SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
กิจกรรมเกม “1 2 3 โอ๊ย” 
กติกา คือ ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่าในการเล่นเกมแต่ละรอบใช้การนับเพิ่ม หรือนับลด และเงื่อนไขใช้นับเพิ่มหรือนับลดครั้งละเท่าไร จากนั้นครูสุ่มชี้นักเรียนให้นับตามเงื่อนไขถ้าใครที่นับ ได้จานวนตามที่เงื่อนไขกาหนดให้เปล่งเสียงร้อง “โอ๊ย” พร้อมทาท่าประกอบตามใจชอบหนึ่งท่าที่ไม่ ซ้ากับเพื่อน แทนการเปล่งเสียงจานวนนั้น ใครที่ทาผิดจากกติกาถือว่าเป็นผู้แพ้ในเกมตานั้น แล้วจึง เริ่มเล่นใหม่ 
ตัวอย่าง 
ครูกาหนดนับเพิ่มครั้งละ 3 โดยนับเริ่มจาก 1 เมื่อครูสุ่มชี้นักเรียนคนแรกนักเรียนคนนั้น จะต้องเปล่งเสียง “หนึ่ง” ครูสุ่มชี้นักเรียนคนที่สอง เขาจะต้องเปล่งเสียง “สอง” ครูสุ่มชี้นักเรียน คนที่สาม เขาจะต้องเปล่งเสียง “โอ๊ย” พร้อมทาท่าประกอบหนึ่งท่าเนื่องจากสามเป็นจานวนตาม เงื่อนไข ดังนั้นนักเรียนที่ถูกสุ่มแล้วได้จานวน 3, 6, 9, 12, 15, ….จะต้องเปล่งเสียง “โอ๊ย” แทน จานวนดังกล่าว
2 
ภาพนักเรียนในกิจกรรมเกม “1 2 3 โอ๊ย” 
ครูสุ่มเลขจากเว็บไซด์ www.pookpikschool.woddpress.com 
นักเรียนแต่ละคนมีท่าประจาของตนเอง
3 
นักเรียนคิดคานวออย่างสนุกสนานกับการนับเพิ่มและนับลด 
กิจกรรมเกมเหตุการอ์ประทับใจ 
1 2 3 โอ๊ย ท่าของ ด.ช รัชชานนท์ เป็นที่ถูกใจของเพื่อนๆ
4 
กิจกรรมเกมสมการใบ้คา 
ชื่อกลุ่ม............................................ 
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... 
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... 
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... 
ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... 
พระอะไร ?? มีหนวด 
คำชี้แจง : จงหาคาตอบของสมการข้อต่อไปนี้ แล้วนาพยัญชนะหรือสระท้ายที่อยู่ท้ายคาตอบที่ 
ได้มาเรียงกันตามลาดับตั้งแต่ข้อ 1-10 จะพบกับคาตอบของปริศนา พระอะไร??มีหนวด 
1. สองเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับ 10 มีค่าเท่ากับ 22 a. 13 ( ะ ) 
2. 5x + 6 =16 b. -30 ( ะ) 
3. -10 + x = 20 c. 15 ( จ ) 
4. - 2 = 12 
3 
2x d. -5 ( ต ) 
5. 7x +8 = 5x + 6 e. -25 ( โ ) 
6. ผลรวมของเลขคู่สองจานวนเรียงกันมีค่าเป็น 10 จงหาจานวนน้อย f. 6 (พ ) 
7. 0.5x + 25 = 32 g. -1 ( ะ ) 
8. 2x = 3(x - 5) h. 14 ( เ ) 
9. พ่อมีอายุเป็น 6 เท่าของลูก ถ้าปีหน้าพ่อจะมีอายุครบ 31 ปี i. 5 ( ๗ ) 
ปัจจุบันลูกอายุกี่ปี j. 2 ( ร ) 
10. x +5 = 2(x - 4) k. -14 ( อ ) 
l. 21 ( น ) 
m. -2 ( า ) 
n. 4 ( เ ) 
พระมีหนวด คือ .....................................................
5 
ภาพนักเรียนในกิจกรรมเกมสมการใบ้คา 
นักเรียนใบคาตามสมการที่ได้รับ 
นักเรียนอภิปราย ตอบคาใบ้อย่างสนุกสนาน
6 
เกมต่อประโยคเติมคา 
คาชี้แจง ให้ x แทนจานวนจานวนหนึ่ง จงเขียนสัญลักษณ์แทนข้อความหรือประโยคทาง 
ซ้ายมือเติมในช่องว่างต่อไปนี้ 
ข้อความ / ประโยค 
สัญลักษอ์ 
1. จานวนจานวนหนึ่งรวมกับยี่สิบห้าได้ผลลัพธ์เป็นสิบแปด 
1) จานวนจานวนหนึ่ง 
2) จานวนจานวนหนึ่งรวมกับยี่สิบห้า 
3) จานวนจานวนหนึ่งรวมกับยี่สิบห้าได้ผลลัพธ์เป็นสิบแปด 
1) x 
