SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
                      เป็นรายบุคคล
          (Personal Self Assessment Report)




                 นางสาวธัญชนก คาวินิจ
        ตาแหน่ง ครู อันดับ คศ. ๑ วิทยฐานะ -
                 โรงเรียนสบเมยวิทยาคม
       สานักงานเขตพื้นที่การศีกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔



    ผู้ตรวจบันทึก
                  (นางศิริลักษณ์ วงค์คา)
        ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ รักษาราชการแทน
            ผู้อานวยการโรงเรียนสบเมยวิทยาคม
             วันที่ ๓๑ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕


-
-๒-
๑. ข้อมูลทั่วไป
   ชื่อ นางสาวธัญชนก        นามสกุล         คาวินิจ                                                 .
   ตาแหน่ง ครู         คศ . ๑       วิทยฐานะ                                                        อายุ                        ปี
   ปฏิบัติราชการเป็นเวลา    ๖      ปี       ๕             ปี
   ปฏิบัติงานหลัก                                         .ฝุาย
   .
   กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
   .
   วุฒิการศึกษา  เทียบเท่า/อนุปริญญาตรี .................................            วิชาเอก ..................................
                   ปริญญาตรี วิชาเอก วิทยาการคอมพิวเตอร์                             วิชาโท ....................................
                   ปริญญาโท สาขา ................................. วิชาเอก ..................................
                   ปริญญาเอก         สาขา ....................................................................................

๒. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่
    ๒.๑ ด้านการสอน ในปีการศึกษา ๒๕๕๔
       ภาคเรียนที่ ๑ /๒๕๕๔
       ปฏิบัติการสอน จานวน ๕ รายวิชา จานวน ๙ ห้อง จานวน ๒๒                                            คาบ/ชม. ดังนี้
ตาราง ๑ แสดงจานวนรายวิชา ห้องเรียน นักเรียน คาบเรียน ที่ปฏิบัติการสอน
ที่             รายวิชา                     ห้อง            จานวน นร.                                      จานวนคาบ/ชม
๑ ง ๒๑๑๐๑                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑         ๙๒                                    จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์
    การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑
๒ ง ๒๓๑๐๑                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓         ๗๘                                    จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์
    การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖
๓ ง ๓๑๒๔๔                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔        ๑๐๗                                    จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์
    เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑
๔ ง ๓๓๑๐๑                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖         ๘๐                                    จานวน ๒ คาบ / สัปดาห์
    การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕
๕ ง ๓๓๒๔๖                          ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖         ๔๐                                    จานวน ๒ คาบ / สัปดาห์
    เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖
-๓-
        ภาคเรียนที่ ๒ /๒๕๕๔
       ปฏิบัติการสอน จานวน ๔          รายวิชา จานวน          ๙        ห้อง จานวน ๒๑ คาบ/ชม.
    ดังนี้
ตาราง ๒ แสดงจานวนรายวิชา ห้องเรียน นักเรียน คาบเรียน ที่ปฏิบัติการสอน
ที่              รายวิชา                        ห้อง              จานวน นร.          จานวนคาบ/ชม
๑ ง ๒๒๑๐๒                               ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒       ๑๐๑          จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์
    การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔
๒ ง ๓๒๑๐๒                              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕         ๗๘          จานวน ๓ คาบ / สัปดาห์
    การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔
๓ ง ๓๒๒๔๕                              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕         ๕๐          จานวน ๔ คาบ / สัปดาห์
    เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕
๔ ง ๒๑๒๐๕ คอมพิวเตอร์ ๒                 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑        ๒๒          จานวน ๒ คาบ / สัปดาห์
๕ คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ              ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔       ๑๐๐          จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์


       ๒.๒ หน้าที่พิเศษอื่น ได้แก่
        1) ครูทปรึกษานักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๑ มีจานวนนักเรียน
                ี่                                                                     ๒๘ คน
        2) ปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษาหมู่บ้าน คอนผึ้ง  มีจานวนนักเรียน       ๕๐ คน
        3) หน้าที่ภายในกลุ่มสาระ คือ
            หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
            หัวหน้างานคอมพิวเตอร์
        4) หน้าที่อื่น ๆ ได้แก่
               ๔.๑. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ – เนตรนารี            จานวน ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์
               ๔.๒ กิจกรรมชุมนุม IT-Genius                             จานวน ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์
               ๔.๓ กิจกรรมพัฒนาจิต                                     จานวน ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์
               ๔.๔ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง                              จานวน ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์
               ๔.๕ กิจกรรมเพื่อนสังคมและสาธารณะประโยชน์ ชั้น ม.๑/๑-๓         จานวน ๓ ชั่วโมง /
            สัปดาห์
               ๔.๖. ) เป็นผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศและระบบเครือข่าย ทาหน้าที่ดังนี้
                        - ดาเนินการวางแผนและพัฒนาระบบเครือข่ายภายในโรงเรียน
                        - ดาเนินการวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศภายในโรงเรียน
                        - ดาเนินการจัดซ่อมบารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ภายในโรงเรียน
-๔-
                 ๔.๗.) เป็นหัวหน้างานสื่อ และนวัตกรรมทางการศึกษา ทาหน้าที่ดังนี้
                          - ทาหน้าที่ในการจัดหาสื่อ และพัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษา
                 ๔.๘.) เป็นครูที่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ / ๑ ได้จัดทาธุรการประจาชั้น เช่น ปพ.๔, ปพ.
๕,ปพ.๘ และ ปพ.๙ ตกแต่งชั้นเรียน จัดทาเอกสารของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ออกเยี่ยมบ้าน ให้
คาปรึกษา แนะนาแก่นักเรียน
                 ๔.๙.) เป็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้ทาหน้าที่ควบคุม ดูแล
กากับ ติดตามการดาเนินงานของกลุ่มสาระ กาหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้าน
และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายอื่นๆ
                 ๔.๑๐) เป็นผู้ดูแลโครงการ eDLTV
                 ๔.๑๑) งานการส่งเสริมวิชาการองค์กรและชุมชน ได้ทาหน้าที่ ดาเนินการศึกษาสารวจความ
ต้องการการให้การสนับสนุนงานวิชาการแก่ชุมชน และจัดให้ความรู้ เสริมสร้างความคิด และเทคนิค ทักษะ
วิชาการเพื่อพัฒนาทักษะชาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ท้องถิ่นทั้งในเรื่องของพฤติกรรมทั่วไป การแต่ง
กาย การมาโรงเรียนให้ทันเวลา ยาเสพติด หรือชู้สาว เป็นต้น
                 ๔.๑๒ ) กิจกรรมหรืองานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การอยู่เวรยามรักษาการณ์ การดูแล
สุขลักษณะของหอพักและนักเรียนพักนอน และงานอื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ
                 ๔.๑๓) งานนิเทศการสอน ได้นิเทศการสอนครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี จานวน ๕ ท่าน
๓. การพัฒนาด้วยตนเอง
        ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ดังนี้
        ๑) กิจกรรมการพัฒนาด้วยตนเอง ในด้าน
             การจัดทาแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด ได้แก่
                 - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ ม.๑
                 - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ม.๒
                 - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ม.๓
                 - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ม.๕
                 - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ม.๖
                 - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑
                 - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔
                 - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕
                 - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖
                 - รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๒
-๕-
             เทคนิค/วิธีการสอน ได้แก่ วิธีสอนแบบระดมพลังสมอง (Brainstorming) ,วิธีการสอนโดยการ
ลงมือปฏิบัติ (Practice) ,วิธีสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) ,วิธีสอนแบบโครงการ (Project
Method)
             การผลิตและการใช้สื่อได้แก่ สื่อของจริง ใบความรู้ ใบงาน แหล่งเรียนรู้ภายในและนอก
โรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์/Internet สถานีวิจัยและทดสอบพันธุ์สัตว์ สถานีทดสอบพันธุ์พืช
โรงไฟฟูาเซลล์แสงอาทิตย์ผาบ่อง ศูนย์อาเซียนศึกษาแม่ฮ่องสอน ศูนย์พัฒนาทักษะและการเรียนรู้ICT
แม่ฮ่องสอน เป็นต้น
             โครงงานคอมพิวเตอร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑-๖/๒
             การทาแฟูมสะสมงาน ของ                  ครู              นักเรียน
             วิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ และ
   มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ที่มีต่อครูผู้สอนในการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และวิชาการงานอาชีพและ
   เทคโนโลยี
             การทาแฟูมพัฒนางาน ชิ้นงานเด่นที่อยู่ในแฟูมพัฒนางาน ได้แก่
                 ๑. ชื่อชิ้นงาน/เรื่อง การสร้างโปรแกรมเกมฝึกพิมพ์
                 ๒. ชื่อชิ้นงาน/เรื่อง การสร้างตัวอักษรล้านนาด้วยคอมพิวเตอร์
             ร่วม/จัดอบรม สัมมนา ประชุมปฏิบัติการที่
                 ๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
                        เทคโนโลยี ในวันที่ ๗ – ๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน
                        โรงเรียนในฝัน: ศูนย์แม่ข่ายจังหวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
                        โรงเรียนสบเมยวิทยาคม
                 ๒. คณะกรรมการตัดสินการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา
                        ๒๕๕๔”สุดยอดนักเรียนไทย ก้าวไกลในอาเซียน” ระดับมัธยมศึกษา ระหว่างวันที่ ๕ –
                        ๗ ตุลาคม ๕๔
                 ๓. ประชุมวางแผนและติดตามผลการดาเนินงาน web ๒.๐ เพื่อสนับสนุนการเรียนการ
                        สอน ระว่างวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔
                 ๔. เป็นวิทยากรร่วมในการเสวนาเรื่องการบูรณาการการใช้ ICT ในการจัดกาเรียนรู้ด้วย
                        โครงงาน ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้
                        ตัวคุณ” ระหว่างวันที่ ๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
                 ๕. เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่อง คอมพิวเตอร์พื้นฐานให้กับนักศึกษาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน
                        อาเภอสบเมย ระหว่างวันที่ ๕-๗ มีนาคม. ๒๕๕๕
-๖-
                    ร่วม/จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูแกนนากับครูเครือข่ายในเรื่องดังนี้
                      ๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
                             เทคโนโลยี ในวันที่ ๗ – ๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน
                             โรงเรียนในฝัน: ศูนย์แม่ข่ายจังหวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
                             โรงเรียนสบเมยวิทยาคม
                    ร่วม/จัดเวที เสวนาทางวิชาการ
                      ๑. เป็นวิทยากรร่วมในการเสวนาเรื่องการบูรณาการการใช้ ICT ในการจัดกาเรียนรู้ด้วย
                             โครงงาน ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้
                             ตัวคุณ” ระหว่างวันที่ ๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

                 ร่วมจัดสัมมนากลุ่มย่อย เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน เป็นวิทยากรร่วมในการเสวนาเรื่องการบูรณา
             การการใช้ ICT ในการจัดกาเรียนรู้ด้วยโครงงาน ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาด
             ไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ” ระหว่างวันที่ ๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

                    ร่วม/จัดสาธิตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.................................................................................................................................................................................
.............................................................................

