SlideShare a Scribd company logo
T.KAINOY

ฟั งก์ ชัน(function)
ฟังก์ ชัน คือ ความสัมพันธ์ซ่ ึ งในสองคู่อนดับใดๆ ของความสัมพันธ์น้ น ถ้าสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว
ั
ั
สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน
ถ้า (x1,y1) ∈ r และ (x1,y2) ∈ r แล้ว y1= y2

หลักในการพิจารณาว่ าความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ ชันหรือไม่

่
1. ถ้าความสัมพันธ์น้ นอยูในรู ปแจกแจงสมาชิก ให้ดูวาสมาชิกตัวหน้าของคู่อนดับซํ้ากันหรื อไม่
ั ่
ั
ถ้าสมาชิกตัวหน้าของคู่อนดับซํ้ากัน แสดงว่าความสัมพันธ์น้ นไม่ เป็ นฟังก์ชน
ั
ั
ั
ตัวอย่ างที่ 1 ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชน
ั
r1 = {(0, 1),(1, 2),(1, 3),(2, 4)}

ั
ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะ 1 คู่กบทั้ง 2 และ 3
ั
r2 = {(0, 1),(1, 2),(3, 1),(2, 4)}

เป็ นฟังก์ชน เพราะไม่มีการใช้สมาชิกตัวหน้าซํ้าเลย(ห้ามใช้สมาชิกตัวหน้าซํ้า แต่ใช้สมาชิก
ั

ตัวหลังซํ้าได้)
2. ถ้าความสัมพันธ์น้ นอยูในรู ปของการกําหนดเงื่อนไขสมาชิก
ั ่

r = {(x,y) ∈ A× B | P(x,y) } ให้แทนค่าแต่ละสมาชิกของ x ลงในเงื่อนไข P(x,y) เพื่อหา

ค่า y ถ้ามี x ตัวใดที่ให้ค่า y มากกว่า 1 ค่า แสดงว่าความสัมพันธ์น้ นไม่ เป็ นฟังก์ชน
ั
ั

่
r3 = {(x, y) | y2 = x } ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะถ้าสมมติ x = 4 จะได้วา y = 2 หรื อ -2
ั
่
r4 = {(x, y) | y = x2 } เป็ นฟังก์ชน เพราะไม่วาจะแทน x ค่าใด ก็ได้ y เพียงค่าเดียว
ั
T.KAINOY

r5= {(x, y) | y = x } ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า ถ้า x = 2 จะได้ y = 2, -2
ั
3. พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน y ถ้าเส้นตรงดังกล่าวตัด
กราฟของความสัมพันธ์มากกว่า 1 จุด แสดงว่าความสัมพันธ์น้ นไม่ เป็ นฟังก์ชน
ั
ั

ความสัมพันธ์ r จะเป็ นฟังก์ชนก็ต่อเมื่อ ถ้า (x , y1) ∈ r และ (x , y2) ∈ r แล้ว y1 = y2
ั
ั
ตัวอย่ างที่ 2 จงตรวจสอบว่า r = {(x,y) ∈ R × R y2 = 4x +1 }เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่
วิธีทา จาก y2 = 4x + 1
ํ
ให้ (x , y1) ∈ r จะได้ y12 = 4a + 1

….. (1)

ให้ (x , y2) ∈ r จะได้ y22= 4a + 1

….. (2)

จาก (1) และ (2) จะได้ y12 = y22
y1 = ± y 2
่
ั
ดังนั้นเราไม่สามารถสรุ ปได้วา y1 = y2 แสดงว่าความสัมพันธ์น้ ีไม่เป็ นฟังก์ชน
ตัวอย่ างที่ 3

จงตรวจสอบว่า r = {(x,y) ∈ R × R y =

วิธีทา จาก
ํ

y=

ให้ (x , y1) ∈ r จะได้

ั
x + 1 } เป็ นฟั งก์ชนหรื อไม่

x +1

y1 =

a +1

…..(1)

ให้ (x , y2) ∈ r จะได้ y2 =

a +1

…..(2)

