสอน ผลการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................
  • 32. ลงชื่อ (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง วันที่...........เดือน..................... พ.ศ ............. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต ที่ ชื่อ-สกุล ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4
  • 33. 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์
  • 34. ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ ร ายการปร ะเมิน ระดับคะแนน/คุณภาพ 3(ดีมาก) 2 (ดี) 1(ปรับปรุง) 1. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย 3. ซื่อสัตย์ มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย 4. มุ่งมั่นใน การ ทางาน มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั นเวลาที่กาหนด มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด จนเสร็จ มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด ไม่เสร็จ 5. มีจิตสาธา รณะ มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก เรื่อง มีจิตสาธารณะกับเพื่อน ดี มีจิตสาธารณะกับเพื่อน บางเรื่อง แบบประเมินผลงานกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน ที่ ชื่อ-สกุล ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ มีความคิดสร้างสร รค์ มีความสวยงาม ผลงานมีระเบียบเ รียบร้อย ส่งงานตรงเวลา รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน
  • 35. 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อิทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์ในการให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี
  • 36. คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง การประเมินผลงาน รายการประเมิน 3 2 1 ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน มีความคิดสร้างสรร ค์ มีความคิดร้างสรรค์ ดีมาก มีความคิดร้างสรรค์ ปานกลาง มีความคิดสร้างสรรค์ เล็กน้อย มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงามมา ก ผลงานมีความสวยงา ม ปานกลาง ผลงานมีความสวยงามน้ อย ผลงานมีระเบียบ เรียบร้อย ผลงานมีความสะอาด เรียบร้อยดีมาก ผลงานมีความสะอา ด เรียบร้อยบ้าง ผลงานไมสะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้ากว่ากาหนด 1 วัน ส่งงานช้ากว่ากาหนด เกิน 1 วัน แบบบันทึกคะแนนการประเมินระหว่างเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เลข ที่ ชื่อ-สกุล การประเมินพฤติกรรม การเรียนรู้ (30 คะแนน) การประเมิน ผลงานกลุ่ม (40 คะแนน) ทดสอบ ท้ายบทเรียน (30 คะแนน) รวม (100 คะแนน)
  • 37. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ เวลา 12 ชั่วโมง หน่วยย่อยที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ เวลา 2 ชั่วโมง
  • 38. สอนวันที่………เดือน…………………พ.ศ……… สาระที่ 4: การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค มาตรฐานที่ พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพการดารงสุขภาพการป้ องกันโรค และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มฐ.พ 4.1 ป.2/4 อธิบายอาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วย การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายอาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วยได้ 2. นักเรียนสามารถบอกอาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วยได้ 3. นักเรียนรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการเจ็บป่วยต่าง ๆ ได้ สาระสาคัญ การดูแลเบื้องต้นเมื่อเจ็บป่วยและบาดเจ็บอย่างถูกวิธี จะช่วยให้อาการหายเร็วขึ้น โดยไม่ต้องไปพบแพทย์และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล สาระการเรียนรู้ ความรู้ 1. โรคตาแดง 2. โรคท้องเสีย 3. โรคไข้หวัด 4. โรคไข้เลือดออก ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย 3. ซื่อสัตย์
  • 39. 4. มุ่งมั่นในการทางาน 5. มีจิตสาธารณะ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ 3. ใบงาน 4. แบบทดสอบ กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นเตรียม 1. ครูจัดเตรียมเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ จัดเตรียมใบงาน แบบทดสอบย่อยก่อนและหลังเรียน 2. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4-5คน โดยแต่ละกลุ่ม นักเรียน คละความสามารถเป็นคนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน อ่อน 2 คน และให้แต่ละกลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม ของตนเอง 3. ครูแจ้งวิธีการเรียนรู้กลุ่มร่วมมือแบบ STAD ให้นักเรียนเข้าใจอีกครั้งว่าสมาชิกกลุ่ม ทุกคนต้องมีบทบาทหน้าที่รับผิดชอบ คอยช่วยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน พยายามค้นหาและแสวงหาความรู้ ทาความเข้าใจใบงานที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้ได้ผลงานกลุ่มมานาเสนอหน้าชั้น เมื่อมีการทดสอบย่อย สมาชิกแต่ละกลุ่มต้องพยายามทาคะแนนของตนเองให้ดีที่สุดเพื่อกลุ่มจะได้มีคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้น ขั้นสอน 1. ครูอธิบายและชี้แจงขั้นตอนการเรียนรู้ตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e– book) 2. ครูอธิบายเนื้อหาตามหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับ โรคต่าง ๆ จากหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e –book) ชุดที่ 4 เรื่อง โรคน่ารู้ โดยแต่ละกลุ่ม ศึกษาความรู้เรื่อง โรคน่ารู้ ในหัวข้อ อาการและวิธีป้องกันการเจ็บป่วย ดังนี้ กลุ่มที่ 1 โรคตาแดง กลุ่มที่ 2 โรคท้องเสีย กลุ่มที่ 3 โรคไข้หวัด กลุ่มที่ 4 โรคไข้เลือดออก