2) x + 25 
3) x + 25 = 18 
2. สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งหักออกแปดจะเหลือเท่ากับสิบเก้า 
1) สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่ง 
2) สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งหักออกแปด 
3) สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งหักออกแปดจะเหลือเท่ากับสิบเก้า 
3. เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสองอยู่สี่ 
1) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่ง 
2) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 
3) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสองอยู่สี่ 
4. เศษสองส่วนสามของส่วนที่จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 
เท่ากับสี่ 
1) จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 
2) เศษสองส่วนสามของส่วนที่จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 
3) เศษสองส่วนสามของส่วนที่จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 
เท่ากับสี่
7 
ภาพจากกิจกรรมเกมต่อประโยคเติมคา 
นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเติมประโยคโดยใช้การแก้สมการ 
นักเรียนร่วมกันอภิปรายอย่างมีเหตุมีผล
8 
กิจกรรมเกมเหตุการอ์ประทับใจ 
ตอนที่ 1 ครูเล่าเหตุการณ์ประทับใจให้นักเรียนฟัง ดังนี้ 
“ หลายปีมาแล้วที่ราคาอาหารมื้อกลางวันยังจานละ 10 บาท นักเรียนชั้น ม.6 คนหนึ่งเก็บกระเป๋าสตางค์ได้ ปรากฏว่าเป็นกระเป๋าสตางค์น้องชั้น ม.1 น้องบอกว่าเงินใน กระเป๋าสตางค์เป็นค่าอาหารกลางวันทั้ง 5 วัน ถ้าไม่พบกระเป๋าสตางค์เขาจะอดกินอาหาร กลางวันไป 5 วัน เพราะคุณแม่ให้มาพอดี ท่านผู้อานวยการให้รางวัลกับพี่ชั้น ม.6 เป็นเงิน จานวนมากกว่าที่เก็บได้อยู่เป็นจานวน 200 บาท ผลปรากฏว่าพี่ ม.6 แบ่งเงินรางวัลให้กับ น้อง ม.1 คนละครึ่ง เพื่อน้อง ม.1 จะได้มีเงินค่าขนมด้วย หลังจากวันนั้นพี่ ม.6 คนนั้นจะมา คอยดูแลน้อง ม.1 คนนี้ตลอด ไม่ว่าจะพาไปเลี้ยงข้าว เลี้ยงขนม หรือดูแลการบ้านให้ เหมือนกับเป็นพี่เลี้ยงจนกระทั่งจบชั้น ม.6 ไป” 
คาถาม 
1. เงินที่ท่านผู้อานวยการให้รางวัลกับพี่ ม.6 เป็นเงินจานวนเท่าไร 
2. เมื่อแบ่งให้น้องคนละครึ่งผลสุดท้ายพี่ ม.6 ได้เงินรางวัลเป็นจานวนเท่าไร 
3. สรุปตอนสุดท้ายน้อง ม.1 จะมีเงินทั้งหมดเท่าไร 
จากนั้นให้นักเรียนเล่าเหตุการณ์ประทับใจของตนเอง และร่วมกันอภิปรายในประเด็นของ การใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ใครอภิปรายได้ประทับใจเพื่อนจะเป็นผู้ชนะ
9 
ตอนที่ 2 ครูให้นักเรียนออกมาเล่าเหตุการณ์ประทับใจให้เพื่อนฟัง และร่วมกันอภิปราย ใครอภิปรายได้โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ จะเป็นผู้ชนะ 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
....................................................................................................................................... 
.......................................................................................................................................
10 
ภาพนักเรียนในกิจกรรมเกมเหตุการอ์ประทับใจ 