จาก (1) และ (2) จะได้ y1 = y2
∴ความสัมพันธ์ดงกล่าวเป็ นฟังก์ชน
ั
ั
T.KAINOY

สั ญลักษณ์ของฟังก์ ชัน
นิยมใช้

y = f(x) หรื อ y = g(x) การเขียนฟังก์ชนนิยมเขียนเฉพาะส่ วนที่เป็ นเงื่อนไขของฟังก์ชน
ั
ั
f = {( x, y ) ∈ R × R y = 2 x + 5}

{

g = ( x, y ) ∈ R × R y = x 2

}

เขียนสั้นๆได้ในรู ป

y = 2x + 5

เขียนสั้นๆได้ในรู ป

หรื อ

f ( x) = 2 x + 5

y = x 2 หรื อ g ( x) = x 2

♥หมายเหตุ♥ เรี ยก f(x) ว่าค่าฟังก์ชน f ที่ x
ั
ตัวอย่ างที่ 4 ให้ f เป็ นฟังก์ชนโดยที่
ั
จงหา

f ( x) = 2 x 2 − 1

f(0) , f(2) และ f(-1)

วิธีทา จาก
ํ

f ( x) = 2 x 2 − 1

จะได้

f (0) = 2(0) 2 − 1
f (2) = 2(2) 2 − 1

จงหาค่า
วิธีทา
ํ

จาก

=7

f (−1) = 2(−1) 2 − 1

ตัวอย่ างที่ 5 กําหนดให้

= −1

=1

f (1) = 2

และ

2
f ( x)

เมื่อ x เป็ นจํานวนเต็มบวก

f (4)

f ( x + 1) = 1 +

ให้

f ( x + 1) = 1 +

x =1

จะได้

2
f ( x)

และ

f ( 2) = 1 +

f (1) = 2
2
2
= 1+ = 2
f (1)
2

x=2

จะได้

f (3) = 1 +

2
2
= 1+ = 2
f (2)
2

x=3

จะได้

f (4) = 1 +

2
2
= 1+ = 2
f (3)
2

ลักษณะของฟังก์ ชัน
1. ฟังก์ ชัน จาก A ไป B (f : A → B )
คือฟังก์ชนซึ่ง Df = A และ Rf ⊂ B
ั
ตัวอย่ างที่ 6

ให้ A = {1,2,3,4}

B = {3,6,7,8}

1. ถ้า f1 = { (1,3) , (2,6) , (3,7) , (4,8) }
จะพบว่า f1 เป็ นฟังก์ชน และ D f = { 1,2,3,4, } = A
ั
1

ั
∴ f1 เป็ นฟังก์ชนจาก A ไป B
T.KAINOY

2. ถ้า f2 = { (1,6) , (2,7) , (3,8) }
จะพบว่า f2 เป็ นฟังก์ชน และ D f = { 1,2,3 } ≠ A
ั
2

เราจะเรี ยกว่า f2 เป็ นฟังก์ชนเฉย ๆ แต่ถาจะเรี ยกว่าเป็ นฟังก์ชนจากไหนไปไหน
ั
้
ั
ต้องเรี ยกว่า f2 เป็ นฟังก์ชนจาก
ั
2. ฟังก์ ชันจาก A ไปทัวถึง B (f : A
่

D f 2 ไป B

onto B )
→


คือฟังก์ชนซึ่ง Df = A และ Rf = B
ั

3. ฟังก์ ชันแบบ 1 – 1 (One – to – one function )
ฟังก์ชน f จะเรี ยกว่า ฟังก์ชนแบบ 1-1 ก็ต่อเมื่อสมาชิกในเรนจ์แต่ละตัวมีความสัมพันธ์ กับ
ั
ั
่
สมาชิกในโดเมนเพียงตัวเดียวเท่านั้น หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งได้วา ไม่มีสมาชิกในโดเมน 2 สมาชิก หรื อ
ั
มากกว่าไปมีความสัมพันธ์กบสมาชิกในเรนจ์สมาชิกเดียวกัน และเพื่อความเข้าใจ ขอให้นกเรี ยนดูแผนภาพ
ั
ต่อไปนี้
ถ้า f เป็ นฟังก์ชนซึ่ งมีความสัมพันธ์ดงแผนภาพต่อไปนี้
ั
ั
A
1

f1

B
x

2

y

3

z

A
m
o

B
f2
x
y

n

เราเรี ยก f1 ว่า เป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1
ั
ส่ วน f2 เรี ยกว่า เป็ นฟังก์ชนไม่ใช่แบบ 1-1 หรื ออาจจะเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นฟังก์ชนแบบ manyั
ั
to-one
T.KAINOY

