SlideShare a Scribd company logo
เลขยกกำลัง
เรื่อง  เลขยกกำลัง ความหมายของเลขยกกำลัง บทนิยาม   ถ้า  a  เป็นจำนวนใดๆ   และ  n  เป็นจำนวนเต็มบวก   “  a  ยกกำลัง   n ”  เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์   หมายถึงผลคูณของ  a  ซึ่งมีทั้งหมด   n  ตัว นั่นคือ   =  a  a   a   a   ……   a n  ตัว จำนวนเต็มบวก  n  เรียกว่า  “ เลขชี้กำลัง ”  (exponent)  ของ  a  และเรียกจำนวน  a  ใดๆ ว่า   “ ฐาน ”  (base)
สมบัติของเลขยกกำลัง กำหนดให้   a , b  เป็นจำนวนใดๆ และ  m , n  เป็นจำนวนเต็มบวก 1)      เช่น   2)      ( เมื่อ  m > n )  เช่น       ( เมื่อ  m < n ) เช่น   3)   เช่น   4)   เช่น   5)     ( เมื่อ  b     0 ) เช่น   6)   เช่น   7)   ( เมื่อ  a     0 ) เช่น   และ
8)   เช่น     9)   เช่น 9.1)     9.2)   9.3)   เมื่อ  b     0 9.4)   9.5)   เมื่อ  a     0 ,  a     1  จะได้  x  =  y สมบัติของเลขยกกำลัง  ( ต่อ )
   วิธีดำเนินการ หาค่าของเลขยกกำลังในแต่ละช่องตาราง  (1-25) ลากส่วนของเส้นตรงโดยเริ่มตั้งแต่ช่องตารางที่  (1)  ไปหาช่องตารางที่ติดกัน ซึ่งต้องเป็นช่องตารางที่มีค่าน้อยที่สุด  ( ตัวอย่างลากเส้นจากช่องตารางที่  (1)  ไปหาช่องตารางที่  (7) ซึ่งมีค่าเลขยกกำลังน้อยที่สุด )  แต่ละช่องตารางลากส่วนของเส้นตรงผ่านได้ครั้งเดียว
ฟังก์ชันลอการิทึม   จาก  f = {(x,y)   R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1}  ซึ่งเป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ  f -1  = {(x,y)   R +  R  /  x = a y  , a>0 , a  1}    จาก  x = a y   สามารถเขียนในรูป  y = f(x)  ได้ โดยกำหนดเป็น  y = log a x   เช่น  9  = 3 2   เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  2  = log 3 9   32 = 2 5  เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  5 = log 2 32   บทนิยาม   ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป   f = {(x,y)   R +  R  /  y = log a x , a>0 , a  1}    เช่น  y = log 2 x  , f(x) = log 5 x
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท   เมื่อ  a , b  เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ  m , n  เป็นจำนวนเต็ม 1)  a m .a n  = a m+n   2)  (a m ) n  = a mn   3)  (ab) n  = a n b n 4)  (a / b) n  = a n / b n   5)  a m / a n  = a m-n ตัวอย่าง   จงหาค่าของ   (2 -3 x 2 y 4 /2 x -1 ) -2
2 .   รากที่  n  ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม   เมื่อ  x , y  เป็นจำนวนจริง  y  เป็นรากที่สองของ  x  ก็ต่อเมื่อ  y 2  = x สมบัติของรากที่สอง 1)  เมื่อ  x    0   , y    0 ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  วิธีทำ  2)   เมื่อ  x    0   , y > 0
3.  เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม   เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริง  n  เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า  1  และ  a  มีรากที่  n ตัวอย่าง   จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ บทนิยาม   เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริง  p , q  เป็นจำนวนเต็มที่  (p,q) = 1 , q > 0  และ  R  โดยที่  p < 0  แล้ว  a  ต้องไม่เป็นศูนย์
4.  ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม   ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ  f = {(x,y)  R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1} y   ข้อสังเกต   1)  กราฟของ  y = a x   ผ่านจุด  (0,1)  เสมอ   2)  ถ้า  a > 1  แล้ว  y = a x   เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3)  ถ้า  0  < a < 1  แล้ว  y = a x   เป็นฟังก์ชันลด 4)  y = a x   เป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + 5 )  โดยสมบัติของฟังก์ชัน  1-1  จะได้  a x  = a y   ก็ต่อเมื่อ   x = y