               นิเทศ เยี่ยมเยียน พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
.................................................................................................................................................................................
........................................................................

              ทัศนศึกษา ดูงาน
                   ๑. โครงการพัฒนาทักษะ ๕ อาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ใน
วันที่ ๒๓ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๕ โดยไปศึกษาดูงาน ณ.สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์แม่ฮ่องสอน สถานีวิจัย
พันธุ์พืชแม่ฮ่องสอน โรงไฟฟูาเซลล์แสงอาทิตย์ผาบ่อง ศูนย์อาเซียนศึกษาแม่ฮ่องสอน ศูนย์พัฒนาทักษะและการ
เรียนรู้ICTแม่ฮ่องสอน อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
                 ๒. โครงการทัศนศึกษาของโรงเรียนสบเมยวิทยาคม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ในวันที่ ๔
เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ณ.สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
                 ๓. โครงการทัศนศึกษาของโรงเรียนสบเมยวิทยาคม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในวันที่ ๑๙-
๒๑ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ณ.วนอุทธยานปราณบุรี อาเภอปราณบุรี ,เพลินวาน อาเภอหัวหินจังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์, พระรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) ,หาดชะอา อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
-๗-
                    วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ที่มีต่อ
                    ครูผู้สอนในการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

                   เผยแพร่ผลงาน
             ...................................................................................................................................................................
             ............................................................................................................................. ....

                    อื่น ๆ ได้แก่
                   1) เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ จาก
                      การแข่งขัน โปสเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ
                      “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ”
                   2) เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จาก
                      การแข่งขัน โครงงานคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที
                      : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ”
                   3) เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จาก
                      การแข่งขัน โครงงานคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที
                      : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ”

๔. ความต้องการ สภาพปัญหา เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
              ๔.๑ ความต้องการหรือจุดมุ่งหมายของหลักสูตร/พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
............................................................................................................................. ....................................................
.................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ....................................................
............................................................................................................................. ....................................................
........................................................................................................................................................................ .........
................................................................................................................................................................
              ๔.๒ สภาพทั่วไป/สภาพปัญหาของผู้เรียน
............................................................................................................................. ..................................
...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
............................................................................................................................. ..................................
...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
-๘-
              ๔.๓ เปูาหมายของการพัฒ นานักเรียน(ระบุจุดประสงค์ของหลักสู ตรและรายวิชาประกอบเกณฑ์
มาตรฐานของโรงเรียน)
............................................................................................................................. ..................................
...................................................................................................................................................... .........
......................................................................................................................... ......................................
............................................................................................................................. ..................................
...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
-๙-
๕. ผลการปฏิบัติงาน
    5.1 ผลการประเมินการปฏิบัติงาน
          ๕.๑.๑ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔
                  การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔
ตาราง ๓ แสดงผลการประเมินระดับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
                                                                            ระดับการปฏิบัติ
                                                                     (ระหว่าง เดือน ..................พ.ศ.
                                 รายการปฏิบัติ                                   ๒๕๕๔)
                                                                    มาก           ปาน                 น้อย
                                                                           มาก              น้อย
                                                                    ที่สุด        กลาง                ที่สุด
 ๑. รู้เปูาหมายของหลักสูตรและการจัดการศึกษา                                
 ๒. จัดทาแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยตนเอง                        
 ๓. จัดทา/หา สื่อประกอบการสอน                                              
 ๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและ    
     เต็มศักยภาพ
 ๕. จัดเนื้อหาสาระ/กิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความแตกต่าง              
กันของผู้เรียน
 ๖. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญและแก้ปัญหา                     
 ๗. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์            
 ๘. ส่งเสริมกิจกรรมการทางานและรับผิดชอบต่อกลุ่ม                            
 ๙. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้าง      
     องค์ความรู้ด้วยตนเอง
 ๑๐. จัดกิจกรรมการสอนหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและ                         
        ความต้องการของผู้เรียน
 ๑๑. สอดแทรกคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริตในวิชาที่สอน                     
 ๑๒. ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล               
 ๑๓. สรุปประเด็นจากการเรียนรู้และประสบการณ์ได้อย่างถูกต้อง                 
 ๑๔. ใช้สื่อการเรียนที่เหมาะสมและหลากหลาย                                  
 ๑๕. ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง                    
                                เฉลี่ย ..................

        สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๔,๗,๙,๑๑ เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติ
มากทีสุดและรองลงมาเป็นลาดับ ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรปรับปรุงหรือพัฒนาต่อไป
     ่
- ๑๐ -
ตารางที่ ๔ แสดงผลการประเมินการสอนของครู (นักเรียนเป็นผู้ประเมิน)
                                                                              ระดับการปฏิบัติ/ร้อยละ
                                  กิจกรรม
                                                                                ดี พอใช้ น้อย
1. ครูมีการเตรียมการสอน(พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่าง ๆมีความพร้อม)                
2. การจัดสภาพห้องเรียน………………………………………………..                                             
3. เนื้อหาที่สอนสอดคล้องกับชีวิตและทันสมัย………………………….                          
4. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน………………………….                          
5. กิจกรรมการเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน……..……….…                                
6. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ………………………………..                              
7. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา……………….………………….                               
                                                                               
8. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม……………………
                                                                               
9. ครูส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มและรู้จักวิพากษ์วิจารณ์………..                   
10. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู………………………                                 
                                                                                        
11. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน………………….                     
12. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี( เช่นการทางานกลุ่ม,โครงงาน,จับคู่ฯลฯ)             
13. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น ๆ                    
14. ครูสามารถประยุกต์สิ่งที่สอนเข้ากับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม……                
15. ครูส่งเสริมให้ทดลอง/ทางานในห้องปฏิบัติการหรือนอกชั้นเรียนบ่อย ๆ            
16. ครูจัดกิจกรรมให้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน………….                        
17. นักเรียนทราบเกณฑ์การประเมินผลล่วงหน้า…………………………                            
18. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน……………………….                                  
19. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม…………………………………………..                                
20. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม………………                        
21. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้………………………………………………                                           
22. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้………………………………………….                               
23. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้……………….                  
24. ความรู้จากวิชานี้สามารถนาไปประกอบเป็นวิชาชีพได้………………                      
25. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข…………………………………………                                

       สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๑,๓,๔,๖,๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๔,๑๕,๑๗,๑๙, ๒๐
เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติมากที่สุด ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
- ๑๑ -
           ๕.๑.๒ ภาคเรียนที่ ๒ /๒๕๕๔
                   การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔
ตาราง ๕ แสดงผลการประเมินระดับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒
                                                                                      ระดับการปฏิบัติ
                                                                             (ระหว่าง เดือน ..................พ.ศ.
                                 รายการปฏิบัติ                                           ๒๕.......)
                                                                             มาก           ปาน                น้อย
                                                                                     มาก            น้อย
                                                                             ที่สุด        กลาง               ที่สุด
 ๑. รู้เปูาหมายของหลักสูตรและการจัดการศึกษา                                         
 ๒. จัดทาแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยตนเอง                         
 ๓. จัดทา/หา สื่อประกอบการสอน                                                       
 ๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและ            
    เต็มศักยภาพ
 ๕. จัดเนื้อหาสาระ/กิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความแตกต่าง                       
กันของผู้เรียน
 ๖. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญและแก้ปัญหา                              
 ๗. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์                    
 ๘. ส่งเสริมกิจกรรมการทางานและรับผิดชอบต่อกลุ่ม                                     
 ๙. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้าง              
    องค์ความรู้ด้วยตนเอง
 ๑๐. จัดกิจกรรมการสอนหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและ                                  
        ความต้องการของผู้เรียน
๑๑. สอดแทรกคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริตในวิชาที่สอน                              
๑๒. ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล                  
 ๑๓. สรุปประเด็นจากการเรียนรู้และประสบการณ์ได้อย่างถูกต้อง                          
๑๔. ใช้สื่อการเรียนที่เหมาะสมและหลากหลาย                                    
๑๕. ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง                       
                                   เฉลี่ย…………
           สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๒,๔,๗,๙,๑๑,๑๔ เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการ
ปฏิบัติมากที่สุดและรองลงมาเป็นลาดับ           ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรปรับปรุงหรือพัฒนา
ต่อไป
- ๑๒ -
ตารางที่ ๖ ผลการประเมินการสอนของครู (นักเรียนเป็นผู้ประเมิน)
                             กิจกรรม                                       ระดับการปฏิบัติ/ร้อยละ
                                                                             ดี พอใช้ น้อย
26. ครูมีการเตรียมการสอน(พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่าง ๆมีความพร้อม)            
27. การจัดสภาพห้องเรียน………………………………………………..                                        
28. เนื้อหาที่สอนสอดคล้องกับชีวิตและทันสมัย………………………….                      
29. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน………………………….                    
30. กิจกรรมการเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน……..……….…                            
31. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ………………………………..                        
32. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา……………….………………….                         
                                                                          
33. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม……………………
                                                                          
34. ครูส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มและรู้จักวิพากษ์วิจารณ์………..               
35. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู………………………                              
                                                                                     
36. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน………………….                
37. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี( เช่นการทางานกลุ่ม,โครงงาน,จับคู่ฯลฯ)        
38. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น ๆ                 
39. ครูสามารถประยุกต์สิ่งที่สอนเข้ากับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม……           
40. ครูส่งเสริมให้ทดลอง/ทางานในห้องปฏิบัติการหรือนอกชั้นเรียนบ่อย ๆ       
41. ครูจัดกิจกรรมให้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน………….                     
42. นักเรียนทราบเกณฑ์การประเมินผลล่วงหน้า…………………………                       
43. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน……………………….                               
44. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม…………………………………………..                           
45. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม………………                   
46. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้………………………………………………                                        
47. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้………………………………………….                          
48. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้……………….             
49. ความรู้จากวิชานี้สามารถนาไปประกอบเป็นวิชาชีพได้………………                 
50. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข…………………………………………                           
          สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๑,๓,๔,๖,๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๔,๑๕,๑๗,๑๙, ๒๐
เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติมากที่สุด และรองลงมาเป็นลาดับ ส่วนรายการปฏิบั ติที่มีระดับการปฏิบัติ
น้อยควรปรับปรุงหรือพัฒนาต่อไป
- ๑๓ -
     ๕.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ตาราง ๗ แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ (ภาคเรียนที่ ๑-๒)

ที่   รายวิชา                            จานวน                            ระดับคะแนน(คน)
                                         นักเรียน        ๔    ๓.๕ ๓        ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑                 ๐    ร
๑     การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๑            ๙๒           ๕    ๒๒ ๒๓         ๖ ๑ ๑ ๑                    ๐   ๓๓
๒     การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๒           ๑๐๑           ๑    ๑๑ ๒๕        ๒๓ ๒๑ ๑๐ ๑๐                 ๐    ๐
๓     การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๓            ๗๘          ๑๐    ๒๒ ๑๖        ๑๓ ๗ ๑๐ ๐                   ๐    ๐
๔     การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๕            ๗๘          ๑๒    ๑๔ ๑๘        ๑๕ ๑๐ ๖ ๓                   ๑    ๐
๕     การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๖            ๗๘           ๒     ๗ ๒๒        ๒๓ ๑๖ ๒ ๕                   ๑    ๐
๗     เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔                   ๑๐๗           ๔     ๓ ๑๘         ๗ ๒๖ ๑๔ ๕                  ๐   ๓๐
๘     เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕                    ๕๐          ๑๑     ๔ ๑๘        ๑๐ ๔ ๑ ๑                    ๑    ๐
๙     เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕                    ๔๐           ๐     ๓ ๒๒         ๙ ๒ ๔ ๐                    ๐    ๐
๑๐    คอมพิวเตอร์ ๑                          ๒๒           ๓     ๓  ๓         ๔ ๒ ๐ ๗                    ๐    ๐
                      รวม                                ๔๘   ๘๙ ๑๖๕       ๑๑๐ ๘๙ ๓๘ ๒๒                ๓    ๖๓

      ๕.๓ ผลการปฏิบัติหน้าที่พิเศษ (เกณฑ์การประเมิน : ใช้ความพึงพอใจของตนเองเป็นหลัก)
           การปฏิบัติหน้าที่พิเศษ ปรากฏผลดังนี้ (แสดงหลักฐานในภาคผนวก)
           1) งานหน้าที่ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา
                  ๑. นักเรียนในที่ปรึกษา จานวน ๓๘ คน ได้ไปเยี่ยมบ้านนักเรียนตามโครงการแอ่วบ้าน
           ผ่อเฮือนที่โรงเรียนจัดขึ้น ใน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ครบทั้ง ๓๘ คน
                  ๒. ดูแลเรื่องความสะอาดและการแต่งกายให้สะอาดเรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบของ
           โรงเรียน
                  ๓. อบรมตักเตือนนักเรียนให้ประพฤติปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของโรงเรียน๔.
                  ๔. ให้คาปรึกษา ติดตาม ดูแลเกี่ยวกับความประพฤติ การเรียนและปลูกฝังในสิ่งที่ดีให้กับ
           นักเรียน
                  ๕. ควบคุมดูแลการมาโรงเรียน การเข้าแถวปฏิบัติกิจกรรมหน้าเสาธงของนักเรียน
                  ๖. ควบคุมดูแล ให้คาปรึกษา การรักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียน เขตรับผิดชอบ
           ห้องเรียนและกิจกรรมอื่นๆ
                  ๗. จัดทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน รายงานผู้บริหารและผู้ปกครองนักเรียนทราบ
                  สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                         ดีมาก           ดี           พอใช้          ควรพัฒนาขึ้นอีก
- ๑๔ -
    ๒) งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
         ๑. จัดทาข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน
         ๒. คัดกรองข้อมูลนักเรียนด้วยวิธี SDQ เพือช่วยกันแก้ปัญหาเบื้องต้นของนักเรียน
                                                                          ่
         สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
    ๓) งานบริหารทั่วไป
         ๑. ......................................................................................... ...... ...... ...... ...........
         ๒. ...........................................................................................................................
         ๓. ..........................................................................................................................
         สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
    ๔) งานอานวยการทั่วไป
         ๑. ......................................................................................... ...... ...... ...... ...........
         ๒. ...........................................................................................................................
         ๓. ..........................................................................................................................
สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
  ๕) งานกิจกรรมชุมนุม คอมพิวเตอร์ มีสมาชิก                                           ๒๘ คน
         สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
  ๖) งานกิจกรรมบังคับ(ลูกเสือ,เนตรนารี,ยุวกาชาด,ผู้บาเพ็ญประโยชน์) มีสมาชิก ๗๔ คน
         สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
  ๗) งานกิจกรรมคณะสีฟูา มีสมาชิกจานวน ๑๙๐ คน ทาหน้าที่                                                           ครูที่ปรึกษา สีฟูา
         สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
  ๘) งานนโยบายและแผน....................................................... มีสมาชิก ................ คน
         สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ
                ดีมาก                      ดี                         พอใช้                      ควรพัฒนาขึ้นอีก
- ๑๕ -
๖. คุณลักษณะตามมาตรฐาน ปรากฏผลดังนี้
มาตรฐานด้านผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ
                                                                                    จานวน/คน
         รายการ                   ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                 ผ     มผ. เฉลี่ย
          ๑.๑.๑    ผู้เรียนการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง แต่งกายสะอาดเรียบร้อย      ๕๘๔          ๑๐๐
                   เครื่องแต่งกายและเครื่องใช้ส่วนตัวสะอาด
          ๑.๑.๒    ผู้เรียนมีการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ                ๕๘๔            ๑๐๐
          ๑.๑.๓    ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกาลังกายและมีส่วนร่วมในการ      ๕๘๔            ๑๐๐
                   เผยแพร่และรณรงค์เกียวกับการดูแล
                                          ่
                        เฉลี่ย = (รวมจานวนคนทุกรายการ หาร จานวนรายการ)          ๕๘๔            ๑๐๐

๑.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
                                                                                    จานวน/คน
         รายการ                   ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                 ผ     มผ. เฉลี่ย
          ๑.๒.๑    ผู้เรียนมีพัฒนาการทางร่างกาย และการเจริญเติบโตตามเกณฑ์       ๕๘๔          ๑๐๐
                   มาตรฐาน
          ๑.๒.๒    ผู้เรียนมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน                      ๕๘๔            ๑๐๐
                                              เฉลี่ย                            ๕๘๔            ๑๐๐

๑.๓ ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ
และปัญหาทางเพศ
                                                                                       จานวน/คน
          รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                    ผ      มผ. เฉลี่ย
           ๑.๓.๑ ผู้เรียนมีความรู้เท่าทันและปฏิบัติตนให้พ้นจากสิ่งเสพติดและ       ๕๘๔              ๑๐๐
                   อบายมุขต่างๆ
           ๑.๓.๒ ผู้เรียนรู้จักวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุความรุนแรง      ๕๘๔              ๑๐๐
           ๑.๓.๓ ผู้เรียนรู้จักวิธีปูองกันอุบัติเหตุ ปูองกันโรค ปูองกันภัยต่าง ๆ  ๕๘๔              ๑๐๐
                   รวมทังปัญหาทางเพศ
                         ้
                                                     เฉลี่ย                       ๕๘๔              ๑๐๐
- ๑๖ -
๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
                                                                                             จานวน/คน
           รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                          ผ    มผ. เฉลี่ย
            ๑.๔.๑      ผู้เรียนรู้จักตนเอง ภูมิใจในตนเอง พัฒนาและปรับปรุงตนเอง           ๕๘๔        ๑๐๐
            ๑.๔.๒      ผู้เรียนมีความมันคงทางอารมณ์ และมีความมั่นใจในตนเอง
                                        ่                                                ๕๘๔        ๑๐๐
            ๑.๔.๓      ผู้เรียนมีความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม                             ๕๘๔        ๑๐๐
                                                     เฉลี่ย                              ๕๘๔        ๑๐๐

๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
                                                                                             จานวน/คน
           รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                          ผ    มผ. เฉลี่ย
            ๑.๕.๑      ผู้เรียนมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น                     ๕๘๔        ๑๐๐
            ๑.๕.๒      ผู้เรียนมีการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น                                ๕๘๔        ๑๐๐
            ๑.๕.๓      ผู้เรียนมีกาปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างเหมาะสม                       ๕๘๔        ๑๐๐
            ๑.๕.๔      ผู้เรียนมีการปฏิบัติตนที่คานึงถึงสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น   ๕๘๔        ๑๐๐
                                                      เฉลี่ย                             ๕๘๔        ๑๐๐