การตรวจสอบว่ า f เป็ นฟังก์ ชันแบบ 1 – 1 หรือไม่
ลักษณะการตรวจสอบจะคล้ายคลึงกับการตรวจสอบว่าความสัมพันธ์เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ แต่
ั
กลับกัน
1. ถ้าเราสามารถเขียนกราฟของฟังก์ชนนั้นได้ เราจะใช้วธีการตรวจสอบโดยการลากเส้นขนาน
ั
ิ
กับแกน X ตัดกับกราฟของฟังก์ชนนั้น และถ้ามีเส้นที่ขนานกับแกน X เส้นใดเส้นหนึ่งตัดกับ
ั
กราฟเกิน 1 จุด ก็แสดงว่าฟังก์ชนนั้นเป็ นฟังก์ชน ไม่ใช่แบบ 1 – 1
ั
ั
่
2. ใช้วธีการคาดคะเน กล่าวคือ ใช้พิจารณาจากตัวแปร X ว่าอยูในรู ปกําลังที่เป็ นจํานวนเต็มคู่หรื อ
ิ
่
่
อยูในรู ปค่าสัมบูรณ์หรื อไม่ ถ้าอยูในลักษณะดังกล่าว ฟังก์ชนนั้นไม่ควรเป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1
ั
ั
กล่าวคือควรจะเป็ นฟังก์ชนแบบ many – to – one
ั
่
3. ตรวจสอบโดยใช้หลักที่วา
ให้ (x1,y) ∈ f และ (x2,y) ∈ f ดังภาพ
่
ั
ั
ถ้าสามารถสรุ ปได้วา x1 = x2 ก็แสดงว่าฟังก์ชนดังกล่าวเป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1
ตัวอย่ างที่ 7 กําหนดให้ f เป็ นฟังก์ชน โดยที่ f ={(x , y) ∈ R × R
ั

X +1

+

Y +1

=2}

จงพิจารณาว่า f เป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1 หรื อไม่
ั
วิธีทา ให้ (x1,y) ∈ f และ (x2,y) ∈ f
ํ
่
∴ จะได้วา

+

y +1

=2

….. (1)

x2 + 1 +

y +1

=2

…...(2)

x1 + 1

และ
∴ (1)=(2) จะได้

x1 + 1
x1

=

x2 + 1

+1=

x2

=

x2

x1

+1

แสดงว่าฟังก์ชนดังกล่าวเป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1
ั
ั
ั
ตัวอย่ างที่ 8 กําหนดให้ f = {(x , y) ∈ R × Ry = x2} จงตรวจสอบว่าฟังก์ชน f เป็ น 1-1 หรื อไม่
วิธีทา ให้ (x1,y) ∈ f และ (x2,y) ∈ f
ํ
y = x12

…….. (1)

c = x22

…….. (2)

∴ x12= x22 และได้ x1 = ± x2
่
ซึ่ งไม่าสามารถสรุ ปได้วา x1 = x2
ดังนั้น f เป็ นฟังก์ชนไม่ใช่แบบ 1-1
ั
T.KAINOY

ั
เมื่อเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะทําการตรวจสอบว่า y แต่ละตัว คู่กบ x เพียงตัวเดียวหรื อไม่
่
โดยลากเส้นแนวนอนและดูวาที่ y แต่ละค่า เส้นนี้ตดกราฟไม่เกินหนึ่งจุดหรื อไม่
ั

1−1
4. ฟังก์ ชันหนึ่งต่ อหนึ่งจาก A ไป B” ( f : A → B )
ั
คือฟังก์ชนที่ Df = A และ Rf ⊂ B และ “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กบ x เพียงตัวเดียวด้วย”
ั

5.ฟังก์ ชันหนึ่งต่ อหนึ่งจาก A ไปทัวถึง B ( f : A
่
B)
ั
คือฟังก์ชนที่ Df = A และ Rf = B และ “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กบ x เพียงตัวเดียวด้วย”
ั