  • 40. 4. แต่ละกลุ่มช่วยกันศึกษาคาสั่งจากใบงาน เพื่อวางแผนในการค้นหาข้อมูล สมาชิก แต่ละกลุ่มแบ่งหน้าที่ในการค้นหาข้อมูล ให้นักเรียน ศึกษา วิเคราะห์ สรุปรวบรวมความรู้ลงใน ใบงานที่ได้รับมอบหมายโดยมีครูคอยให้คาแนะนา ปรึกษาและกาชับให้นักเรียนทุกคนร่วมกิจกรรม เนื่องจากมีการให้คะแนนพฤติกรรม 5. ครูคอยให้การสนับสนุนการทางานกลุ่มของนักเรียน แนะนาอธิบายเมื่อนักเรียน มีปัญหา ส่งเสริมและกระตุ้นให้นักเรียนที่เรียนเก่งหรือนักเรียนที่เข้าใจเนื้อหาอธิบายให้เพื่อนที่ยัง ไม่เข้าใจให้เข้าใจ 6. จับสลากตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานก่อนหลังนักเรียนและครูร่วมกันประเมิน การนาเสนอผลงานของเพื่อน ขั้นทดสอบ 1. ครูแจกแบบทดสอบให้นักเรียนคนละ 1 ชุด 2. นักเรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบโดยไม่ปรึกษากัน 3. เมื่อทาแบบทดสอบเสร็จแล้ว ให้นักเรียนเปลี่ยนกระดาษคาตอบ เพื่อสลับกันตรวจ 4. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคาตอบ พร้อมกับชมเชยผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 5. นาคะแนนของทุกคนในกลุ่มมารวมกันแล้วหาค่าเฉลี่ยเป็นคะแนนของกลุ่มเพื่อไปเทียบกับเกณฑ์คะแ นนรางวัล 6. เก็บคะแนนจริงของนักเรียนแต่ละคนเป็นผลการทดสอบย่อยของบทเรียน 7. เก็บคะแนนพฤติกรรมการเรียนและคะแนนนาเสนอผลงานไว้เป็นคะแนนเก็บระหว่างเรียน ขั้นสรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้เรื่อง โรคน่ารู้ โดยครูตั้งคาถามถามนา ให้นักเรียนช่วยกันตอบ 2. นักเรียนช่วยกันประเมินผลการทางานกลุ่ม โดยนาคะแนนผลการทดสอบย่อยของสมาชิกแต่ละคนมารวมกันเป็นคะแนนของกลุ่ม ๆ ที่ได้คะแนนสูงสุดได้รางวัลพิเศษเป็นคะแนน 10 คะแนน กลุ่มที่ได้คะแนนรองลามาได้ 8, 6, 4 คะแนนตามลาดับ วิธีวัดและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
  • 41. 2. ทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน 3. การทาผลงานกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้วัดและประเมินผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบทดสอบย่อยหลังเรียน 3. แบบประเมินผลงานกลุ่ม เกณฑ์การวัดและประเมิน 1. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2. การทาแบบทดสอบย่อยหลังเรียน นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 3. การประเมินผลงานกลุ่ม นักเรียนทุกคนมีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา แบบประเมินแผนการเรียนรู้แบบ STAD
  • 42. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สาหรับผู้อานวยการโรงเรียน แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 คาชี้แจง โปรดพิจารณาแบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละรายการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด แล้วกาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ซึ่งมี 5 ระดับ คือ 5 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด 4 คะแนน หมายถึง เหมาะสมมาก 3 คะแนน หมายถึง เหมาะสมปานกลาง 2 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อย 1 คะแนน หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้ 1.1 สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ 1.2 ครอบคลุมด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม 1.3 สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 1.4 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 2. สาระการเรียนรู้ 2.1 มีความถูกต้อง เข้าใจง่าย และน่าสนใจ 2.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 2.3 เหมาะสมกับระดับชั้นของนักเรียน 2.4 ชัดเจน เนื้อหาเหมาะสมกับเวลาเรียน 3. กระบวนการเรียนรู้ 3.1 ตอบสนองตัวชี้วัด 3.2 ครอบคลุมสาระการเรียนรู้ 3.3 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม 3.4 นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนภายในกลุ่ม 3.5 กระตุ้นให้นักเรียนมีผลงานจากการปฏิบัติ รายการ ระดับคุณภาพของการปฏิบัติ 5 4 3 2 1
  • 43. 4. สื่อการเรียนรู้ 4.1 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 4.2 ส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ 4.3 นักเรียนมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ 4.4 ช่วยประหยัดเวลาในการสอน 5. การวัดผลและประเมินผล 5.1 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 5.2 สอดคล้องกับตัวชี้วัด 5.3 ใช้เครื่องมือวัดผลได้เหมาะสม 5.4 วัดผลได้ครอบคลุมกระบวนการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ (นายปรารถนา พละมา) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านดงต้อง บันทึกผลหลังการสอน ผลการเรียนรู้ .............................................................................................................................