5.  ฟังก์ชันลอการิทึม จาก  f = {(x,y)   R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1}  ซึ่งเป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ  f -1  = {(x,y)   R +  R  /  x = a y  , a>0 , a  1}  จาก  x = a y   สามารถเขียนในรูป  y = f(x)  ได้ โดยกำหนดเป็น  y = log a x เช่น  9  = 3 2   เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  2  = log 3 9 32 = 2 5  เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  5 = log 2 32 บทนิยาม   ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)   R +  R  /  y = log a x , a>0 , a  1}  เช่น  y = log 2 x  , f(x) = log 5 x
สมบัติของลอการิทึม เมื่อ  a , M , N  เป็นจำนวนจริงบวกที่  a   1  และ  k  เป็นจำนวนจริง 1)  log a MN  =  log a M + log a N 2)  log a  M /  N = log a M – log a N 3)  log a  M k   =  k log a M 4)  log a  a  =  1 5)  log a  1  =  0 6)  log a kM = 1 / k log a M 7)  log b  a  =  1 /  log a b
6.  การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ  หมายถึงลอการิทึมฐาน  10   ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น  log 10 7  เขียนแทนด้วย  log 7 log 10 15  เขียนแทนด้วย  log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป  10 n   เมื่อ  n   I  log 10  = log 10 1  = 1 log 100 = log 10 2  = 2 log 1000 = log 10 3  = 3 ดังนั้น  log 10 n  = n
จำนวนจริงบวก  N   ใดๆ สามารถเขียนในรูป  N 0 x 10 n   ได้เสมอ เมื่อ  1  < N 0 <10  และ  n  เป็นจำนวนเต็ม   เนื่องจาก  N  =  N 0 x 10 n ดังนั้น  log N  =  log (N 0 x 10 n ) =  log N 0 + log 10 n =  log N 0  + n log N 0   เรียกว่า แมนทิสซา  (mantissa)  ของ  log N n  เรียกว่า แคแรกเทอริสติก  (characteristic)  ของ  log N
ตัวอย่าง  จงหาค่าของ  log 45 2 0   พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ   เนื่องจาก  log 45 2 0  =  log (4.5 2 x 10 3 ) =  log 4.5 2  + log 10 3 =  0.65 51  + 3 =  3.6542 ดังนั้น  log 4510  =  3.65 51 แมนทิสซาของ  log 45 2 0  คือ  0.6551 แคแรกเทอริสติกของ  log 45 2 0  คือ  3
แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง   กำหนดให้  log N = 2.5159  จงหาค่า  N วิธีทำ   เนื่องจาก  log N  =  2.5159 =  0.5159 + 2 =  log 3.28 + log 10 2 =  log (3.28 x 10 2 ) =  log 328 ดังนั้น  N  =  328
7.  การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้  y  =  log b x จะได้  x  =  b y log a  x  =  log a  b y log a  x  =  y log a  b y  = ดังนั้น  log b x  =  ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  log 2 24
ลอการิทึมธรรมชาติ  (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน  e  เมื่อ  e  เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ  2.7182818  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  “ ลอการิทึมแบบเนเปียร์ ”   (Napierian Logarithms)   ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ log e x  เขียนแทนด้วย  ln x log e 3  เขียนแทนด้วย  ln 3 log e 20  เขียนแทนด้วย  ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง  log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  ln 25
8.  สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล  คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  2 x .2 2x+1  = 4 x-2 วิธีทำ   2 x+2x+1   =  (2 2 ) x-2 2 3x+1   =  2 2x-4 จะได้  3x+1  =  2x-4 x  =  -5 ดังนั้น  คำตอบของสมการ คือ  {-5} ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  4 x  + 2 x+1  – 24 = 0
สมการลอการิทึม  คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 วิธีทำ   log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 log 2 (x-2)(x-3)  =  log 2 2 จะได้  (x-2)(x-3)  =  2 x 2 - 5x + 4  =  0 (x-1)(x-4)  =  0 x  =  1 , 4 ดังนั้น  คำตอบของสมการ   คือ  {4}  เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ  x = 1  หาค่าไม่ได้