ครูเล่าเหตุการอ์ประทับใจ และให้นักเรียนคิดตามเป็นประเด็น 
ตัวแทนนักเรียนอาสาตอบคาถาม
11 
นักเรียนออกมาเล่าเหตุการอ์ประทับใจของตนเอง 
และชวนให้เพื่อนคิดตามโดยคัดเลือกเพื่อนมาแสดงบทบาทตาม 
นักเรียนร่วมกันอภิปรายในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
12 
กิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลสกุลเงินของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใช้เวลา 5-10 นาที จากนั้นครูจะชูป้ายสมมติสถานการณ์ ถามนักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงินจากสกุล หนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง เช่น 
สถานการณ์ที่ 1 ยายมะลิขายตะกร้าหวายในราคา 1,500 บาท ให้นายงวน ชาว เวียตนาม นายงวนต้องจ่ายเงินเท่าไรในหน่วยสกุลเงินของประเทศตนเอง 
สถานการณ์ที่ 2 หม่องคะยองเช่าบัสปรับอากาศในราคา 60,000 จ๊าด เดินทางไป ประเทศลาว และต้องจ่ายเงินที่ปลายทางเป็น 2 เท่าของค่ารถต้นทาง หม่องคะยองจะต้องจ่ายเงิน เท่าไร 
ข้อมูลข่าวสาร 
สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน 
1. บรูไน ดารุสซาลาม 
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์บรูไน, 25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอลล่าร์บรูไน และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
13 
2. ราชอาอาจักรกัมพูชา 
ใช้สกุลเงิน เรียล 
อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล 
3. สาธารอรัฐอินโดนีเซีย 
ใช้สกุลเงิน รูเปียห์ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รู เปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
14 
4. สาธารอรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 
ใช้สกุลเงิน กีบ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ 
5. มาเลเซีย 
ใช้สกุลเงิน ริงกิต 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
15 
6. สาธารอรัฐแห่งสหภาพพม่า 
ใช้สกุลเงิน จ๊าด 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด 
7. สาธารอรัฐฟิลิปปินส์ 
ใช้สกุลเงิน เปโซ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
16 
8. สาธารอรัฐสิงคโปร์ 
ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 
อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 50 ดอล ล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 
9. ราชอาอาจักรไทย 
ใช้สกุลเงิน บาท 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
17 
10. สาธารอรัฐสังคมนิยมเวียดนาม 
ใช้สกุลเงิน ด่ง 
อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย 
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง , 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2556 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็น ประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน
18 
ภาพกิจกรรมเกมใบ้คาอาเซียนจากการแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน 
นักเรียนออกมาใบ้คาโดยใช้สถานการณ์ที่กาหนด 
นักเรียนออกมาอธิบายวิธีการคิดแปลงเงินจากสถานการณ์ต่างๆ