๑.๖ สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการ ตามจินตนาการ
                                                                                   จานวน/คน
          รายการ                    ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                 ผ      มผ. เฉลี่ย
           ๑.๖.๑ ผู้เรียนมีความชอบและเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมกิจกรรมด้าน      ๕๘๔          ๑๐๐
                  ศิลปะ ด้านดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการ
           ๑.๖.๒ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมทั้งในและนอกสถานศึกษา           ๕๘๔          ๑๐๐
           ๑.๖.๓ ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานที่เกิดจากความคิดของตนเองได้พร้อมทั้ง ๕๘๔           ๑๐๐
                  อธิบายที่มาของความคิดในการสร้างผลงานและนาความรู้ไปใช้ใน
                  ชีวิตประจาวันได้ด้วยความภาคภูมิใจ
           ๑.๖.๔ ผู้เรียนนาความรู้ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการ ไป ๕๘๔            ๑๐๐
                  ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
                                                เฉลี่ย                         ๕๘๔          ๑๐๐
- ๑๗ -
มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
๒.๑ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร
                                                                                                จานวน/คน
         รายการ                        ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                               ผ มผ. เฉลี่ย
          ๒.๑.๑    ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความ             ๕๘๔      ๑๐๐
                   สามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชู ความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลัก
                   ศาสนาที่ตนนับถือและแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
          ๒.๑.๒    ผู้เรียนปฏิบัติตรงตามความเป็นจริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลัก             ๕๘๔      ๑๐๐
                   ความจริงความถูกต้องในการดาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อ
                   การกระทาความผิด
          ๒.๑.๓    ผู้เรียนปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของ                    ๕๘๔      ๑๐๐
                   ครอบครัวโรงเรียน และสังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
          ๒.๑.๔    ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ มีความเพียรพยายามใน             ๕๘๔      ๑๐๐
                   การเรียนรู้และเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่ง
                   เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้
                   สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้
                   แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
          ๒.๑.๕    ผู้เรียนดาเนินชีวิตอย่างประมาณตนมีเหตุผลรอบคอบระมัดระวังอยู่ร่วมกับ        ๕๘๔      ๑๐๐
                   ผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบไม่เบียดเบียนผู้อื่นเห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆมี
                   การวางแผนปูองกันความเสี่ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
          ๒.๑.๖    ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ          ๕๘๔      ๑๐๐
                   มอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจในการ
                   ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สาเร็จลุล่วงตามเปูาหมายที่กาหนดด้วยความ
                   รับผิดชอบและมีความภาคภูมิใจในผลงาน
          ๒.๑.๗    ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มี         ๕๘๔      ๑๐๐
                   ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม
                   ประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทย
                   ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
          ๒.๑.๘    ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น           ๕๘๔      ๑๐๐
                   แบ่งปันความสุขส่วนตน เพื่อทาประโยชน์ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจ ผู้ที่มี
                   ความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมด้วยแรงกาย
                   ติปญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิด
                         ั
                   ในชุมชน โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
- ๑๘ -
          ๒.๑.๙      ผู้เรียนมีคุณลักษณะบางประการโดดเด่นจนเป็นกษณะเฉพาะตนและ                  ๕๘๔         ๑๐๐
                     เป็นแบบอย่างที่ดีจนได้รับการยอมรับจากบุคคลหรือหน่วยงานทั้ง
                     ภายในและภายนอกสถานศึกษา
                                                   เฉลี่ย                                     ๕๘๔         ๑๐๐

๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวที
                                                                                           จานวน/คน
          รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                         ผ มผ. เฉลี่ย
           ๒.๒.๑     ผู้เรียนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้าใจ ให้ความช่วยเหลือผู้อื่น   ๕๘๔       ๑๐๐
           ๒.๒.๒     ผู้เรียนเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ (หมายรวมถึง ผู้ปกครองและผู้มี        ๕๘๔       ๑๐๐
                     พระคุณ)
           ๒.๒.๓     ผู้เรียนเป็นนักเรียนที่ดี                                          ๕๘๔         ๑๐๐
           ๒.๒.๔     ผู้เรียนบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม                                     ๕๘๔         ๑๐๐
                                                      เฉลี่ย                            ๕๘๔         ๑๐๐

๒.๓ ตระหนักรู้คุณค่า อนุรักษ์วัฒนธรรมล้านนา ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
                                                                                            จานวน/คน
          รายการ                        ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                          ผ    มผ. เฉลี่ย
           ๒.๓.๑     ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างสุภาพและรับฟังความ                ๕๘๔        ๑๐๐
                     คิดเห็นของผู้อื่นด้วยความเข้าใจ
           ๒.๓.๒     ผู้เรียนแสดงมารยาทที่เหมาะสมตามวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน               ๕๘๔         ๑๐๐
           ๒.๓.๓     ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน                          ๕๘๔         ๑๐๐
           ๒.๓.๔     ผู้เรียนปรับตัวและร่วมกิจกรรมตามบริบททางวัฒนธรรมและสังคม            ๕๘๔         ๑๐๐
                                                   เฉลี่ย                                ๕๘๔         ๑๐๐

๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
                                                                                            จานวน/คน
          รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                          ผ    มผ. เฉลี่ย
           ๒.๔.๑     ผู้เรียนมีความตระหนัก รู้คุณค่า ของสิ่งแวดล้อม                      ๕๘๔        ๑๐๐
           ๒.๔.๒     ผู้เรียนเข้าร่วมร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน          ๕๘๔        ๑๐๐
                                                    เฉลี่ย                               ๕๘๔        ๑๐๐
- ๑๙ -
มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
๓.๑ มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว
                                                                                          จานวน/คน
           รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                       ผ      มผ. เฉลี่ย
            ๓.๑.๑ ผู้เรียนมีการอ่านหนังสือ บทความ หรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ทุกที่เมื่อมี   ๕๘๔          ๑๐๐
                     เวลาและโอกาส
            ๓.๑.๒ ผู้เรียนมีการยืมหนังสือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสิ่งพิมพ์จากห้องสมุด ๕๘๔          ๑๐๐
                     หรือแหล่งเรียนรู้ไปอ่านเพิ่มเติม
            ๓.๑.๓ ผู้เรียนมีกระบวนสืบเสาะหาความรู้ที่ผู้เรียนริเริ่มด้วยตนเองตาม      ๕๘๔          ๑๐๐
                     ความสนใจ
            ๓.๑.๔ ผู้เรียนมีผลงานจากการค้นหาความรู้จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้          ๕๘๔          ๑๐๐
                     หรือสื่อต่าง ๆ
                                                     เฉลี่ย                           ๕๘๔          ๑๐๐

๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
                                                                                       จานวน/คน
          รายการ                         ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                         ผ มผ.    เฉลี่ย
           ๓.๒.๑      ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านหนังสือ บทความ หรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ๕๘๔         ๑๐๐
           ๓.๒.๒      ผู้เรียนมีความสามารถในการจับประเด็นใจความหลักจากสิ่งที่ฟัง        ๕๘๔       ๑๐๐
           ๓.๒.๓      ผู้เรียนมีความสามารถในการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวแล้วสรุปเป็น      ๕๘๔       ๑๐๐
                      ความรู้ได้
           ๓.๒.๔      ผู้เรียนมีความสามารถในการพูดคุย ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือ ๕๘๔             ๑๐๐
                      แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้
         ๓.๒.๕        ผู้เรียนมีความสามารถในการเขียนถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึกนึกคิด     ๕๘๔       ๑๐๐
                      เรื่องราว ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ไปสู่ผู้อื่นได้
         ๓.๒.๖        ผู้เรียนมีความสามารถในการตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม  ๕๘๔       ๑๐๐
                                                      เฉลี่ย                            ๕๘๔       ๑๐๐

๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
                                                                                        จานวน/คน
          รายการ                          ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                         ผ มผ. เฉลี่ย
           ๓.๓.๑      ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และความสาเร็จของกลุ่ม              ๕๘๔      ๑๐๐
           ๓.๓.๒      ผู้เรียนมีการแลกเปลี่ยนความคิดความเห็นและวิธีการเรียนรู้ในกลุ่ม   ๕๘๔      ๑๐๐
- ๒๐ -
          ๓.๓.๓     ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ภายในกลุ่ม                   ๕๘๔         ๑๐๐
                                                  เฉลี่ย                          ๕๘๔         ๑๐๐

๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน
                                                                              จานวน/คน
        รายการ                      ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                ผ    มผ. เฉลี่ย
         ๓.๔.๑     ผู้เรียนมีความเข้าใจในระบบและวิธีการใช้เทคโนโลยี            ๕๒๑ ๖๓ ๘๙.๒๑
         ๓.๔.๒     ผู้เรียนมีการสืบค้น ความรู้และสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต        ๕๘๔       ๑๐๐
         ๓.๔.๓     ผู้เรียนมีการใช้เทคโนโลยีในการประมวลผลข้อมูล                ๕๒๑ ๖๓ ๘๙.๒๑
         ๓.๔.๔     ผู้เรียนมีการนาเสนอผลงานหรือสร้างผลงานโดยใช้เทคโนโลยี       ๕๘๔       ๑๐๐
                                                  เฉลี่ย                       ๕๕๓ ๓๑ ๙๔.๖๙


มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมี
สติสมเหตุผล
๔.๑ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
                                                                                   จานวน/คน
        รายการ                        ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                     ผ มผ. เฉลี่ย
         ๔.๑.๑ ผู้เรียนสามารถในการสรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู            ๕๘๔        ๑๐๐
         ๔.๑.๒ ผู้เรียนสามารถในการสื่อสารเพื่อเสนอความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง      ๕๘๔        ๑๐๐
                    และดู โดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
                                                  เฉลี่ย                           ๕๘๔        ๑๐๐

๔.๒ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
                                                                                     จานวน/คน
        รายการ                        ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                   ผ มผ. เฉลี่ย
        ๔.๒.๑     ผู้เรียนสามารถในการนาเสนอรูปแบบวิธีคิด                          ๕๘๔       ๑๐๐
        ๔.๒.๒     ผู้เรียนสามารถในการนาเสนอรูปแบบวิธีแก้ปัญหา                     ๕๘๔       ๑๐๐
        ๔.๒.๓     ผู้เรียนสามารถในการใช้ภาษาหรือวิธีการอื่นสาหรับนาเสนอ           ๕๘๔       ๑๐๐
                                                เฉลี่ย                            ๕๘๔       ๑๐๐
- ๒๑ -
๔.๓ กาหนดเปูาหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
                                                                                   จานวน/คน
        รายการ                       ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                  ผ มผ. เฉลี่ย
        ๔.๓.๑     ผู้เรียนสามารถในการกาหนดเปูาหมายจะทางานให้สาเร็จ               ๕๘๔      ๑๐๐
        ๔.๓.๒     ผู้เรียนสามารถในการคาดคะเนสถานการณ์หรือคาดคะเนคาตอบ            ๕๘๔      ๑๐๐
        ๔.๓.๓     ผู้เรียนสามารถในการกาหนดทางเลือกตัดสินใจแก้ปัญหา               ๕๘๔      ๑๐๐
                                               เฉลี่ย                            ๕๘๔      ๑๐๐