More Related Content

What's hot

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
ทับทิม เจริญตา
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
Thepsatri Rajabhat University
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
Wijitta DevilTeacher
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรีการเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรีtuiye
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
คุณครูพี่อั๋น
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (20)

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรีการเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
การเคลื่อนที่ตกแบบเสรี
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 

Similar to เลขยกกำลังและลอการิทึม

Expo
ExpoExpo
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
kroojaja
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guest5ec5625
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 

Similar to เลขยกกำลังและลอการิทึม (20)

ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
ลอการิทึม
ลอการิทึมลอการิทึม
ลอการิทึม
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 

More from Jiraprapa Suwannajak

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctJiraprapa Suwannajak
 

More from Jiraprapa Suwannajak (20)

พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
เมทริกซ์...
เมทริกซ์...เมทริกซ์...
เมทริกซ์...
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เศษส่วน
เศษส่วนเศษส่วน
เศษส่วน
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียงงาน เศรษฐกิจพอเพียง
งาน เศรษฐกิจพอเพียง
 
วงกลมวงรี
วงกลมวงรีวงกลมวงรี
วงกลมวงรี
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..ปรัชญาเศร..
ปรัชญาเศร..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจ..[1]
 เศรษฐกิจ..[1] เศรษฐกิจ..[1]
เศรษฐกิจ..[1]
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIctสื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
สื่อชั้นสูงและการบูรณาการIct
 