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยAun Wny
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยsawed kodnara
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังkatokung
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2KruGift Girlz
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนNok Yupa
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2kanjana2536
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามsawed kodnara
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2ทับทิม เจริญตา
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 

What's hot (20)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวยเอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
เอกสารประกอบการเรียนเรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลยแนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
แนวข้อสอบเข้าสาธิตปทุมวัน ม.4 วิชาคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย
 
แผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลังแผนการสอนเลขยกกำลัง
แผนการสอนเลขยกกำลัง
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุนโจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
โจทย์ปัญหาร้อยละเกี่ยวกับกำไร ขาดทุน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
แบบทดสอบรวม ม.1 ภาคเรียนที่ 2
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
แบบทดสอบ เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง2
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 

Similar to เกมประกอบการสอนสมการ

เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 
บทที่ 3วงกลม1 (1)
บทที่ 3วงกลม1 (1)บทที่ 3วงกลม1 (1)
บทที่ 3วงกลม1 (1)krurungrat
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 

Similar to เกมประกอบการสอนสมการ (9)

เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
Onet52 55 m3
Onet52 55 m3Onet52 55 m3
Onet52 55 m3
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 
บทที่ 3วงกลม1 (1)
บทที่ 3วงกลม1 (1)บทที่ 3วงกลม1 (1)
บทที่ 3วงกลม1 (1)
 
Math3 2555
Math3 2555Math3 2555
Math3 2555
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 

More from Jirathorn Buenglee

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59Jirathorn Buenglee
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาJirathorn Buenglee
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59Jirathorn Buenglee
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นJirathorn Buenglee
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นJirathorn Buenglee
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559Jirathorn Buenglee
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559Jirathorn Buenglee
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...Jirathorn Buenglee
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7Jirathorn Buenglee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 

More from Jirathorn Buenglee (20)

ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
ประกวดคำขวัญ ตราสัญลักษณ์ เพลงมาร์ช 59
 
โรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกาโรคไข้ซิกา
โรคไข้ซิกา
 
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
การประกวดสุนทรพจน์เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย 59
 
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประชาสัมพันธ์สิทธิการรักษาของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
ประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้นประกวดภาพยนตร์สั้น
ประกวดภาพยนตร์สั้น
 
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
ประกวดคลิปวีดีโอและภาพอินโฟกราฟิกเนื่องในวันความสุขสากล2559
 
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
แผนออกรับบริจาคโลหิต 2559
 
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
ประกาศรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานเป็นลูกจ้างชั่วคราว ตำแหน่งพนักงานคุมป...
 
Teacher For Thailand
Teacher For ThailandTeacher For Thailand
Teacher For Thailand
 
โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)โครงการฝึกงาน (1)
โครงการฝึกงาน (1)
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรมรวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
รวมแบบประเมินก่อนและหลังใช้นวัตกรรม
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรมบทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
บทคัดย่อวิจัยการใช้นวัตกรรม
 
ชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรมชื่อนวัตกรรม
ชื่อนวัตกรรม
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน10
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน9
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน7
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 