บทสรุ ป
ถ้า f เป็ นฟังก์ชนจาก A ไป B ลักษณะของฟังก์ชน f สามารถแยกออกเป็ น 4 ชนิดคือ
ั
ั
T.KAINOY

ฟังก์ชันทีน่าสนใจ
่
1. ฟังก์ชนคงตัว (Constant Function)
ั
f (x) = a
(กราฟเส้นตรงแนวนอน)
เช่น f (x) = 2 , f (x) = -3 เป็ นต้น
2. ฟังก์ชนเชิงเส้น (Linear Function)
ั
f (x) = ax + b
(กราฟเส้นตรงเฉียงๆ)
เช่น f (x) = 5x+3 , f (x) = 4x เป็ นต้น
3. ฟังก์ชนกําลังสอง (Quadratic Function)
ั
f (x) = ax2+ bx + c (กราฟพาราโบลาหงายหรื อควํ่า)
เช่น f (x) = 3x2+ 2x + 1 , f (x) = 7x2- 4 เป็ นต้น
4. ฟังก์ชนพหุ นาม (Polynomial Function)
ั
f(x) = an x n + an−1 x n−1 + ... + a2 x 2 + a1 x + a0
โดยที่ an , an−1 ,..., a2 , a1 , a0 เป็ นค่าคงตัว และ n เป็ นจํานวนเต็มที่มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ
ศูนย์
เช่น
f(x) = 2x5+ 3x3 + 4x + 7
5. ฟังก์ชนตรรกยะ (Rational Function)
ั
f(x) =

𝑝𝑝(𝑥𝑥)

𝑞𝑞(𝑥𝑥)

เช่น f(x) =

เมื่อ p(x), q(x) เป็ นฟังก์ชนพหุนาม และ q(x) ≠ 0
ั

3x − 2
x 2 −1
T.KAINOY

6.ฟังก์ชนค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function)
ั
f (x) = ax + b + c
เช่น f(x)

(กราฟรู ปตัววีหงายหรื อควํ่า )

= x

7.ฟังก์ชนขั้นบันได (step function) คือ ฟังก์ชนที่มีค่าคงตัวเป็ นช่วง ๆ
ั
ั

กราฟของฟังก์ชนนี้จะมีรูปร่ างคล้ายขั้นบันได
ั

8. ฟังก์ชนที่เป็ นคาบ (periodic function)
ั
f เป็ นฟังก์ชนที่เป็ นคาบ ก็ต่อเมื่อ มีจานวนจริ ง p ที่ทาให้ f(x+p) = f(x) สําหรับ ทุกค่าของ x และ x+p
ั
ํ
ํ
่
ที่อยูในโดเมนของ f

More Related Content

What's hot

ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
Wichai Likitponrak
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
KruPa Jggdd
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ดีโด้ ดีโด้
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
Kapom K.S.
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
krurutsamee
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนFern Monwalee
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
พัน พัน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
Y'Yuyee Raksaya
 

What's hot (20)

ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
ลำดับเรขาคณิต (Geometric sequence)
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.1
 
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
ปริมาณกระแสไฟฟ้าในผลไม้
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
แบบฝึกหัดเคมีอินทรีย์
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
เอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัสเอกสารแคลคูลัส
เอกสารแคลคูลัส
 
จำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อนจำนนวนเชิงซ้อน
จำนนวนเชิงซ้อน
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 

Similar to ฟังก์ชัน1

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันJiraprapa Suwannajak
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
Aroonrat Kaewtanee
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
Yingying Apinya
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
guest5ec5625
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสPloy Purr
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]aonuma
 
Expo
ExpoExpo
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังNiwat Namisa
 

Similar to ฟังก์ชัน1 (20)

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Math1 new
Math1 newMath1 new
Math1 new
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Function3
Function3Function3
Function3
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
 
Function2
Function2Function2
Function2
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
Function
FunctionFunction
Function
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัสประวัติ แคลคูลัส
ประวัติ แคลคูลัส
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑเธ™เธ˜เนŒ[1]
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
7
77
7
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 

More from Inmylove Nupad

หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนInmylove Nupad
 
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่Inmylove Nupad
 
Document 1320130813093429
Document 1320130813093429Document 1320130813093429
Document 1320130813093429
Inmylove Nupad
 