๔.๔ มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
                                                                                   จานวน/คน
        รายการ                      ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน
                                                                                 ผ    มผ. เฉลี่ย
        ๔.๔.๑     ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดริเริ่ม                           ๕๘๔        ๑๐๐
        ๔.๔.๒     ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน                      ๕๘๔        ๑๐๐
                                               เฉลี่ย                           ๕๘๔        ๑๐๐


มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
                                                                              จานวน/คน
        รายการ             ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน                   เทอม ๑           เทอม ๒
                                                                    ผ   มผ. เฉลี่ย   ผ มผ. เฉลี่ย
         ๕.๑      กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้เรียนมีผลการ
                  เรียนในระดับ ๓-๔
         ๕.๒      กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผู้เรียนมีผลการ
                  เรียนในระดับ ๓-๔
         ๕.๓      กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีผลการ
                  เรียนในระดับ ๓-๔
         ๕.๔      กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
                  วัฒนธรรม ผู้เรียนมีผลการเรียนในระดับ ๓-๔
         ๕.๕      กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
                  ผู้เรียนมีผลการเรียนในระดับ ๓-๔
         ๕.๖      กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ผู้เรียนมีผลการเรียน
                  ในระดับ ๓-๔
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์Fon Edu Com-sci
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันMaliwan Boonyen
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำAunop Nop
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์poomarin
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3Nattipong Siangyen
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2Andy Hung
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์พัน พัน
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 

What's hot (20)

ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบงานที่  5.1 เรื่อง    ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5.1 เรื่อง ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำ
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
เกณฑ์การประกวดผลงานวันภาษาไทย 55
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์โครงงานโทษแอลกอฮอล์
โครงงานโทษแอลกอฮอล์
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheetใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+409+dltvsocp1+T1 p1 3-sheet
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยาฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
ฎีกาผ้าป่าโรงเรียนปรางค์ทองวิทยา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 

Viewers also liked

รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตาMontree Jareeyanuwat
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทยรูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทยJoy sarinubia
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
ไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยI.q. Centre
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638soawaphat
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 

Viewers also liked (12)

รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทยรูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
รูปแบบการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ : ไปรษณีย์ไทย
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
ไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทยไปรษณีย์ไทย
ไปรษณีย์ไทย
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
55100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-16363855100922 0 20110606-163638
55100922 0 20110606-163638
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 

Similar to รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Lynnie1177
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มMoomy Momay
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานWeerachat Martluplao
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 

Similar to รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้มแบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
แบบโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตั้ม
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงานแบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน
 