เกมประกอบการสอนสมการ

  • 1. กิจกรรมเกม “1 2 3 โอ๊ย” กติกา คือ ครูแจ้งให้นักเรียนทราบว่าในการเล่นเกมแต่ละรอบใช้การนับเพิ่ม หรือนับลด และเงื่อนไขใช้นับเพิ่มหรือนับลดครั้งละเท่าไร จากนั้นครูสุ่มชี้นักเรียนให้นับตามเงื่อนไขถ้าใครที่นับ ได้จานวนตามที่เงื่อนไขกาหนดให้เปล่งเสียงร้อง “โอ๊ย” พร้อมทาท่าประกอบตามใจชอบหนึ่งท่าที่ไม่ ซ้ากับเพื่อน แทนการเปล่งเสียงจานวนนั้น ใครที่ทาผิดจากกติกาถือว่าเป็นผู้แพ้ในเกมตานั้น แล้วจึง เริ่มเล่นใหม่ ตัวอย่าง ครูกาหนดนับเพิ่มครั้งละ 3 โดยนับเริ่มจาก 1 เมื่อครูสุ่มชี้นักเรียนคนแรกนักเรียนคนนั้น จะต้องเปล่งเสียง “หนึ่ง” ครูสุ่มชี้นักเรียนคนที่สอง เขาจะต้องเปล่งเสียง “สอง” ครูสุ่มชี้นักเรียน คนที่สาม เขาจะต้องเปล่งเสียง “โอ๊ย” พร้อมทาท่าประกอบหนึ่งท่าเนื่องจากสามเป็นจานวนตาม เงื่อนไข ดังนั้นนักเรียนที่ถูกสุ่มแล้วได้จานวน 3, 6, 9, 12, 15, ….จะต้องเปล่งเสียง “โอ๊ย” แทน จานวนดังกล่าว
  • 2. 2 ภาพนักเรียนในกิจกรรมเกม “1 2 3 โอ๊ย” ครูสุ่มเลขจากเว็บไซด์ www.pookpikschool.woddpress.com นักเรียนแต่ละคนมีท่าประจาของตนเอง
  • 4. 4 กิจกรรมเกมสมการใบ้คา ชื่อกลุ่ม............................................ ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... ชื่อ.................................................................................................ชั้น................เลขที่.......... พระอะไร ?? มีหนวด คำชี้แจง : จงหาคาตอบของสมการข้อต่อไปนี้ แล้วนาพยัญชนะหรือสระท้ายที่อยู่ท้ายคาตอบที่ ได้มาเรียงกันตามลาดับตั้งแต่ข้อ 1-10 จะพบกับคาตอบของปริศนา พระอะไร??มีหนวด 1. สองเท่าของจานวนหนึ่งบวกกับ 10 มีค่าเท่ากับ 22 a. 13 ( ะ ) 2. 5x + 6 =16 b. -30 ( ะ) 3. -10 + x = 20 c. 15 ( จ ) 4. - 2 = 12 3 2x d. -5 ( ต ) 5. 7x +8 = 5x + 6 e. -25 ( โ ) 6. ผลรวมของเลขคู่สองจานวนเรียงกันมีค่าเป็น 10 จงหาจานวนน้อย f. 6 (พ ) 7. 0.5x + 25 = 32 g. -1 ( ะ ) 8. 2x = 3(x - 5) h. 14 ( เ ) 9. พ่อมีอายุเป็น 6 เท่าของลูก ถ้าปีหน้าพ่อจะมีอายุครบ 31 ปี i. 5 ( ๗ ) ปัจจุบันลูกอายุกี่ปี j. 2 ( ร ) 10. x +5 = 2(x - 4) k. -14 ( อ ) l. 21 ( น ) m. -2 ( า ) n. 4 ( เ ) พระมีหนวด คือ .....................................................
  • 6. 6 เกมต่อประโยคเติมคา คาชี้แจง ให้ x แทนจานวนจานวนหนึ่ง จงเขียนสัญลักษณ์แทนข้อความหรือประโยคทาง ซ้ายมือเติมในช่องว่างต่อไปนี้ ข้อความ / ประโยค สัญลักษอ์ 1. จานวนจานวนหนึ่งรวมกับยี่สิบห้าได้ผลลัพธ์เป็นสิบแปด 1) จานวนจานวนหนึ่ง 2) จานวนจานวนหนึ่งรวมกับยี่สิบห้า 3) จานวนจานวนหนึ่งรวมกับยี่สิบห้าได้ผลลัพธ์เป็นสิบแปด 1) x 2) x + 25 3) x + 25 = 18 2. สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งหักออกแปดจะเหลือเท่ากับสิบเก้า 1) สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่ง 2) สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งหักออกแปด 3) สองเท่าของจานวนจานวนหนึ่งหักออกแปดจะเหลือเท่ากับสิบเก้า 3. เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสองอยู่สี่ 1) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่ง 2) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 3) เศษสองส่วนสามของจานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสองอยู่สี่ 4. เศษสองส่วนสามของส่วนที่จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง เท่ากับสี่ 1) จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 2) เศษสองส่วนสามของส่วนที่จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง 3) เศษสองส่วนสามของส่วนที่จานวนจานวนหนึ่งมากกว่าสิบสอง เท่ากับสี่