  • 44. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ปัญหาและอุปสรรค ................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง วันที่...........เดือน..................... พ.ศ ............. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
  • 45. คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย  ถ้านักเรียนมีพฤติกรรมตามรายการสังเกต ที่ ชื่อ-สกุล ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซื่อสัตย์ มุ่งมั่นในการทางาน มีจิตสาธารณะ รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ....................................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อินทรพรหม) ครูโรงเรียนบ้านดงต้อง เกณฑ์การให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก
  • 46. 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การประเมินผลพิจารณา ดังนี้ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมร้อยละ 80 ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ ถ้าทาพฤติกรรมย่อยได้รวมน้อยกว่าร้อยละ 80 ถือว่า ไม่ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ ร ายการปร ะเมิน ระดับคะแนน/คุณภาพ 3(ดีมาก) 2 (ดี) 1(ปรับปรุง) 1. ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ทุกเรื่อง ใฝ่เรียนรู้ ใฝ่เรียนรู้ 2. มีวินัย มีวินัยในตนเองดีมาก มีวินัยในตนเองดี มีวินัยในตนเองน้อย 3. ซื่อสัตย์ มีความซื่อสัตย์ดีมาก มีความซื่อสัตย์ดี มีความซื่อสัตย์น้อย 4. มุ่งมั่นใน การ ทางาน มุ่งมั่นในการทางานเสร็จทั นเวลาที่กาหนด มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด จนเสร็จ มุ่งมั่นในการทางานเลย เวลาที่กาหนด ไม่เสร็จ 5. มีจิตสาธา รณะ มีจิตสาธารณะกับเพื่อนทุก เรื่อง มีจิตสาธารณะกับเพื่อน ดี มีจิตสาธารณะกับเพื่อน บางเรื่อง
  • 47. แบบประเมินผลงานกลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 คาชี้แจง ให้เขียนเครื่องหมาย (เครื่องหมายถูก) ตามรายการประเมิน ที่ ชื่อ-สกุล ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ มีความคิดสร้างสร รค์ มีความสวยงาม ผลงานมีระเบียบเ รียบร้อย ส่งงานตรงเวลา รวม 15 สรุป ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน (นางนงค์นุช อิทรพรหม) ครู โรงเรียนบ้านดงต้อง
  • 48. เกณฑ์ในการให้คะแนน 3 คะแนน = ดีมาก 2 คะแนน = ดี 1 คะแนน = ปรับปรุง ระดับคุณภาพ คะแนน 13-15 หมายถึง ดีมาก คะแนน 10-12 หมายถึง ดี คะแนน 1-9 หมายถึง ปรับปรุง การประเมินผลงาน รายการประเมิน 3 2 1 ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ตามหลักวิชาการ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องบางส่วน มีความคิดสร้างสรร ค์ มีความคิดร้างสรรค์ ดีมาก มีความคิดร้างสรรค์ ปานกลาง มีความคิดสร้างสรรค์ เล็กน้อย มีความสวยงาม ผลงานมีความสวยงามมา ก ผลงานมีความสวยงา ม ปานกลาง ผลงานมีความสวยงามน้ อย ผลงานมีระเบียบ เรียบร้อย ผลงานมีความสะอาด เรียบร้อยดีมาก ผลงานมีความสะอา ด เรียบร้อยบ้าง ผลงานไมสะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งงานตรงเวลา ส่งงานตรงเวลา ส่งงานช้ากว่ากาหนด 1 วัน ส่งงานช้ากว่ากาหนด เกิน 1 วัน