Mancha
ManchaMancha
Mancha
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 

รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง

  • 1. รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง เป็นรายบุคคล (Personal Self Assessment Report) นางสาวธัญชนก คาวินิจ ตาแหน่ง ครู อันดับ คศ. ๑ วิทยฐานะ - โรงเรียนสบเมยวิทยาคม สานักงานเขตพื้นที่การศีกษามัธยมศึกษา เขต ๓๔ ผู้ตรวจบันทึก (นางศิริลักษณ์ วงค์คา) ตาแหน่งครูชานาญการพิเศษ รักษาราชการแทน ผู้อานวยการโรงเรียนสบเมยวิทยาคม วันที่ ๓๑ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ -
  • 2. -๒- ๑. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ นางสาวธัญชนก นามสกุล คาวินิจ . ตาแหน่ง ครู คศ . ๑ วิทยฐานะ อายุ ปี ปฏิบัติราชการเป็นเวลา ๖ ปี ๕ ปี ปฏิบัติงานหลัก .ฝุาย . กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) . วุฒิการศึกษา  เทียบเท่า/อนุปริญญาตรี ................................. วิชาเอก ..................................  ปริญญาตรี วิชาเอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิชาโท ....................................  ปริญญาโท สาขา ................................. วิชาเอก ..................................  ปริญญาเอก สาขา .................................................................................... ๒. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ ๒.๑ ด้านการสอน ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ ภาคเรียนที่ ๑ /๒๕๕๔ ปฏิบัติการสอน จานวน ๕ รายวิชา จานวน ๙ ห้อง จานวน ๒๒ คาบ/ชม. ดังนี้ ตาราง ๑ แสดงจานวนรายวิชา ห้องเรียน นักเรียน คาบเรียน ที่ปฏิบัติการสอน ที่ รายวิชา ห้อง จานวน นร. จานวนคาบ/ชม ๑ ง ๒๑๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๙๒ จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ ๒ ง ๒๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๗๘ จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๖ ๓ ง ๓๑๒๔๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๑๐๗ จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ ๔ ง ๓๓๑๐๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๘๐ จานวน ๒ คาบ / สัปดาห์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ๕ ง ๓๓๒๔๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ๔๐ จานวน ๒ คาบ / สัปดาห์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖
  • 3. -๓- ภาคเรียนที่ ๒ /๒๕๕๔ ปฏิบัติการสอน จานวน ๔ รายวิชา จานวน ๙ ห้อง จานวน ๒๑ คาบ/ชม. ดังนี้ ตาราง ๒ แสดงจานวนรายวิชา ห้องเรียน นักเรียน คาบเรียน ที่ปฏิบัติการสอน ที่ รายวิชา ห้อง จานวน นร. จานวนคาบ/ชม ๑ ง ๒๒๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ๑๐๑ จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ๒ ง ๓๒๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๗๘ จานวน ๓ คาบ / สัปดาห์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ๓ ง ๓๒๒๔๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ๕๐ จานวน ๔ คาบ / สัปดาห์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕ ๔ ง ๒๑๒๐๕ คอมพิวเตอร์ ๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ๒๒ จานวน ๒ คาบ / สัปดาห์ ๕ คอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ๑๐๐ จานวน ๖ คาบ / สัปดาห์ ๒.๒ หน้าที่พิเศษอื่น ได้แก่ 1) ครูทปรึกษานักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๕/๑ มีจานวนนักเรียน ี่ ๒๘ คน 2) ปฏิบัติหน้าที่ครูที่ปรึกษาหมู่บ้าน คอนผึ้ง มีจานวนนักเรียน ๕๐ คน 3) หน้าที่ภายในกลุ่มสาระ คือ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หัวหน้างานคอมพิวเตอร์ 4) หน้าที่อื่น ๆ ได้แก่ ๔.๑. กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ – เนตรนารี จานวน ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๔.๒ กิจกรรมชุมนุม IT-Genius จานวน ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๔.๓ กิจกรรมพัฒนาจิต จานวน ๑ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๔.๔ กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง จานวน ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๔.๕ กิจกรรมเพื่อนสังคมและสาธารณะประโยชน์ ชั้น ม.๑/๑-๓ จานวน ๓ ชั่วโมง / สัปดาห์ ๔.๖. ) เป็นผู้รับผิดชอบงานสารสนเทศและระบบเครือข่าย ทาหน้าที่ดังนี้ - ดาเนินการวางแผนและพัฒนาระบบเครือข่ายภายในโรงเรียน - ดาเนินการวางแผนและพัฒนาระบบสารสนเทศภายในโรงเรียน - ดาเนินการจัดซ่อมบารุงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ภายในโรงเรียน
  • 4. -๔- ๔.๗.) เป็นหัวหน้างานสื่อ และนวัตกรรมทางการศึกษา ทาหน้าที่ดังนี้ - ทาหน้าที่ในการจัดหาสื่อ และพัฒนาสื่อและนวัตกรรมทางการศึกษา ๔.๘.) เป็นครูที่ปรึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ / ๑ ได้จัดทาธุรการประจาชั้น เช่น ปพ.๔, ปพ. ๕,ปพ.๘ และ ปพ.๙ ตกแต่งชั้นเรียน จัดทาเอกสารของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ออกเยี่ยมบ้าน ให้ คาปรึกษา แนะนาแก่นักเรียน ๔.๙.) เป็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้ทาหน้าที่ควบคุม ดูแล กากับ ติดตามการดาเนินงานของกลุ่มสาระ กาหนดนโยบาย ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้าน และปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายอื่นๆ ๔.๑๐) เป็นผู้ดูแลโครงการ eDLTV ๔.๑๑) งานการส่งเสริมวิชาการองค์กรและชุมชน ได้ทาหน้าที่ ดาเนินการศึกษาสารวจความ ต้องการการให้การสนับสนุนงานวิชาการแก่ชุมชน และจัดให้ความรู้ เสริมสร้างความคิด และเทคนิค ทักษะ วิชาการเพื่อพัฒนาทักษะชาชีพและคุณภาพชีวิตของประชาชน ท้องถิ่นทั้งในเรื่องของพฤติกรรมทั่วไป การแต่ง กาย การมาโรงเรียนให้ทันเวลา ยาเสพติด หรือชู้สาว เป็นต้น ๔.๑๒ ) กิจกรรมหรืองานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย เช่น การอยู่เวรยามรักษาการณ์ การดูแล สุขลักษณะของหอพักและนักเรียนพักนอน และงานอื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชาได้มอบหมายให้ปฏิบัติ ๔.๑๓) งานนิเทศการสอน ได้นิเทศการสอนครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี จานวน ๕ ท่าน ๓. การพัฒนาด้วยตนเอง ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาตนเอง ดังนี้ ๑) กิจกรรมการพัฒนาด้วยตนเอง ในด้าน  การจัดทาแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่สุด ได้แก่ - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑ ม.๑ - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ม.๒ - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ม.๓ - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔ ม.๕ - รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๕ ม.๖ - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔ - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕ - รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖ - รายวิชา คอมพิวเตอร์ ๒
  • 5. -๕-  เทคนิค/วิธีการสอน ได้แก่ วิธีสอนแบบระดมพลังสมอง (Brainstorming) ,วิธีการสอนโดยการ ลงมือปฏิบัติ (Practice) ,วิธีสอนแบบสาธิต (Demonstration Method) ,วิธีสอนแบบโครงการ (Project Method)  การผลิตและการใช้สื่อได้แก่ สื่อของจริง ใบความรู้ ใบงาน แหล่งเรียนรู้ภายในและนอก โรงเรียน เช่น ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์/Internet สถานีวิจัยและทดสอบพันธุ์สัตว์ สถานีทดสอบพันธุ์พืช โรงไฟฟูาเซลล์แสงอาทิตย์ผาบ่อง ศูนย์อาเซียนศึกษาแม่ฮ่องสอน ศูนย์พัฒนาทักษะและการเรียนรู้ICT แม่ฮ่องสอน เป็นต้น  โครงงานคอมพิวเตอร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/๑-๖/๒  การทาแฟูมสะสมงาน ของ  ครู  นักเรียน  วิจัยในชั้นเรียน ได้แก่ การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ และ มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ที่มีต่อครูผู้สอนในการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี  การทาแฟูมพัฒนางาน ชิ้นงานเด่นที่อยู่ในแฟูมพัฒนางาน ได้แก่ ๑. ชื่อชิ้นงาน/เรื่อง การสร้างโปรแกรมเกมฝึกพิมพ์ ๒. ชื่อชิ้นงาน/เรื่อง การสร้างตัวอักษรล้านนาด้วยคอมพิวเตอร์  ร่วม/จัดอบรม สัมมนา ประชุมปฏิบัติการที่ ๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ในวันที่ ๗ – ๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน โรงเรียนในฝัน: ศูนย์แม่ข่ายจังหวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนสบเมยวิทยาคม ๒. คณะกรรมการตัดสินการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ ๖๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔”สุดยอดนักเรียนไทย ก้าวไกลในอาเซียน” ระดับมัธยมศึกษา ระหว่างวันที่ ๕ – ๗ ตุลาคม ๕๔ ๓. ประชุมวางแผนและติดตามผลการดาเนินงาน web ๒.๐ เพื่อสนับสนุนการเรียนการ สอน ระว่างวันที่ ๒ ธันวาคม ๒๕๕๔ ๔. เป็นวิทยากรร่วมในการเสวนาเรื่องการบูรณาการการใช้ ICT ในการจัดกาเรียนรู้ด้วย โครงงาน ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ ตัวคุณ” ระหว่างวันที่ ๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ๕. เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่อง คอมพิวเตอร์พื้นฐานให้กับนักศึกษาศูนย์การเรียนรู้ชุมชน อาเภอสบเมย ระหว่างวันที่ ๕-๗ มีนาคม. ๒๕๕๕
  • 6. -๖-  ร่วม/จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูแกนนากับครูเครือข่ายในเรื่องดังนี้ ๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาบุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ในวันที่ ๗ – ๙ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ศูนย์พัฒนาการเรียนการสอน โรงเรียนในฝัน: ศูนย์แม่ข่ายจังหวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนสบเมยวิทยาคม  ร่วม/จัดเวที เสวนาทางวิชาการ ๑. เป็นวิทยากรร่วมในการเสวนาเรื่องการบูรณาการการใช้ ICT ในการจัดกาเรียนรู้ด้วย โครงงาน ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ ตัวคุณ” ระหว่างวันที่ ๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  ร่วมจัดสัมมนากลุ่มย่อย เพื่อปรับปรุงพัฒนางาน เป็นวิทยากรร่วมในการเสวนาเรื่องการบูรณา การการใช้ ICT ในการจัดกาเรียนรู้ด้วยโครงงาน ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาด ไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ” ระหว่างวันที่ ๓-๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕  ร่วม/จัดสาธิตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................. .............................................................................  นิเทศ เยี่ยมเยียน พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ................................................................................................................................................................................. ........................................................................  ทัศนศึกษา ดูงาน ๑. โครงการพัฒนาทักษะ ๕ อาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ใน วันที่ ๒๓ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๕ โดยไปศึกษาดูงาน ณ.สถานีวิจัยทดสอบพันธุ์สัตว์แม่ฮ่องสอน สถานีวิจัย พันธุ์พืชแม่ฮ่องสอน โรงไฟฟูาเซลล์แสงอาทิตย์ผาบ่อง ศูนย์อาเซียนศึกษาแม่ฮ่องสอน ศูนย์พัฒนาทักษะและการ เรียนรู้ICTแม่ฮ่องสอน อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ๒. โครงการทัศนศึกษาของโรงเรียนสบเมยวิทยาคม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ในวันที่ ๔ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ณ.สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ๓. โครงการทัศนศึกษาของโรงเรียนสบเมยวิทยาคม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ในวันที่ ๑๙- ๒๑ เดือนมีนาคม พ.ศ.๒๕๕๕ ณ.วนอุทธยานปราณบุรี อาเภอปราณบุรี ,เพลินวาน อาเภอหัวหินจังหวัด ประจวบคีรีขันธ์, พระรามราชนิเวศน์ (วังบ้านปืน) ,หาดชะอา อาเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี
  • 7. -๗-  วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ที่มีต่อ ครูผู้สอนในการสอนวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี และวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ  เผยแพร่ผลงาน ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....  อื่น ๆ ได้แก่ 1) เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ จาก การแข่งขัน โปสเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ” 2) เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จาก การแข่งขัน โครงงานคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ” 3) เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งผลให้นักเรียนได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ ๒ จาก การแข่งขัน โครงงานคอมพิวเตอร์ ในงานแม่ฮ่องสอนไอทีวัลเล่ย์ ครั้งที่ ๓ ในหัวข้อ “กาดไอที : เรื่องง่ายๆใกล้ตัวคุณ” ๔. ความต้องการ สภาพปัญหา เป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ๔.๑ ความต้องการหรือจุดมุ่งหมายของหลักสูตร/พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ........................................................................................................................................................................ ......... ................................................................................................................................................................ ๔.๒ สภาพทั่วไป/สภาพปัญหาของผู้เรียน ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................
  • 8. -๘- ๔.๓ เปูาหมายของการพัฒ นานักเรียน(ระบุจุดประสงค์ของหลักสู ตรและรายวิชาประกอบเกณฑ์ มาตรฐานของโรงเรียน) ............................................................................................................................. .................................. ...................................................................................................................................................... ......... ......................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................
  • 9. -๙- ๕. ผลการปฏิบัติงาน 5.1 ผลการประเมินการปฏิบัติงาน ๕.๑.๑ ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๕๔ การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔ ตาราง ๓ แสดงผลการประเมินระดับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ระดับการปฏิบัติ (ระหว่าง เดือน ..................พ.ศ. รายการปฏิบัติ ๒๕๕๔) มาก ปาน น้อย มาก น้อย ที่สุด กลาง ที่สุด ๑. รู้เปูาหมายของหลักสูตรและการจัดการศึกษา  ๒. จัดทาแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยตนเอง  ๓. จัดทา/หา สื่อประกอบการสอน  ๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและ  เต็มศักยภาพ ๕. จัดเนื้อหาสาระ/กิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความแตกต่าง  กันของผู้เรียน ๖. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญและแก้ปัญหา  ๗. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์  ๘. ส่งเสริมกิจกรรมการทางานและรับผิดชอบต่อกลุ่ม  ๙. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้าง  องค์ความรู้ด้วยตนเอง ๑๐. จัดกิจกรรมการสอนหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและ  ความต้องการของผู้เรียน ๑๑. สอดแทรกคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริตในวิชาที่สอน  ๑๒. ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล  ๑๓. สรุปประเด็นจากการเรียนรู้และประสบการณ์ได้อย่างถูกต้อง  ๑๔. ใช้สื่อการเรียนที่เหมาะสมและหลากหลาย  ๑๕. ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง  เฉลี่ย .................. สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๔,๗,๙,๑๑ เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติ มากทีสุดและรองลงมาเป็นลาดับ ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรปรับปรุงหรือพัฒนาต่อไป ่
  • 10. - ๑๐ - ตารางที่ ๔ แสดงผลการประเมินการสอนของครู (นักเรียนเป็นผู้ประเมิน) ระดับการปฏิบัติ/ร้อยละ กิจกรรม ดี พอใช้ น้อย 1. ครูมีการเตรียมการสอน(พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่าง ๆมีความพร้อม)  2. การจัดสภาพห้องเรียน………………………………………………..  3. เนื้อหาที่สอนสอดคล้องกับชีวิตและทันสมัย………………………….  4. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน………………………….  5. กิจกรรมการเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน……..……….…  6. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ………………………………..  7. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา……………….………………….   8. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม……………………  9. ครูส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มและรู้จักวิพากษ์วิจารณ์………..  10. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู………………………   11. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน………………….  12. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี( เช่นการทางานกลุ่ม,โครงงาน,จับคู่ฯลฯ)  13. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น ๆ  14. ครูสามารถประยุกต์สิ่งที่สอนเข้ากับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม……  15. ครูส่งเสริมให้ทดลอง/ทางานในห้องปฏิบัติการหรือนอกชั้นเรียนบ่อย ๆ  16. ครูจัดกิจกรรมให้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน………….  17. นักเรียนทราบเกณฑ์การประเมินผลล่วงหน้า…………………………  18. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน……………………….  19. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม…………………………………………..  20. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม………………  21. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้………………………………………………  22. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้………………………………………….  23. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้……………….  24. ความรู้จากวิชานี้สามารถนาไปประกอบเป็นวิชาชีพได้………………  25. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข…………………………………………  สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๑,๓,๔,๖,๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๔,๑๕,๑๗,๑๙, ๒๐ เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติมากที่สุด ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรปรับปรุงพัฒนาต่อไป
  • 11. - ๑๑ - ๕.๑.๒ ภาคเรียนที่ ๒ /๒๕๕๔ การจัดการเรียนการสอนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔ ตาราง ๕ แสดงผลการประเมินระดับการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ระดับการปฏิบัติ (ระหว่าง เดือน ..................พ.ศ. รายการปฏิบัติ ๒๕.......) มาก ปาน น้อย มาก น้อย ที่สุด กลาง ที่สุด ๑. รู้เปูาหมายของหลักสูตรและการจัดการศึกษา  ๒. จัดทาแผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญด้วยตนเอง  ๓. จัดทา/หา สื่อประกอบการสอน  ๔. ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้ตามธรรมชาติและ  เต็มศักยภาพ ๕. จัดเนื้อหาสาระ/กิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความแตกต่าง  กันของผู้เรียน ๖. ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญและแก้ปัญหา  ๗. ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์  ๘. ส่งเสริมกิจกรรมการทางานและรับผิดชอบต่อกลุ่ม  ๙. กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ แสวงหาคาตอบและสร้าง  องค์ความรู้ด้วยตนเอง ๑๐. จัดกิจกรรมการสอนหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและ  ความต้องการของผู้เรียน ๑๑. สอดแทรกคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริตในวิชาที่สอน  ๑๒. ส่งเสริมการเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ รู้จักตั้งคาถามเพื่อหาเหตุผล  ๑๓. สรุปประเด็นจากการเรียนรู้และประสบการณ์ได้อย่างถูกต้อง  ๑๔. ใช้สื่อการเรียนที่เหมาะสมและหลากหลาย  ๑๕. ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง  เฉลี่ย………… สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๒,๔,๗,๙,๑๑,๑๔ เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการ ปฏิบัติมากที่สุดและรองลงมาเป็นลาดับ ส่วนรายการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติน้อยควรปรับปรุงหรือพัฒนา ต่อไป
  • 12. - ๑๒ - ตารางที่ ๖ ผลการประเมินการสอนของครู (นักเรียนเป็นผู้ประเมิน) กิจกรรม ระดับการปฏิบัติ/ร้อยละ ดี พอใช้ น้อย 26. ครูมีการเตรียมการสอน(พิจารณาจากสื่ออุปกรณ์ต่าง ๆมีความพร้อม)  27. การจัดสภาพห้องเรียน………………………………………………..  28. เนื้อหาที่สอนสอดคล้องกับชีวิตและทันสมัย………………………….  29. นักเรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน………………………….  30. กิจกรรมการเรียนสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียน……..……….…  31. กิจกรรมการเรียนรู้สนุกและน่าสนใจ………………………………..  32. ครูให้โอกาสนักเรียนซักถามปัญหา……………….………………….   33. ครูส่งเสริมให้นักเรียนทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม/ทีม……………………  34. ครูส่งเสริมให้นักเรียนมีความคิดริเริ่มและรู้จักวิพากษ์วิจารณ์………..  35. ครูยอมรับความคิดของนักเรียนที่ต่างไปจากครู………………………   36. ครูให้ความสนใจแก่นักเรียนอย่างทั่วถึงขณะที่สอน………………….  37. ครูใช้วิธีการสอนหลายวิธี( เช่นการทางานกลุ่ม,โครงงาน,จับคู่ฯลฯ)  38. ครูส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าหาความรู้จากห้องสมุดหรือแหล่งอื่น ๆ  39. ครูสามารถประยุกต์สิ่งที่สอนเข้ากับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อม……  40. ครูส่งเสริมให้ทดลอง/ทางานในห้องปฏิบัติการหรือนอกชั้นเรียนบ่อย ๆ  41. ครูจัดกิจกรรมให้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ภายนอกห้องเรียน………….  42. นักเรียนทราบเกณฑ์การประเมินผลล่วงหน้า…………………………  43. นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียน……………………….  44. ครูประเมินผลอย่างยุติธรรม…………………………………………..  45. ครูตั้งใจสอน ให้คาแนะนานักเรียนในการทากิจกรรม………………  46. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้………………………………………………  47. นักเรียนชอบครูที่สอนวิชานี้………………………………………….  48. นักเรียนนาความรู้จากวิชานี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้……………….  49. ความรู้จากวิชานี้สามารถนาไปประกอบเป็นวิชาชีพได้………………  50. นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข…………………………………………  สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ ๑,๓,๔,๖,๗,๘,๙,๑๑,๑๒,๑๔,๑๕,๑๗,๑๙, ๒๐ เป็นการปฏิบัติที่มีระดับการปฏิบัติมากที่สุด และรองลงมาเป็นลาดับ ส่วนรายการปฏิบั ติที่มีระดับการปฏิบัติ น้อยควรปรับปรุงหรือพัฒนาต่อไป
  • 13. - ๑๓ - ๕.๒ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ตาราง ๗ แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ (ภาคเรียนที่ ๑-๒) ที่ รายวิชา จานวน ระดับคะแนน(คน) นักเรียน ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๑ ๙๒ ๕ ๒๒ ๒๓ ๖ ๑ ๑ ๑ ๐ ๓๓ ๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๒ ๑๐๑ ๑ ๑๑ ๒๕ ๒๓ ๒๑ ๑๐ ๑๐ ๐ ๐ ๓ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๓ ๗๘ ๑๐ ๒๒ ๑๖ ๑๓ ๗ ๑๐ ๐ ๐ ๐ ๔ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๕ ๗๘ ๑๒ ๑๔ ๑๘ ๑๕ ๑๐ ๖ ๓ ๑ ๐ ๕ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.๖ ๗๘ ๒ ๗ ๒๒ ๒๓ ๑๖ ๒ ๕ ๑ ๐ ๗ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๔ ๑๐๗ ๔ ๓ ๑๘ ๗ ๒๖ ๑๔ ๕ ๐ ๓๐ ๘ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕ ๕๐ ๑๑ ๔ ๑๘ ๑๐ ๔ ๑ ๑ ๑ ๐ ๙ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕ ๔๐ ๐ ๓ ๒๒ ๙ ๒ ๔ ๐ ๐ ๐ ๑๐ คอมพิวเตอร์ ๑ ๒๒ ๓ ๓ ๓ ๔ ๒ ๐ ๗ ๐ ๐ รวม ๔๘ ๘๙ ๑๖๕ ๑๑๐ ๘๙ ๓๘ ๒๒ ๓ ๖๓ ๕.๓ ผลการปฏิบัติหน้าที่พิเศษ (เกณฑ์การประเมิน : ใช้ความพึงพอใจของตนเองเป็นหลัก) การปฏิบัติหน้าที่พิเศษ ปรากฏผลดังนี้ (แสดงหลักฐานในภาคผนวก) 1) งานหน้าที่ครูประจาชั้น/ครูที่ปรึกษา ๑. นักเรียนในที่ปรึกษา จานวน ๓๘ คน ได้ไปเยี่ยมบ้านนักเรียนตามโครงการแอ่วบ้าน ผ่อเฮือนที่โรงเรียนจัดขึ้น ใน ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ครบทั้ง ๓๘ คน ๒. ดูแลเรื่องความสะอาดและการแต่งกายให้สะอาดเรียบร้อยถูกต้องตามระเบียบของ โรงเรียน ๓. อบรมตักเตือนนักเรียนให้ประพฤติปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของโรงเรียน๔. ๔. ให้คาปรึกษา ติดตาม ดูแลเกี่ยวกับความประพฤติ การเรียนและปลูกฝังในสิ่งที่ดีให้กับ นักเรียน ๕. ควบคุมดูแลการมาโรงเรียน การเข้าแถวปฏิบัติกิจกรรมหน้าเสาธงของนักเรียน ๖. ควบคุมดูแล ให้คาปรึกษา การรักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียน เขตรับผิดชอบ ห้องเรียนและกิจกรรมอื่นๆ ๗. จัดทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน รายงานผู้บริหารและผู้ปกครองนักเรียนทราบ สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก
  • 14. - ๑๔ - ๒) งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๑. จัดทาข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน ๒. คัดกรองข้อมูลนักเรียนด้วยวิธี SDQ เพือช่วยกันแก้ปัญหาเบื้องต้นของนักเรียน ่ สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก ๓) งานบริหารทั่วไป ๑. ......................................................................................... ...... ...... ...... ........... ๒. ........................................................................................................................... ๓. .......................................................................................................................... สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก ๔) งานอานวยการทั่วไป ๑. ......................................................................................... ...... ...... ...... ........... ๒. ........................................................................................................................... ๓. .......................................................................................................................... สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก ๕) งานกิจกรรมชุมนุม คอมพิวเตอร์ มีสมาชิก ๒๘ คน สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก ๖) งานกิจกรรมบังคับ(ลูกเสือ,เนตรนารี,ยุวกาชาด,ผู้บาเพ็ญประโยชน์) มีสมาชิก ๗๔ คน สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก ๗) งานกิจกรรมคณะสีฟูา มีสมาชิกจานวน ๑๙๐ คน ทาหน้าที่ ครูที่ปรึกษา สีฟูา สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก ๘) งานนโยบายและแผน....................................................... มีสมาชิก ................ คน สรุปได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก
  • 15. - ๑๕ - ๖. คุณลักษณะตามมาตรฐาน ปรากฏผลดังนี้ มาตรฐานด้านผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ๑.๑ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพและออกกาลังกายสม่าเสมอ จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๑.๑.๑ ผู้เรียนการมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง แต่งกายสะอาดเรียบร้อย ๕๘๔ ๑๐๐ เครื่องแต่งกายและเครื่องใช้ส่วนตัวสะอาด ๑.๑.๒ ผู้เรียนมีการปฏิบัติตนตามสุขบัญญัติ ๑๐ ประการ ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๑.๓ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมการออกกาลังกายและมีส่วนร่วมในการ ๕๘๔ ๑๐๐ เผยแพร่และรณรงค์เกียวกับการดูแล ่ เฉลี่ย = (รวมจานวนคนทุกรายการ หาร จานวนรายการ) ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๒ มีน้าหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๑.๒.๑ ผู้เรียนมีพัฒนาการทางร่างกาย และการเจริญเติบโตตามเกณฑ์ ๕๘๔ ๑๐๐ มาตรฐาน ๑.๒.๒ ผู้เรียนมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๓ ปูองกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรคภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๑.๓.๑ ผู้เรียนมีความรู้เท่าทันและปฏิบัติตนให้พ้นจากสิ่งเสพติดและ ๕๘๔ ๑๐๐ อบายมุขต่างๆ ๑.๓.๒ ผู้เรียนรู้จักวิธีดูแลรักษาตนเองให้ปลอดภัยจากเหตุความรุนแรง ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๓.๓ ผู้เรียนรู้จักวิธีปูองกันอุบัติเหตุ ปูองกันโรค ปูองกันภัยต่าง ๆ ๕๘๔ ๑๐๐ รวมทังปัญหาทางเพศ ้ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐
  • 16. - ๑๖ - ๑.๔ เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๑.๔.๑ ผู้เรียนรู้จักตนเอง ภูมิใจในตนเอง พัฒนาและปรับปรุงตนเอง ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๔.๒ ผู้เรียนมีความมันคงทางอารมณ์ และมีความมั่นใจในตนเอง ่ ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๔.๓ ผู้เรียนมีความกล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๕ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๑.๕.๑ ผู้เรียนมีการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๕.๒ ผู้เรียนมีการปรับตัวเข้ากับผู้อื่น ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๕.๓ ผู้เรียนมีกาปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างเหมาะสม ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๕.๔ ผู้เรียนมีการปฏิบัติตนที่คานึงถึงสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๖ สร้างผลงานจากการเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการ ตามจินตนาการ จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๑.๖.๑ ผู้เรียนมีความชอบและเห็นประโยชน์ในการเข้าร่วมกิจกรรมด้าน ๕๘๔ ๑๐๐ ศิลปะ ด้านดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการ ๑.๖.๒ ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมกิจกรรมทั้งในและนอกสถานศึกษา ๕๘๔ ๑๐๐ ๑.๖.๓ ผู้เรียนสร้างสรรค์ผลงานที่เกิดจากความคิดของตนเองได้พร้อมทั้ง ๕๘๔ ๑๐๐ อธิบายที่มาของความคิดในการสร้างผลงานและนาความรู้ไปใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ด้วยความภาคภูมิใจ ๑.๖.๔ ผู้เรียนนาความรู้ด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา นันทนาการ ไป ๕๘๔ ๑๐๐ ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐
  • 17. - ๑๗ - มาตรฐานที่ ๒ ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ๒.๑ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตร จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๒.๑.๑ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มีความ ๕๘๔ ๑๐๐ สามัคคีปรองดอง ภูมิใจ เชิดชู ความเป็นชาติไทย ปฏิบัติตนตามหลัก ศาสนาที่ตนนับถือและแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒.๑.๒ ผู้เรียนปฏิบัติตรงตามความเป็นจริงทั้งทางกาย วาจา ใจ และยึดหลัก ๕๘๔ ๑๐๐ ความจริงความถูกต้องในการดาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อ การกระทาความผิด ๒.๑.๓ ผู้เรียนปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของ ๕๘๔ ๑๐๐ ครอบครัวโรงเรียน และสังคมเป็นปกติวิสัย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น ๒.๑.๔ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ มีความเพียรพยายามใน ๕๘๔ ๑๐๐ การเรียนรู้และเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่ง เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ ด้วยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ๒.๑.๕ ผู้เรียนดาเนินชีวิตอย่างประมาณตนมีเหตุผลรอบคอบระมัดระวังอยู่ร่วมกับ ๕๘๔ ๑๐๐ ผู้อื่นด้วยความรับผิดชอบไม่เบียดเบียนผู้อื่นเห็นคุณค่าของทรัพยากรต่างๆมี การวางแผนปูองกันความเสี่ยงและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ๒.๑.๖ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ ๕๘๔ ๑๐๐ มอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจในการ ปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ให้สาเร็จลุล่วงตามเปูาหมายที่กาหนดด้วยความ รับผิดชอบและมีความภาคภูมิใจในผลงาน ๒.๑.๗ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม มี ๕๘๔ ๑๐๐ ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรมไทย มีความกตัญญูกตเวที ใช้ภาษาไทย ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๒.๑.๘ ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผู้อื่น ๕๘๔ ๑๐๐ แบ่งปันความสุขส่วนตน เพื่อทาประโยชน์ส่วนรวม เข้าใจ เห็นใจ ผู้ที่มี ความเดือดร้อน อาสาช่วยเหลือสังคม อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อมด้วยแรงกาย ติปญญา ลงมือปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา หรือร่วมสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้เกิด ั ในชุมชน โดยไม่หวังสิ่งตอบแทน
  • 18. - ๑๘ - ๒.๑.๙ ผู้เรียนมีคุณลักษณะบางประการโดดเด่นจนเป็นกษณะเฉพาะตนและ ๕๘๔ ๑๐๐ เป็นแบบอย่างที่ดีจนได้รับการยอมรับจากบุคคลหรือหน่วยงานทั้ง ภายในและภายนอกสถานศึกษา เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๒ เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวที จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๒.๒.๑ ผู้เรียนมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน้าใจ ให้ความช่วยเหลือผู้อื่น ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๒.๒ ผู้เรียนเป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ (หมายรวมถึง ผู้ปกครองและผู้มี ๕๘๔ ๑๐๐ พระคุณ) ๒.๒.๓ ผู้เรียนเป็นนักเรียนที่ดี ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๒.๔ ผู้เรียนบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๓ ตระหนักรู้คุณค่า อนุรักษ์วัฒนธรรมล้านนา ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๒.๓.๑ ผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างสุภาพและรับฟังความ ๕๘๔ ๑๐๐ คิดเห็นของผู้อื่นด้วยความเข้าใจ ๒.๓.๒ ผู้เรียนแสดงมารยาทที่เหมาะสมตามวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกัน ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๓.๓ ผู้เรียนเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๓.๔ ผู้เรียนปรับตัวและร่วมกิจกรรมตามบริบททางวัฒนธรรมและสังคม ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๔ ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๒.๔.๑ ผู้เรียนมีความตระหนัก รู้คุณค่า ของสิ่งแวดล้อม ๕๘๔ ๑๐๐ ๒.๔.๒ ผู้เรียนเข้าร่วมร่วมอนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้ยั่งยืน ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐
  • 19. - ๑๙ - มาตรฐานที่ ๓ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๓.๑ มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้และสื่อต่างๆ รอบตัว จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๓.๑.๑ ผู้เรียนมีการอ่านหนังสือ บทความ หรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ทุกที่เมื่อมี ๕๘๔ ๑๐๐ เวลาและโอกาส ๓.๑.๒ ผู้เรียนมีการยืมหนังสือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือสิ่งพิมพ์จากห้องสมุด ๕๘๔ ๑๐๐ หรือแหล่งเรียนรู้ไปอ่านเพิ่มเติม ๓.๑.๓ ผู้เรียนมีกระบวนสืบเสาะหาความรู้ที่ผู้เรียนริเริ่มด้วยตนเองตาม ๕๘๔ ๑๐๐ ความสนใจ ๓.๑.๔ ผู้เรียนมีผลงานจากการค้นหาความรู้จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ ๕๘๔ ๑๐๐ หรือสื่อต่าง ๆ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๒ มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๓.๒.๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านหนังสือ บทความ หรือสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๒.๒ ผู้เรียนมีความสามารถในการจับประเด็นใจความหลักจากสิ่งที่ฟัง ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๒.๓ ผู้เรียนมีความสามารถในการสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวแล้วสรุปเป็น ๕๘๔ ๑๐๐ ความรู้ได้ ๓.๒.๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการพูดคุย ซักถาม แสดงความคิดเห็น หรือ ๕๘๔ ๑๐๐ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นได้ ๓.๒.๕ ผู้เรียนมีความสามารถในการเขียนถ่ายทอดความรู้ ความรู้สึกนึกคิด ๕๘๔ ๑๐๐ เรื่องราว ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ไปสู่ผู้อื่นได้ ๓.๒.๖ ผู้เรียนมีความสามารถในการตั้งคาถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๓ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๓.๓.๑ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และความสาเร็จของกลุ่ม ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๓.๒ ผู้เรียนมีการแลกเปลี่ยนความคิดความเห็นและวิธีการเรียนรู้ในกลุ่ม ๕๘๔ ๑๐๐
  • 20. - ๒๐ - ๓.๓.๓ ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ภายในกลุ่ม ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๔ ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนาเสนอผลงาน จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๓.๔.๑ ผู้เรียนมีความเข้าใจในระบบและวิธีการใช้เทคโนโลยี ๕๒๑ ๖๓ ๘๙.๒๑ ๓.๔.๒ ผู้เรียนมีการสืบค้น ความรู้และสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต ๕๘๔ ๑๐๐ ๓.๔.๓ ผู้เรียนมีการใช้เทคโนโลยีในการประมวลผลข้อมูล ๕๒๑ ๖๓ ๘๙.๒๑ ๓.๔.๔ ผู้เรียนมีการนาเสนอผลงานหรือสร้างผลงานโดยใช้เทคโนโลยี ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๕๓ ๓๑ ๙๔.๖๙ มาตรฐานที่ ๔ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมี สติสมเหตุผล ๔.๑ สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๔.๑.๑ ผู้เรียนสามารถในการสรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๑.๒ ผู้เรียนสามารถในการสื่อสารเพื่อเสนอความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง ๕๘๔ ๑๐๐ และดู โดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๒ นาเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๔.๒.๑ ผู้เรียนสามารถในการนาเสนอรูปแบบวิธีคิด ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๒.๒ ผู้เรียนสามารถในการนาเสนอรูปแบบวิธีแก้ปัญหา ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๒.๓ ผู้เรียนสามารถในการใช้ภาษาหรือวิธีการอื่นสาหรับนาเสนอ ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐
  • 21. - ๒๑ - ๔.๓ กาหนดเปูาหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๔.๓.๑ ผู้เรียนสามารถในการกาหนดเปูาหมายจะทางานให้สาเร็จ ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๓.๒ ผู้เรียนสามารถในการคาดคะเนสถานการณ์หรือคาดคะเนคาตอบ ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๓.๓ ผู้เรียนสามารถในการกาหนดทางเลือกตัดสินใจแก้ปัญหา ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๔ มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน ผ มผ. เฉลี่ย ๔.๔.๑ ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดริเริ่ม ๕๘๔ ๑๐๐ ๔.๔.๒ ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงาน ๕๘๔ ๑๐๐ เฉลี่ย ๕๘๔ ๑๐๐ มาตรฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ๕.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์ จานวน/คน รายการ ลักษณะที่ตรวจสอบ/ประเมิน เทอม ๑ เทอม ๒ ผ มผ. เฉลี่ย ผ มผ. เฉลี่ย ๕.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้เรียนมีผลการ เรียนในระดับ ๓-๔ ๕.๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ผู้เรียนมีผลการ เรียนในระดับ ๓-๔ ๕.๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้เรียนมีผลการ เรียนในระดับ ๓-๔ ๕.๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ผู้เรียนมีผลการเรียนในระดับ ๓-๔ ๕.๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ผู้เรียนมีผลการเรียนในระดับ ๓-๔ ๕.๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ผู้เรียนมีผลการเรียน ในระดับ ๓-๔