  • 8. 8 กิจกรรมเกมเหตุการอ์ประทับใจ ตอนที่ 1 ครูเล่าเหตุการณ์ประทับใจให้นักเรียนฟัง ดังนี้ “ หลายปีมาแล้วที่ราคาอาหารมื้อกลางวันยังจานละ 10 บาท นักเรียนชั้น ม.6 คนหนึ่งเก็บกระเป๋าสตางค์ได้ ปรากฏว่าเป็นกระเป๋าสตางค์น้องชั้น ม.1 น้องบอกว่าเงินใน กระเป๋าสตางค์เป็นค่าอาหารกลางวันทั้ง 5 วัน ถ้าไม่พบกระเป๋าสตางค์เขาจะอดกินอาหาร กลางวันไป 5 วัน เพราะคุณแม่ให้มาพอดี ท่านผู้อานวยการให้รางวัลกับพี่ชั้น ม.6 เป็นเงิน จานวนมากกว่าที่เก็บได้อยู่เป็นจานวน 200 บาท ผลปรากฏว่าพี่ ม.6 แบ่งเงินรางวัลให้กับ น้อง ม.1 คนละครึ่ง เพื่อน้อง ม.1 จะได้มีเงินค่าขนมด้วย หลังจากวันนั้นพี่ ม.6 คนนั้นจะมา คอยดูแลน้อง ม.1 คนนี้ตลอด ไม่ว่าจะพาไปเลี้ยงข้าว เลี้ยงขนม หรือดูแลการบ้านให้ เหมือนกับเป็นพี่เลี้ยงจนกระทั่งจบชั้น ม.6 ไป” คาถาม 1. เงินที่ท่านผู้อานวยการให้รางวัลกับพี่ ม.6 เป็นเงินจานวนเท่าไร 2. เมื่อแบ่งให้น้องคนละครึ่งผลสุดท้ายพี่ ม.6 ได้เงินรางวัลเป็นจานวนเท่าไร 3. สรุปตอนสุดท้ายน้อง ม.1 จะมีเงินทั้งหมดเท่าไร จากนั้นให้นักเรียนเล่าเหตุการณ์ประทับใจของตนเอง และร่วมกันอภิปรายในประเด็นของ การใช้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ใครอภิปรายได้ประทับใจเพื่อนจะเป็นผู้ชนะ
  • 9. 9 ตอนที่ 2 ครูให้นักเรียนออกมาเล่าเหตุการณ์ประทับใจให้เพื่อนฟัง และร่วมกันอภิปราย ใครอภิปรายได้โดยใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์อย่างสร้างสรรค์ จะเป็นผู้ชนะ ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... ....................................................................................................................................... .......................................................................................................................................
  • 10. 10 ภาพนักเรียนในกิจกรรมเกมเหตุการอ์ประทับใจ ครูเล่าเหตุการอ์ประทับใจ และให้นักเรียนคิดตามเป็นประเด็น ตัวแทนนักเรียนอาสาตอบคาถาม
  • 12. 12 กิจกรรมเกมแปลงเงินในสกุลเงินอาเซียน คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาข้อมูลสกุลเงินของประเทศในกลุ่มอาเซียน ใช้เวลา 5-10 นาที จากนั้นครูจะชูป้ายสมมติสถานการณ์ ถามนักเรียนให้ใช้ความรู้เรื่องสมการในการแปลงเงินจากสกุล หนึ่งไปอีกสกุลหนึ่ง เช่น สถานการณ์ที่ 1 ยายมะลิขายตะกร้าหวายในราคา 1,500 บาท ให้นายงวน ชาว เวียตนาม นายงวนต้องจ่ายเงินเท่าไรในหน่วยสกุลเงินของประเทศตนเอง สถานการณ์ที่ 2 หม่องคะยองเช่าบัสปรับอากาศในราคา 60,000 จ๊าด เดินทางไป ประเทศลาว และต้องจ่ายเงินที่ปลายทางเป็น 2 เท่าของค่ารถต้นทาง หม่องคะยองจะต้องจ่ายเงิน เท่าไร ข้อมูลข่าวสาร สกุลเงินอาเซียน และสกุลเงินสมาชิกอาเซียน 1. บรูไน ดารุสซาลาม ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์บรูไน อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์บรูไน = 25.10 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ดอลล่าร์บรูไน, 5 ดอลล่าร์บรูไน, 10 ดอลล่าร์บรูไน, 20 ดอลล่าร์บรูไน, 25 ดอลล่าร์บรูไน, 50 ดอลล่าร์บรูไน, 100 ดอลล่าร์บรูไน, 500 ดอลล่าร์บรูไน, 1,000 ดอลล่าร์บรูไน และ 10,000 ดอลล่าร์บรูไน