เลขยกกำลังและลอการิทึม

  • 2. เรื่อง เลขยกกำลัง ความหมายของเลขยกกำลัง บทนิยาม ถ้า a เป็นจำนวนใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก “ a ยกกำลัง n ” เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ หมายถึงผลคูณของ a ซึ่งมีทั้งหมด n ตัว นั่นคือ = a  a  a  a  ……  a n ตัว จำนวนเต็มบวก n เรียกว่า “ เลขชี้กำลัง ” (exponent) ของ a และเรียกจำนวน a ใดๆ ว่า “ ฐาน ” (base)
  • 3. สมบัติของเลขยกกำลัง กำหนดให้ a , b เป็นจำนวนใดๆ และ m , n เป็นจำนวนเต็มบวก 1) เช่น 2) ( เมื่อ m > n ) เช่น ( เมื่อ m < n ) เช่น 3) เช่น 4) เช่น 5) ( เมื่อ b  0 ) เช่น 6) เช่น 7) ( เมื่อ a  0 ) เช่น และ
  • 4. 8) เช่น 9) เช่น 9.1) 9.2) 9.3) เมื่อ b  0 9.4) 9.5) เมื่อ a  0 , a  1 จะได้ x = y สมบัติของเลขยกกำลัง ( ต่อ )
  • 5. วิธีดำเนินการ หาค่าของเลขยกกำลังในแต่ละช่องตาราง (1-25) ลากส่วนของเส้นตรงโดยเริ่มตั้งแต่ช่องตารางที่ (1) ไปหาช่องตารางที่ติดกัน ซึ่งต้องเป็นช่องตารางที่มีค่าน้อยที่สุด ( ตัวอย่างลากเส้นจากช่องตารางที่ (1) ไปหาช่องตารางที่ (7) ซึ่งมีค่าเลขยกกำลังน้อยที่สุด ) แต่ละช่องตารางลากส่วนของเส้นตรงผ่านได้ครั้งเดียว
  • 6. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f -1 = {(x,y)  R +  R / x = a y , a>0 , a  1} จาก x = a y สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = log a x เช่น 9 = 3 2 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log 3 9 32 = 2 5 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log 2 32 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)  R +  R / y = log a x , a>0 , a  1} เช่น y = log 2 x , f(x) = log 5 x
  • 7.
  • 8. สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ m , n เป็นจำนวนเต็ม 1) a m .a n = a m+n 2) (a m ) n = a mn 3) (ab) n = a n b n 4) (a / b) n = a n / b n 5) a m / a n = a m-n ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2 -3 x 2 y 4 /2 x -1 ) -2
  • 9. 2 . รากที่ n ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง y เป็นรากที่สองของ x ก็ต่อเมื่อ y 2 = x สมบัติของรากที่สอง 1) เมื่อ x  0 , y  0 ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ 2) เมื่อ x  0 , y > 0
  • 10. 3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และ a มีรากที่ n ตัวอย่าง จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง p , q เป็นจำนวนเต็มที่ (p,q) = 1 , q > 0 และ  R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์
  • 11. 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} y ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = a x ผ่านจุด (0,1) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = a x เป็นฟังก์ชันลด 4) y = a x เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + 5 ) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ a x = a y ก็ต่อเมื่อ x = y
  • 12. 5. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f -1 = {(x,y)  R +  R / x = a y , a>0 , a  1} จาก x = a y สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = log a x เช่น 9 = 3 2 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log 3 9 32 = 2 5 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log 2 32 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)  R +  R / y = log a x , a>0 , a  1} เช่น y = log 2 x , f(x) = log 5 x
  • 13. สมบัติของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a  1 และ k เป็นจำนวนจริง 1) log a MN = log a M + log a N 2) log a M / N = log a M – log a N 3) log a M k = k log a M 4) log a a = 1 5) log a 1 = 0 6) log a kM = 1 / k log a M 7) log b a = 1 / log a b
  • 14. 6. การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ หมายถึงลอการิทึมฐาน 10 ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น log 10 7 เขียนแทนด้วย log 7 log 10 15 เขียนแทนด้วย log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป 10 n เมื่อ n  I log 10 = log 10 1 = 1 log 100 = log 10 2 = 2 log 1000 = log 10 3 = 3 ดังนั้น log 10 n = n
  • 15. จำนวนจริงบวก N ใดๆ สามารถเขียนในรูป N 0 x 10 n ได้เสมอ เมื่อ 1 < N 0 <10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เนื่องจาก N = N 0 x 10 n ดังนั้น log N = log (N 0 x 10 n ) = log N 0 + log 10 n = log N 0 + n log N 0 เรียกว่า แมนทิสซา (mantissa) ของ log N n เรียกว่า แคแรกเทอริสติก (characteristic) ของ log N
  • 16. ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 45 2 0 พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ เนื่องจาก log 45 2 0 = log (4.5 2 x 10 3 ) = log 4.5 2 + log 10 3 = 0.65 51 + 3 = 3.6542 ดังนั้น log 4510 = 3.65 51 แมนทิสซาของ log 45 2 0 คือ 0.6551 แคแรกเทอริสติกของ log 45 2 0 คือ 3
  • 17. แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N วิธีทำ เนื่องจาก log N = 2.5159 = 0.5159 + 2 = log 3.28 + log 10 2 = log (3.28 x 10 2 ) = log 328 ดังนั้น N = 328
  • 18. 7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้ y = log b x จะได้ x = b y log a x = log a b y log a x = y log a b y = ดังนั้น log b x = ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 2 24
  • 19. ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน e เมื่อ e เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ ลอการิทึมแบบเนเปียร์ ” (Napierian Logarithms) ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ log e x เขียนแทนด้วย ln x log e 3 เขียนแทนด้วย ln 3 log e 20 เขียนแทนด้วย ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง จงหาค่าของ ln 25
  • 20. 8. สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 2 x .2 2x+1 = 4 x-2 วิธีทำ 2 x+2x+1 = (2 2 ) x-2 2 3x+1 = 2 2x-4 จะได้ 3x+1 = 2x-4 x = -5 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {-5} ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 4 x + 2 x+1 – 24 = 0
  • 21. สมการลอการิทึม คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 วิธีทำ log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 log 2 (x-2)(x-3) = log 2 2 จะได้ (x-2)(x-3) = 2 x 2 - 5x + 4 = 0 (x-1)(x-4) = 0 x = 1 , 4 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {4} เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ x = 1 หาค่าไม่ได้