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา Inmylove Nupad
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O netInmylove Nupad
 
ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 1ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 1Inmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายInmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นInmylove Nupad
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
การบ้าน403
การบ้าน403การบ้าน403
การบ้าน403Inmylove Nupad
 
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2
เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2Inmylove Nupad
 
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2
เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2Inmylove Nupad
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 

More from Inmylove Nupad (18)

หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
 
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา_BYครูอ๊อฟ&ครูไก่
 
Document 1320130813093429
Document 1320130813093429Document 1320130813093429
Document 1320130813093429
 
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O net
 
ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 1ครั้งที่ 1
ครั้งที่ 1
 
งาน 502 1
งาน 502 1งาน 502 1
งาน 502 1
 
งาน503 1
งาน503 1งาน503 1
งาน503 1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
การบ้าน403
การบ้าน403การบ้าน403
การบ้าน403
 
งานม.403
งานม.403งานม.403
งานม.403
 
งานม.402
งานม.402งานม.402
งานม.402
 
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2
เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2
 
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2
เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2เก็งข้อสอบบทที่  1  และ 2
เก็งข้อสอบบทที่ 1 และ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 

ฟังก์ชัน1

  • 1. T.KAINOY ฟั งก์ ชัน(function) ฟังก์ ชัน คือ ความสัมพันธ์ซ่ ึ งในสองคู่อนดับใดๆ ของความสัมพันธ์น้ น ถ้าสมาชิกตัวหน้าเหมือนกันแล้ว ั ั สมาชิกตัวหลังต้องไม่ต่างกัน ถ้า (x1,y1) ∈ r และ (x1,y2) ∈ r แล้ว y1= y2 หลักในการพิจารณาว่ าความสั มพันธ์ เป็ นฟังก์ ชันหรือไม่ ่ 1. ถ้าความสัมพันธ์น้ นอยูในรู ปแจกแจงสมาชิก ให้ดูวาสมาชิกตัวหน้าของคู่อนดับซํ้ากันหรื อไม่ ั ่ ั ถ้าสมาชิกตัวหน้าของคู่อนดับซํ้ากัน แสดงว่าความสัมพันธ์น้ นไม่ เป็ นฟังก์ชน ั ั ั ตัวอย่ างที่ 1 ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นฟังก์ชน ั r1 = {(0, 1),(1, 2),(1, 3),(2, 4)} ั ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะ 1 คู่กบทั้ง 2 และ 3 ั r2 = {(0, 1),(1, 2),(3, 1),(2, 4)} เป็ นฟังก์ชน เพราะไม่มีการใช้สมาชิกตัวหน้าซํ้าเลย(ห้ามใช้สมาชิกตัวหน้าซํ้า แต่ใช้สมาชิก ั ตัวหลังซํ้าได้) 2. ถ้าความสัมพันธ์น้ นอยูในรู ปของการกําหนดเงื่อนไขสมาชิก ั ่ r = {(x,y) ∈ A× B | P(x,y) } ให้แทนค่าแต่ละสมาชิกของ x ลงในเงื่อนไข P(x,y) เพื่อหา ค่า y ถ้ามี x ตัวใดที่ให้ค่า y มากกว่า 1 ค่า แสดงว่าความสัมพันธ์น้ นไม่ เป็ นฟังก์ชน ั ั ่ r3 = {(x, y) | y2 = x } ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะถ้าสมมติ x = 4 จะได้วา y = 2 หรื อ -2 ั ่ r4 = {(x, y) | y = x2 } เป็ นฟังก์ชน เพราะไม่วาจะแทน x ค่าใด ก็ได้ y เพียงค่าเดียว ั
  • 2. T.KAINOY r5= {(x, y) | y = x } ไม่เป็ นฟังก์ชน เพราะว่า ถ้า x = 2 จะได้ y = 2, -2 ั 3. พิจารณาจากกราฟของความสัมพันธ์ โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน y ถ้าเส้นตรงดังกล่าวตัด กราฟของความสัมพันธ์มากกว่า 1 จุด แสดงว่าความสัมพันธ์น้ นไม่ เป็ นฟังก์ชน ั ั ความสัมพันธ์ r จะเป็ นฟังก์ชนก็ต่อเมื่อ ถ้า (x , y1) ∈ r และ (x , y2) ∈ r แล้ว y1 = y2 ั ั ตัวอย่ างที่ 2 จงตรวจสอบว่า r = {(x,y) ∈ R × R y2 = 4x +1 }เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ วิธีทา จาก y2 = 4x + 1 ํ ให้ (x , y1) ∈ r จะได้ y12 = 4a + 1 ….. (1) ให้ (x , y2) ∈ r จะได้ y22= 4a + 1 ….. (2) จาก (1) และ (2) จะได้ y12 = y22 y1 = ± y 2 ่ ั ดังนั้นเราไม่สามารถสรุ ปได้วา y1 = y2 แสดงว่าความสัมพันธ์น้ ีไม่เป็ นฟังก์ชน ตัวอย่ างที่ 3 จงตรวจสอบว่า r = {(x,y) ∈ R × R y = วิธีทา จาก ํ y= ให้ (x , y1) ∈ r จะได้ ั x + 1 } เป็ นฟั งก์ชนหรื อไม่ x +1 y1 = a +1 …..(1) ให้ (x , y2) ∈ r จะได้ y2 = a +1 …..(2) จาก (1) และ (2) จะได้ y1 = y2 ∴ความสัมพันธ์ดงกล่าวเป็ นฟังก์ชน ั ั
  • 3. T.KAINOY สั ญลักษณ์ของฟังก์ ชัน นิยมใช้ y = f(x) หรื อ y = g(x) การเขียนฟังก์ชนนิยมเขียนเฉพาะส่ วนที่เป็ นเงื่อนไขของฟังก์ชน ั ั f = {( x, y ) ∈ R × R y = 2 x + 5} { g = ( x, y ) ∈ R × R y = x 2 } เขียนสั้นๆได้ในรู ป y = 2x + 5 เขียนสั้นๆได้ในรู ป หรื อ f ( x) = 2 x + 5 y = x 2 หรื อ g ( x) = x 2 ♥หมายเหตุ♥ เรี ยก f(x) ว่าค่าฟังก์ชน f ที่ x ั ตัวอย่ างที่ 4 ให้ f เป็ นฟังก์ชนโดยที่ ั จงหา f ( x) = 2 x 2 − 1 f(0) , f(2) และ f(-1) วิธีทา จาก ํ f ( x) = 2 x 2 − 1 จะได้ f (0) = 2(0) 2 − 1 f (2) = 2(2) 2 − 1 จงหาค่า วิธีทา ํ จาก =7 f (−1) = 2(−1) 2 − 1 ตัวอย่ างที่ 5 กําหนดให้ = −1 =1 f (1) = 2 และ 2 f ( x) เมื่อ x เป็ นจํานวนเต็มบวก f (4) f ( x + 1) = 1 + ให้ f ( x + 1) = 1 + x =1 จะได้ 2 f ( x) และ f ( 2) = 1 + f (1) = 2 2 2 = 1+ = 2 f (1) 2 x=2 จะได้ f (3) = 1 + 2 2 = 1+ = 2 f (2) 2 x=3 จะได้ f (4) = 1 + 2 2 = 1+ = 2 f (3) 2 ลักษณะของฟังก์ ชัน 1. ฟังก์ ชัน จาก A ไป B (f : A → B ) คือฟังก์ชนซึ่ง Df = A และ Rf ⊂ B ั ตัวอย่ างที่ 6 ให้ A = {1,2,3,4} B = {3,6,7,8} 1. ถ้า f1 = { (1,3) , (2,6) , (3,7) , (4,8) } จะพบว่า f1 เป็ นฟังก์ชน และ D f = { 1,2,3,4, } = A ั 1 ั ∴ f1 เป็ นฟังก์ชนจาก A ไป B
  • 4. T.KAINOY 2. ถ้า f2 = { (1,6) , (2,7) , (3,8) } จะพบว่า f2 เป็ นฟังก์ชน และ D f = { 1,2,3 } ≠ A ั 2 เราจะเรี ยกว่า f2 เป็ นฟังก์ชนเฉย ๆ แต่ถาจะเรี ยกว่าเป็ นฟังก์ชนจากไหนไปไหน ั ้ ั ต้องเรี ยกว่า f2 เป็ นฟังก์ชนจาก ั 2. ฟังก์ ชันจาก A ไปทัวถึง B (f : A ่ D f 2 ไป B onto B ) →  คือฟังก์ชนซึ่ง Df = A และ Rf = B ั 3. ฟังก์ ชันแบบ 1 – 1 (One – to – one function ) ฟังก์ชน f จะเรี ยกว่า ฟังก์ชนแบบ 1-1 ก็ต่อเมื่อสมาชิกในเรนจ์แต่ละตัวมีความสัมพันธ์ กับ ั ั ่ สมาชิกในโดเมนเพียงตัวเดียวเท่านั้น หรื อกล่าวอีกนัยหนึ่งได้วา ไม่มีสมาชิกในโดเมน 2 สมาชิก หรื อ ั มากกว่าไปมีความสัมพันธ์กบสมาชิกในเรนจ์สมาชิกเดียวกัน และเพื่อความเข้าใจ ขอให้นกเรี ยนดูแผนภาพ ั ต่อไปนี้ ถ้า f เป็ นฟังก์ชนซึ่ งมีความสัมพันธ์ดงแผนภาพต่อไปนี้ ั ั A 1 f1 B x 2 y 3 z A m o B f2 x y n เราเรี ยก f1 ว่า เป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1 ั ส่ วน f2 เรี ยกว่า เป็ นฟังก์ชนไม่ใช่แบบ 1-1 หรื ออาจจะเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นฟังก์ชนแบบ manyั ั to-one
  • 5. T.KAINOY การตรวจสอบว่ า f เป็ นฟังก์ ชันแบบ 1 – 1 หรือไม่ ลักษณะการตรวจสอบจะคล้ายคลึงกับการตรวจสอบว่าความสัมพันธ์เป็ นฟังก์ชนหรื อไม่ แต่ ั กลับกัน 1. ถ้าเราสามารถเขียนกราฟของฟังก์ชนนั้นได้ เราจะใช้วธีการตรวจสอบโดยการลากเส้นขนาน ั ิ กับแกน X ตัดกับกราฟของฟังก์ชนนั้น และถ้ามีเส้นที่ขนานกับแกน X เส้นใดเส้นหนึ่งตัดกับ ั กราฟเกิน 1 จุด ก็แสดงว่าฟังก์ชนนั้นเป็ นฟังก์ชน ไม่ใช่แบบ 1 – 1 ั ั ่ 2. ใช้วธีการคาดคะเน กล่าวคือ ใช้พิจารณาจากตัวแปร X ว่าอยูในรู ปกําลังที่เป็ นจํานวนเต็มคู่หรื อ ิ ่ ่ อยูในรู ปค่าสัมบูรณ์หรื อไม่ ถ้าอยูในลักษณะดังกล่าว ฟังก์ชนนั้นไม่ควรเป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1 ั ั กล่าวคือควรจะเป็ นฟังก์ชนแบบ many – to – one ั ่ 3. ตรวจสอบโดยใช้หลักที่วา ให้ (x1,y) ∈ f และ (x2,y) ∈ f ดังภาพ ่ ั ั ถ้าสามารถสรุ ปได้วา x1 = x2 ก็แสดงว่าฟังก์ชนดังกล่าวเป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1 ตัวอย่ างที่ 7 กําหนดให้ f เป็ นฟังก์ชน โดยที่ f ={(x , y) ∈ R × R ั X +1 + Y +1 =2} จงพิจารณาว่า f เป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1 หรื อไม่ ั วิธีทา ให้ (x1,y) ∈ f และ (x2,y) ∈ f ํ ่ ∴ จะได้วา + y +1 =2 ….. (1) x2 + 1 + y +1 =2 …...(2) x1 + 1 และ ∴ (1)=(2) จะได้ x1 + 1 x1 = x2 + 1 +1= x2 = x2 x1 +1 แสดงว่าฟังก์ชนดังกล่าวเป็ นฟังก์ชนแบบ 1-1 ั ั ั ตัวอย่ างที่ 8 กําหนดให้ f = {(x , y) ∈ R × Ry = x2} จงตรวจสอบว่าฟังก์ชน f เป็ น 1-1 หรื อไม่ วิธีทา ให้ (x1,y) ∈ f และ (x2,y) ∈ f ํ y = x12 …….. (1) c = x22 …….. (2) ∴ x12= x22 และได้ x1 = ± x2 ่ ซึ่ งไม่าสามารถสรุ ปได้วา x1 = x2 ดังนั้น f เป็ นฟังก์ชนไม่ใช่แบบ 1-1 ั
  • 6. T.KAINOY ั เมื่อเขียนกราฟของความสัมพันธ์ จะทําการตรวจสอบว่า y แต่ละตัว คู่กบ x เพียงตัวเดียวหรื อไม่ ่ โดยลากเส้นแนวนอนและดูวาที่ y แต่ละค่า เส้นนี้ตดกราฟไม่เกินหนึ่งจุดหรื อไม่ ั 1−1 4. ฟังก์ ชันหนึ่งต่ อหนึ่งจาก A ไป B” ( f : A → B ) ั คือฟังก์ชนที่ Df = A และ Rf ⊂ B และ “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กบ x เพียงตัวเดียวด้วย” ั 5.ฟังก์ ชันหนึ่งต่ อหนึ่งจาก A ไปทัวถึง B ( f : A ่ B) ั คือฟังก์ชนที่ Df = A และ Rf = B และ “สําหรับ y แต่ละตัว จะคู่กบ x เพียงตัวเดียวด้วย” ั บทสรุ ป ถ้า f เป็ นฟังก์ชนจาก A ไป B ลักษณะของฟังก์ชน f สามารถแยกออกเป็ น 4 ชนิดคือ ั ั
  • 7. T.KAINOY ฟังก์ชันทีน่าสนใจ ่ 1. ฟังก์ชนคงตัว (Constant Function) ั f (x) = a (กราฟเส้นตรงแนวนอน) เช่น f (x) = 2 , f (x) = -3 เป็ นต้น 2. ฟังก์ชนเชิงเส้น (Linear Function) ั f (x) = ax + b (กราฟเส้นตรงเฉียงๆ) เช่น f (x) = 5x+3 , f (x) = 4x เป็ นต้น 3. ฟังก์ชนกําลังสอง (Quadratic Function) ั f (x) = ax2+ bx + c (กราฟพาราโบลาหงายหรื อควํ่า) เช่น f (x) = 3x2+ 2x + 1 , f (x) = 7x2- 4 เป็ นต้น 4. ฟังก์ชนพหุ นาม (Polynomial Function) ั f(x) = an x n + an−1 x n−1 + ... + a2 x 2 + a1 x + a0 โดยที่ an , an−1 ,..., a2 , a1 , a0 เป็ นค่าคงตัว และ n เป็ นจํานวนเต็มที่มีค่ามากกว่าหรื อเท่ากับ ศูนย์ เช่น f(x) = 2x5+ 3x3 + 4x + 7 5. ฟังก์ชนตรรกยะ (Rational Function) ั f(x) = 𝑝𝑝(𝑥𝑥) 𝑞𝑞(𝑥𝑥) เช่น f(x) = เมื่อ p(x), q(x) เป็ นฟังก์ชนพหุนาม และ q(x) ≠ 0 ั 3x − 2 x 2 −1
  • 8. T.KAINOY 6.ฟังก์ชนค่าสัมบูรณ์ (Absolute Value Function) ั f (x) = ax + b + c เช่น f(x) (กราฟรู ปตัววีหงายหรื อควํ่า ) = x 7.ฟังก์ชนขั้นบันได (step function) คือ ฟังก์ชนที่มีค่าคงตัวเป็ นช่วง ๆ ั ั กราฟของฟังก์ชนนี้จะมีรูปร่ างคล้ายขั้นบันได ั 8. ฟังก์ชนที่เป็ นคาบ (periodic function) ั f เป็ นฟังก์ชนที่เป็ นคาบ ก็ต่อเมื่อ มีจานวนจริ ง p ที่ทาให้ f(x+p) = f(x) สําหรับ ทุกค่าของ x และ x+p ั ํ ํ ่ ที่อยูในโดเมนของ f