  • 13. 13 2. ราชอาอาจักรกัมพูชา ใช้สกุลเงิน เรียล อัตราแลกเปลี่ยน 150 เรียล = 1 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 50 เรียล, 100 เรียล, 500 เรียล, 1,000 เรียล, 2,000 เรียล, 5,000 เรียล, 10,000 เรียล, 20,000 เรียล, 50,000 เรียล และ 100,000 เรียล 3. สาธารอรัฐอินโดนีเซีย ใช้สกุลเงิน รูเปียห์ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 รูเปียห์ = 3.95 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1,000 รูเปียห์, 2,000 รูเปียห์, 5,000 รูเปียห์, 10,000 รูเปียห์, 20,000 รู เปียห์, 50,000 รูเปียห์ และ 100,000 รูเปียห์
  • 14. 14 4. สาธารอรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ใช้สกุลเงิน กีบ อัตราแลกเปลี่ยน 1,000 กีบ = 4.05 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 500 กีบ, 1,000 กีบ, 2,000 กีบ, 5,000 กีบ, 10,000 กีบ, 20,000 กีบ และ 50,000 กีบ 5. มาเลเซีย ใช้สกุลเงิน ริงกิต อัตราแลกเปลี่ยน 1 ริงกิตมาเลเซีย = 10.40 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 ริงกิต, 5 ริงกิต, 10 ริงกิต, 20 ริงกิต, 50 ริงกิต และ 100 ริงกิต
  • 15. 15 6. สาธารอรัฐแห่งสหภาพพม่า ใช้สกุลเงิน จ๊าด อัตราแลกเปลี่ยน 1 จ๊าด = 5 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 1 จ๊าด, 5 จ๊าด, 10 จ๊าด, 20 จ๊าด, 50 จ๊าด, 100 จ๊าด, 200 จ๊าด, 500 จ๊าด, 1,000 จ๊าด, 5,000 จ๊าด และ 10,000 จ๊าด 7. สาธารอรัฐฟิลิปปินส์ ใช้สกุลเงิน เปโซ อัตราแลกเปลี่ยน 1.40 เปโซ = 0.78 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 เปโซ, 50 เปโซ, 100 เปโซ, 200 เปโซ, 500 เปโซ และ 1,000 เปโซ
  • 16. 16 8. สาธารอรัฐสิงคโปร์ ใช้สกุลเงิน ดอลล่าร์สิงค์โปร์ อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลล่าร์สิงคโปร์ = 24.40 บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 2 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 5 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 10 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 50 ดอล ล่าร์สิงค์โปร์, 100 ดอลล่าร์สิงค์โปร์, 1,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ และ 10,000 ดอลล่าร์สิงค์โปร์ 9. ราชอาอาจักรไทย ใช้สกุลเงิน บาท ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 20 บาท, 50 บาท, 100 บาท, 500 บาท และ 1,000 บาท
  • 17. 17 10. สาธารอรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ใช้สกุลเงิน ด่ง อัตราแลกเปลี่ยน 900 ด่ง = 1.64 บาทไทย ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบัน = 100 ด่ง, 200 ด่ง, 500 ด่ง, 1,000 ด่ง, 2,000 ด่ง, 5,000 ด่ง, 10,000 ด่ง , 20,000 ด่ง, 50,000 ด่ง, 100,000 ด่ง, 200,000 ด่ง และ 500,000 ด่ง หมายเหตุ : ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2556 โดยอัตราแลกเปลี่ยนข้างต้นเป็น ประมาณการซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน