SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
ระบบจำนวนจริง 1.  จำนวนตรรกยะ  คือ  จำนวนที่เขียนในรูป 1.1  จำนวนเต็ม  เช่น  0  , 1 , - 1 ,  2 , -2 ,  3 , -3 , . .  .  1.2  จำนวนที่เขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม เช่น  1.3  จำนวนที่เขียนในรูปทศนิยมซ้ำ เช่น  4.14  ,  2.  จำนวนอตรรกยะ   คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ   จำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์  แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ  เช่น ,  0.353353335...
แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวน จำนวนเชิงซ้อน จำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน ที่ไม่ใช่จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ ที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม จำนวนเต็มลบ ศูนย์  จำนวนเต็มบวก หรือ  จำนวนนับ
ตัวอย่าง  จงหาผลหารและเศษ เมื่อหาร  2 x 2  -   7 x  + 3   ด้วย  x  + 2 วิธีทำ ใช้วิธีการหารสังเคราะห์ 2 - 7 3 -2 2 - 4 + - 11 22 25 ผลหาร  2 x - 11 เศษ  25
การเท่ากันในระบบจำนวน 1.  สมบัติการสะท้อน เช่น  a  =  a 2.  สมบัติการสมมาตร เช่น  ถ้า  a   =  b   แล้ว  b  =  a 3.  สมบัติการถ่ายทอด ถ้า  a  =  b  และ  b  =  c   แล้ว  a  =  c  4.  สมบัติของการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า  a   =  b   แล้ว  a  +  c  =  b + c   5.  สมบัติการคูณด้วยจำนวนเท่ากัน ถ้า  a   =  b   แล้ว  a   c  =  b c
การบวกและการคูณในระบบจำนวนจริง บทนิยาม  ในระบบจำนวนจริง  เรียกจำนวนจริงที่บวกกับจำนวนจริง   จำนวนใดก็ตามได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงจำนวนนั้นว่า   เอกลักษณ์การบวก ถ้า  z  เป็นเอกลักการบวกแล้ว  z  +  a  =  a  =  a + z  โดยที่  a  เป็นจำนวนจริงใดๆ บทนิยาม  ในระบบจำนวนจริง  อินเวอร์สการบวก ของจำนวนจริง  a    ( ใช้แทนด้วยสัญลักษณ์  -  a )  หมายถึงจำนวนจริงที่บวกกับ  a    แล้วได้ ศูนย์  กล่าวคือ  a  + (-a)  =  0  =  (-a)  + a
สมบัติของระบบจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวก 1.  สมบัติปิดของการบวก 2.  สมบัติการสลับที่ของการบวก 3.  สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก 4.  เอกลักษณ์การบวก 5.  อินเวอร์สการบวก
การลบและการหารจำนวนจริง บทนิยาม   เมื่อ  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงใดๆ  a - b  =  a + (-b) ทฤษฎีบทที่  1   ถ้า  a ,  b  และ  c  เป็นจำนวนจริง 1.  a (b - c)  =  ab  - ac 2.  (a - b)c  =  ac  - bc 3.  (- a) (b - c)  =  - ab  + ac บทนิยาม  เมื่อ  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงใดๆ  ทฤษฎีบทที่  2  ถ้า  จะได้
ทฤษฎีบทที่  3
การแก้สมการตัวแปรเดียว ตัวอย่าง จงแก้สมการ  3x 3  + 2x 2  - 12x  -  8  =  0 วิธีทำ จะได้  (3 x 3  + 2x 2  )  -  (12x  +  8)  =  0  x 2   (3x + 2)   -  4  (3x + 2)   =  0 (3x + 2)  (x 2  - 4)  =  0 (3x + 2)  (x + 2) (x - 2)  =  0 นั่นคือ  3 x + 2  =  0   หรือ  x + 2  =  0 หรือ  x - 2  =  0 จะได้  x  =  -2 3 หรือ  x  =  -2 หรือ  x  =  2  ดังนั้น เซตคำตอบคือ
ทฤษฎีบทเศษเหลือ  (remainder theorem) เมื่อ  p(x)   คือพหุนาม  โดยที่  n  เป็นจำนวนเต็มบวก    เป็นจำนวนจริงซึ่ง  ถ้าหารพหุนาม  p (x)  ด้วยพหุนาม  x - c     เมื่อ  c  เป็นจำนวนจริง  แล้วเศษจะเท่ากับ  p(c) ตัวอย่าง จงหาเศษ เมื่อหาร  x 3  - 4x 2  + 3x + 2  ด้วย  x -  1   วิธีทำ เศษ คือ  p( 1 )  = ( 1 ) 3  - 4( 1 ) 2  + 3( 1 ) + 2 =  2 ,  x  +  2 เศษ คือ  p( -2 )  = ( -2 ) 3  - 4( -2 ) 2  + 3( -2 ) + 2 =  -28
ทฤษฎีบทตัวประกอบ  (factor  theorem) เมื่อ  p(x)   คือพหุนาม  โดยที่  n  เป็นจำนวนเต็มบวก    เป็นจำนวนจริงซึ่ง  พหุนาม  p (x)  นี้จะมี  x - c     เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ  p ( c)  =  0   ตัวอย่าง จงแสดงว่า  x -  2  เป็นตัวประกอบ  x 3  - 5x 2  + 2x + 8  วิธีทำ จะได้  p( 2  )  = ( 2 ) 3  - 5( 2 ) 2  + 2( 2 ) + 8 =  0 ให้  p(x)   =  x 3  - 5x 2  + 2x + 8  ดังนั้น  x - 2  เป็นตัวประกอบของ   x 3  - 5x 2  + 2x + 8
ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ เมื่อ  p(x)   คือพหุนาม  โดยที่  n  เป็นจำนวนเต็มบวก    เป็นจำนวนจริงซึ่ง   ถ้า  เป็นตัวประกอบของพหุนาม  p(x)  โดยที่  m  และ  k  เป็นจำนวนเต็มซึ่ง  และ  ห . ร . ม .  ของ  m  และ  k  เท่ากับ  1  แล้ว    m  จะเป็นตัวประกอบของ    k  จะเป็นตัวประกอบของ
สมบัติการไม่เท่ากัน บทนิยาม   สมาชิกของ  R +   เรียกว่า  จำนวนจริงบวก และ ถ้า  เราเรียก  a  ว่า จำนวนลบ บทนิยาม  a  <  b  หมายความว่า   a  >  b  หมายความว่า  สมบัติไตรวิภาค   ( trichotomy  property) ถ้า  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงแล้ว  a = b  , a < b  และ  a > b   จะเป็นเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทฤษฎีบทที่  1   สมบัติการถ่ายทอด   ถ้า  a > b  และ  b > c  แล้ว  a > c ทฤษฎีบทที่  2  สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน   ถ้า  a > b  แล้ว  a + c  >  b + c  c  เป็นจำนวนใดๆ ทฤษฎีบท  3  จำนวนบวกและจำนวนลบเปรียบเทียบกับ  0   a  เป็นจำนวนบวก  ก็ต่อเมื่อ  a > 0   a  เป็นจำนวนลบ  ก็ต่อเมื่อ  a < 0
ทฤษฏีบทที่  4   สมบัติของการคูณด้วยจำนวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์   กรณี  1  ถ้า  a > b  และ  c > 0  แล้ว  ac  >  bc   กรณี  2   ถ้า  a  >  b  และ  c < 0  แล้ว  ac  <   bc   ทฤษฏีบทที่  5   สมบัติการตัดออกสำหรับการบวก   ถ้า  a + c  >  b + c  แล้ว  a  >  b ทฤษฏีบทที่  6   สมบัติการตัดออกสำหรับการคูณ   กรณี  1   ac  >  bc  และ  c  > 0  แล้ว  a  >  b   กรณี  2   ac  >  bc  และ  c  <  0  แล้ว  a  <  b
ตัวอย่างที่ 1  จงหาเซตคำตอบของอสมการ วิธีทำ แยกตัวประกอบจะได้ ( x - 4 ) (x + 2)  >  0 x = 4  หรือ  x  =  -2 จะได้  (x - 4 ) (x + 2)  = 0 พิจารณาช่วงคำตอบ -2 4 + - + (  เริ่มที่ช่วงขวาสุดเป็น  +   และสลับกับ   -  ) เซตคำตอบที่สอดคล้องอสมการคือ
ตัวอย่างที่  2 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ นำ  -1  คูณทั้งสองข้าง เปลี่ยนเครื่อง    หมาย จะได้
ตัวอย่างที่  3 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ 2 1  4 5
ตัวอย่างที่  4 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ ดังนั้น  -
ตัวอย่างที่  5 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + + เซตคำตอบคือ ดังนั้น  นำ  หารจะได้ -
ตัวอย่างที่  6 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ นำ  คูณจะได้
ตัวอย่างที่  7 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ เนื่องแทนค่า  x  ด้วย จำนวนจริงใดๆ แล้วได้ จำนวนทั้งสามวงเล็บเป็นจำนวนบวก หรือ ศูนย์  ดังนั้นไม่มีจำนวนจริงใดเป็นคำตอบ
ตัวอย่างที่  8  จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ จะเห็นว่าเป็นจริงทุกค่า  x   ดังนั้นเซตคำตอบคือ
ตัวอย่างที่  9  จงหาเซต คำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ ดังนั้นเซตคำตอบคือ  จะเห็นว่าไม่มีจำนวนจริงใดที่ทำให้อสมการเป็นจริง
ตัวอย่างที่  10 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ -5 +  2   <  3x - 2  +  2   <  10 +  2 - 3  <  3x  <  12 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ ( -1 , 4 )
ตัวอย่างที่  11 จงหาคำตอบอสมการ วิธีทำ แยกเป็นกรณี และ ( หาค่า  x  ที่สอดคล้องทั้งสองกรณี ) จะได้ 2  + 6  <  x + 3x -6 + 4  <  2x - x  8  <  4x  2  <  x  - 2  <  x  คำตอบกรณีนี้ คือ คำตอบกรณีนี้ คือ ดังนั้น เซตคำตอบอสมการคือ =
ตัวอย่างที่  12  จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ
นำ  -1  คูณ จะได้ 0 1 + - + - นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก  >  เป็น  < นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก  >  เป็น  < นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก  >  เป็น  < เซตคำตอบคือ
ทดสอบ  1 จงหาเซตคำตอบต่อไปนี้ 1. 2. 3. ตอบ ตอบ ตอบ
ค่าสัมบูรณ์ บทนิยาม | x | = x ถ้า -  x ถ้า  เช่น | 2 | = 2 | -2 | = -  (- 2) = 2 ควรจำ ถ้าในค่าสัมบูรณ์เป็นจำนวนลบถอดใส่ลบข้างหน้า
สมบัติค่าสัมบูรณ์ 1.  | x |  0 2. | x | = | -x | 4. | xy | = | x | | y | 3. | x - y | = | y - x | 5. | x - y | | x |  -  | y | 6. | x + y | | x |  +  | y | จำไว้ว่า ค่าสัมบูรณ์  คือ ระยะห่างจาก ศูนย์  มีค่าเป็น ศูนย์ หรือ จำนวนบวกเท่านั้น
ตัวอย่างที่  1 จงหาคำตอบสมการ | x - 5 |  =  0 วิธีทำ  จะได้  x - 5  =  0 x  =  5 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ  { 5 }
ตัวอย่างที่  2 จงหาคำตอบสมการ | 7 - 2x |  =  11 วิธีทำ จะได้ หรือ - 11 7  - 2x  = 11 7  - 2x  = - 2x  =  11 - 7 - 2x  =  -11 - 7 - 2x  =  4 x  =  - 2 - 2x  =  - 18 x  =  9 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ  { -2 , 9 }
ตัวอย่างที่  3 | 2x - 1 |  =  - 4 วิธีทำ เนื่องจากค่าสัมบูรณ์ มีค่ามากกว่า หรือเท่ากับศูนย์เสมอ ดังนั้น เซตคำตอบ คือ
ตัวอย่างที่  4 จงหาคำตอบอสมการ  | 2x + 3 |  =  x - 9 วิธีทำ จะได้ 2 x + 3  =  x - 9 หรือ 2x + 3  = -  (  x - 9) 2x - x  = - 9 - 3 x  =  -12 2x + 3  = -  x + 9 2x + x  =  9 - 3 3x  =  6  x  =  2 ดังนั้น เซตคำตอบคือ  ตรวจ คำตอบ |   2 (-12)  + 3   |  =  -12 -9 (  ไม่จริง  ) ตรวจ คำตอบ |   2 (2)  + 3   |  =  2  - 9 (  ไม่จริง  ) 21  =  -21 (  หรือใช้วิธียก กำลังสองทั้งสองข้าง และ  ต้องตรวจคำตอบด้วย   )
ค่าสัมบูรณ์กับอสมการ เมื่อ  a   เป็นจำนวนจริงบวก 1.  | x |  <  a หมายถึง -  a  <  x  <  a (  x   คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์ น้อยกว่า  a  หน่วย   ) เช่น  | x |  <  2  หมายถึง - 2  <  x  <  2 (  x  คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์น้อยกว่า  2  หน่วย  ) กราฟเส้นจำนวนดังรูป 0 1 2 -1 -2
เมื่อ  a   เป็นจำนวนจริงบวก 2.  | x |  >  a หมายถึง x  <  - a (  x   คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์ มากกว่า   a  หน่วย   ) เช่น  | x |  >  2  หมายถึง x  <  -2 (  x  คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์ มากกว่า  2  หน่วย   ) กราฟเส้นจำนวนดังรูป 0 1 2 -1 -2 หรือ x  >  a หรือ x  >  2
รูปแบบที่ควรจำ 1.  | f(x) |  =  f(x) ตัวอย่าง สรุปได้ว่า | 3x + 6 |  =  3x + 6 จะได้ว่า 3x + 6  0 x - 2 ดังนั้นเซตคำตอบ  คือ
รูปแบบที่ควรจำ 2.  | f(x) |  =  -f(x) ตัวอย่าง สรุปได้ว่า | x - 2 |  =  2 - x จะได้ว่า x - 2  0 x 2 ดังนั้นเซตคำตอบ  คือ | x - 2 |  = - ( x - 2 ) ดังนั้น
รูปแบบที่ควรจำ สรุปได้ว่า หรือ สรุปได้ว่า ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบ วิธีทำ จะได้ เซตคำตอบคือ 3.
รูปแบบที่ควรจำ สรุปได้ว่า หรือ ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบ | 2x + 3 |  >  9 จะได้ว่า 2 x + 3  >  9 หรือ 2 x  +  3  <  -9 2x  >  6 x  >  3 กรณีนี้ คำตอบคือ 2 x  <  - 12 x  <  - 6 กรณีนี้คำตอบคือ ดังนั้นคำตอบอสมการคือ 4.
รูปแบบที่ควรจำ 5.  | f(x) |  <  0  หรือ  | f(x) |  <  a  เมื่อ  a  เป็นจำนวนลบ สรุปได้ว่า คำตอบคือ ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบ  | 4x - 1 |  <  -2 เป็นจำนวนลบ ตอบ
รูปแบบที่ควรจำ 6. เซตคำตอบคือ  R สรุปได้ว่า ตัวอย่าง ตอบ  R
รูปแบบที่ควรจำ 7.  | f(x) |  <  | g(x) | สรุปได้ว่า (  f(x) - g(x)  ) (  f(x) + g(x)  )   <  0 หรือ ยกกำลังสองทั้งสองข้าง
ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบ  | x - 2 |  <  | x - 1 | วิธีทำ [  ( x - 2)   -  ( x - 1 )  ] [  (x - 2 )  +  ( x - 1 )  ]   <  0 จะได้ (  - 1  ) (  2x - 3  )   <  0 2x - 3  >  0 x  > เซตคำตอบคือ จำนวนลบ  (-1)  คูณ เครื่องหมายเปลี่ยน  2 3
8.  a  <  | f(x) |  <  b  สรุปได้ว่า a  <  | f(x) |  และ  | f(x) |  <  b   เมื่อ  a  <  b  และ  b  เป็นจำนวนจริงบวก ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบ  3  <  | x |  <  7 จะได้ว่า 3  <  | x |  และ | x |  <  7 ดังนั้น x  < -3 หรือ x  >  3 กรณีนี้คำตอบ ดังนั้น - 7  <  x  <  7 กรณีนี้คำตอบ เซตคำตอบ คือ -7 -3 3 7
แบบทดสอบ  2 จงหาเซต คำตอบต่อไปนี้ 1.  | x - 2  |  <  6 2.  | 2x - 1 |  >  3 3.  | 1 - 3x |  <  - 2 4. ตอบ  ( -4 , 8 )
การแก้สมการที่มีค่าสัมบูรณ์หลายค่า ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบสมการ  | x  -  4 |  +  | x - 3 |  =  1 วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์ แบ่ง  x  ทั้งสามช่วง 3 4 ถ้า  x  <  3 จะได้สมการ -  (x- 4 ) +  - ( x - 3) = 1 -  (x- 4 ) + ( x - 3)  = 1 จะได้สมการ จะได้สมการ (x- 4 ) +  ( x - 3)  =  1 ได้คำตอบอินเตอร์เซกชันกับ  x  <  3 ได้คำตอบอินเตอร์เซกชันกับ ได้คำตอบอินเตอร์เซกชันกับ
กรณีที่  x  <  3 และ  -  ( x - 4 ) + - ( x -3 )  =  1 - x + 4 -  x + 3  =  1 - 2x + 7  =  1 - 2x  =  - 6 x  =  3 จะได้คำตอบ =
และ  -  ( x - 4 ) +  ( x -3 )  =  1 - x + 4 +  x - 3  =  1 1  =  1 จะได้คำตอบ = ตอบ
และ  ( x - 4 ) +  ( x -3 )  =  1 x - 4 +  x - 3  =  1 2 x   =  8 จะได้คำตอบ = x   =  4 =  [ 3 , 4 ] ดังนั้นคำตอบสมการคือ
ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบอสมการ  | x - 5 |  <  x - 3 วิธีทำ ใช้การถอดค่าสัมบูรณ์ กรณีที่  1 จะได้ x - 5  <  x - 3 - 5  <  -3 ซึ่งเป็นจริงทุกค่าของ  x ดังนั้นคำตอบคือ =  กรณีที่  2 จะได้ -  (x - 5)  <  x - 3 x  >  4 x  <  5 ดังนั้นคำตอบคือ =  ( 4,5 ) ดังนั้นเซตคำตอบทั้งหมดคือ  [ 5 ,  ) (4,5) = ( หรือยกกำลังสองทั้งสองข้างก็ได้ )
วิธีที่  2 | x - 5 |  <  x - 3 (  โดยการใช้นิยามการถอดค่าสัมบูรณ์ ) จะได้ - (x - 3)  <  x -5  <  x - 3 เซตคำตอบคือ  { x | x  > 4 } ดังนั้น  -  x + 3  <  x - 5 และ x - 5  <  x - 3 - 2 x  <  - 8 x  >  4 - 5  <  -3 { x | x  เป็นจำนวนจริง  }  =  R เซตคำตอบคือ  R
วิธีที่  3 | x - 5 |  <  x - 3 (  กรณีนี้ยกกำลังสองได้  ต้องตรวจคำตอบด้วย   ) จะได้ ( x -5 ) 2   <  ( x - 3 ) 2 x 2  - 10x + 25  <  x 2  - 6x + 9 - 4x  <  -16 x  >  4 เซตคำตอบคือ  { x | x  > 4 } ระวัง  ! | f(x) |  <  g(x) | f(x) |  >  | g(x) | | f(x) |  <  | g(x) | จะยก กำลังสองได้ต้องอยู่ในรูป รู้ไหม ?  ทำไมเปลี่ยนเครื่องหมาย น 2  - 2 นล  +  ล 2
แบบทดสอบ  3 1.  | 2x- 3 |  =  5 2.  | x - 1 |  <  2x 3.  | x + 2 |  >  3 - x ตอบ  { - 1 , 4 } 4.  | x - 2 |  <  | 2x - 1 | ยกกำลังทั้งสองข้างก็ได้ ยกกำลังทั้งสองข้างไม่ได้ ยกกำลังทั้งสองข้างก็ได้แต่ต้องตรวจคำตอบ ยกกำลังทั้งสองข้างก็ได้แต่ต้องตรวจคำตอบ
ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบของสมการ  | x + 2 | + | x - 3 |  =  | x + 5 |   วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์โดยการแบ่งเป็น  4   ช่วงดังนี้ - 5 - 5 - 2 3 จะได้ - (x+2) + - (x-3)  =  - (x+5) - (x+2) + - (x-3)  =  (x+5) (x+2) + - (x-3)  =  (x+5) (x+2) +  (x-3)  =  (x+5)
กรณีที่  1 x  <  -5 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 )  =  - ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3  =  - x - 5 - x  =  - 6 x  =  6 กรณีนี้ คำตอบคือ =
กรณีที่  2 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 )  =  ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3  =  x + 5 - 3x  =  4 กรณีนี้ คำตอบคือ =
กรณีที่  3 จะได้สมการ ( x + 2 ) + - ( x - 3 )  =  ( x + 5 ) x + 2 - x + 3  =  x + 5 x  =  0 กรณีนี้ คำตอบคือ =  { 0 }
กรณีที่  4 จะได้สมการ ( x + 2 ) +  ( x - 3 )  =  ( x + 5 ) x + 2 + x - 3  =  x + 5 x  =  6 กรณีนี้ คำตอบคือ =  6 ดังนั้นคำตอบของสมการคือ = { 6 }
ทดสอบ ( 10  คะแนน  ) 1.  จงหาเซตคำตอบ  | x + 1 | + | x - 2 |  =  | x + 4 | 2.  จงหาเซตคำตอบ  | x + 2 | + | x - 3 |  <  | x + 5 | ตอบ  ( 0 , 6 ) ตอบ  ( 0 , 6 ) ตอบ  ( 0 , 6 ) ตอบ  { -1 , 5 } ตอบ  { -1 , 5 } ตอบ  { -1 , 5 } ตอบ  ( 0  ,  6 ) ตอบ  { -1 , 5 }
ผลเฉลย การหาเซต คำตอบของสมการ  | x + 1 | + | x - 2 |  =  | x + 4 |   วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์โดยการแบ่งเป็น  4   ช่วงดังนี้ - 4 - 1 2 จะได้ - (x+1) + - (x-2)  =  - (x+4) - (x+1) + - (x-2)  =  (x+4) (x+1) + - (x-2)  =  (x+4) (x+1) +  (x-2)  =  (x+4)
กรณีที่  1 x  <  -4 จะได้สมการ - ( x + 1 ) + - ( x -2 )  =  - ( x + 4 ) - x - 1 - x + 3  =  - x - 4 - x  =  - 5 x  =  5 กรณีนี้ คำตอบคือ =
กรณีที่  2 จะได้สมการ - ( x + 1 ) + - ( x - 2 )  =  ( x + 4 ) - x - 1 - x + 2  =  x + 4 - 3x  =  3 กรณีนี้ คำตอบคือ =  x  =  - 1
กรณีที่  3 จะได้สมการ ( x + 1 ) + - ( x - 2 )  =  ( x + 4 ) x + 1 - x + 2  =  x + 4 x  =  - 1 กรณีนี้ คำตอบคือ =  { -1 }
กรณีที่  4 จะได้สมการ ( x + 1 ) +  ( x - 2 )  =  ( x + 4 ) x + 1 + x - 2  =  x + 4 x  =  5 กรณีนี้ คำตอบคือ =  5 ดังนั้นคำตอบของสมการคือ = { -1 , 5 }
ผลเฉลย การหาเซต คำตอบของสมการ  | x + 2 | + | x - 3 |  <  | x + 5 |   วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์โดยการแบ่งเป็น  4   ช่วงดังนี้ - 5 - 5 - 2 3 จะได้ - (x+2) + - (x-3)  <  - (x+5) - (x+2) + - (x-3)  <  (x+5) (x+2) + - (x-3)  <  (x+5) (x+2) +  (x-3)  <  (x+5)
กรณีที่  1 x  <  -5 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 )  <  - ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3  <  - x - 5 - x  <  - 6 x  >  6 กรณีนี้ คำตอบคือ =
กรณีที่  2 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 )  <  ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3  <  x + 5 - 3x  <  4 กรณีนี้ คำตอบคือ =
กรณีที่  3 จะได้สมการ ( x + 2 ) + - ( x - 3 )  <  ( x + 5 ) x + 2 - x + 3  <  x + 5 x  >  0 กรณีนี้ คำตอบคือ =  (  0 , 3 )
กรณีที่  4 จะได้สมการ ( x + 2 ) +  ( x - 3 )  <  ( x + 5 ) x + 2 + x - 3  <  x + 5 x  <  6 กรณีนี้ คำตอบคือ =  [ 3 , 6 ) ดังนั้นคำตอบของสมการคือ = ( 0 , 6 )

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2suwanpinit
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการsuwanpinit
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการNoir Black
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการORAWAN SAKULDEE
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนทับทิม เจริญตา
 

What's hot (17)

ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2แก้อสมการ 2
แก้อสมการ 2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
การแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการการแก้ระบบสมการ
การแก้ระบบสมการ
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
วิธีการแก้โจทย์ตามขั้นตอน
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 

Similar to Real (1)

สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...กุ้ง ณัฐรดา
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103พัน พัน
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นsuwanpinit
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่Chon Chom
 

Similar to Real (1) (20)

Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
112
112112
112
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 

Real (1)

  • 1. ระบบจำนวนจริง 1. จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่เขียนในรูป 1.1 จำนวนเต็ม เช่น 0 , 1 , - 1 , 2 , -2 , 3 , -3 , . . . 1.2 จำนวนที่เขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม เช่น 1.3 จำนวนที่เขียนในรูปทศนิยมซ้ำ เช่น 4.14 , 2. จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ จำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ เช่น , 0.353353335...
  • 2. แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวน จำนวนเชิงซ้อน จำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน ที่ไม่ใช่จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ ที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม จำนวนเต็มลบ ศูนย์ จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ
  • 3. ตัวอย่าง จงหาผลหารและเศษ เมื่อหาร 2 x 2 - 7 x + 3 ด้วย x + 2 วิธีทำ ใช้วิธีการหารสังเคราะห์ 2 - 7 3 -2 2 - 4 + - 11 22 25 ผลหาร 2 x - 11 เศษ 25
  • 4. การเท่ากันในระบบจำนวน 1. สมบัติการสะท้อน เช่น a = a 2. สมบัติการสมมาตร เช่น ถ้า a = b แล้ว b = a 3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c 4. สมบัติของการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c 5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนเท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a c = b c
  • 5. การบวกและการคูณในระบบจำนวนจริง บทนิยาม ในระบบจำนวนจริง เรียกจำนวนจริงที่บวกกับจำนวนจริง จำนวนใดก็ตามได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงจำนวนนั้นว่า เอกลักษณ์การบวก ถ้า z เป็นเอกลักการบวกแล้ว z + a = a = a + z โดยที่ a เป็นจำนวนจริงใดๆ บทนิยาม ในระบบจำนวนจริง อินเวอร์สการบวก ของจำนวนจริง a ( ใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ - a ) หมายถึงจำนวนจริงที่บวกกับ a แล้วได้ ศูนย์ กล่าวคือ a + (-a) = 0 = (-a) + a
  • 6. สมบัติของระบบจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวก 1. สมบัติปิดของการบวก 2. สมบัติการสลับที่ของการบวก 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก 4. เอกลักษณ์การบวก 5. อินเวอร์สการบวก
  • 7. การลบและการหารจำนวนจริง บทนิยาม เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใดๆ a - b = a + (-b) ทฤษฎีบทที่ 1 ถ้า a , b และ c เป็นจำนวนจริง 1. a (b - c) = ab - ac 2. (a - b)c = ac - bc 3. (- a) (b - c) = - ab + ac บทนิยาม เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใดๆ ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้า จะได้
  • 9. การแก้สมการตัวแปรเดียว ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3x 3 + 2x 2 - 12x - 8 = 0 วิธีทำ จะได้ (3 x 3 + 2x 2 ) - (12x + 8) = 0 x 2 (3x + 2) - 4 (3x + 2) = 0 (3x + 2) (x 2 - 4) = 0 (3x + 2) (x + 2) (x - 2) = 0 นั่นคือ 3 x + 2 = 0 หรือ x + 2 = 0 หรือ x - 2 = 0 จะได้ x = -2 3 หรือ x = -2 หรือ x = 2 ดังนั้น เซตคำตอบคือ
  • 10. ทฤษฎีบทเศษเหลือ (remainder theorem) เมื่อ p(x) คือพหุนาม โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก เป็นจำนวนจริงซึ่ง ถ้าหารพหุนาม p (x) ด้วยพหุนาม x - c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง แล้วเศษจะเท่ากับ p(c) ตัวอย่าง จงหาเศษ เมื่อหาร x 3 - 4x 2 + 3x + 2 ด้วย x - 1 วิธีทำ เศษ คือ p( 1 ) = ( 1 ) 3 - 4( 1 ) 2 + 3( 1 ) + 2 = 2 , x + 2 เศษ คือ p( -2 ) = ( -2 ) 3 - 4( -2 ) 2 + 3( -2 ) + 2 = -28
  • 11. ทฤษฎีบทตัวประกอบ (factor theorem) เมื่อ p(x) คือพหุนาม โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก เป็นจำนวนจริงซึ่ง พหุนาม p (x) นี้จะมี x - c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ p ( c) = 0 ตัวอย่าง จงแสดงว่า x - 2 เป็นตัวประกอบ x 3 - 5x 2 + 2x + 8 วิธีทำ จะได้ p( 2 ) = ( 2 ) 3 - 5( 2 ) 2 + 2( 2 ) + 8 = 0 ให้ p(x) = x 3 - 5x 2 + 2x + 8 ดังนั้น x - 2 เป็นตัวประกอบของ x 3 - 5x 2 + 2x + 8
  • 12. ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ เมื่อ p(x) คือพหุนาม โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก เป็นจำนวนจริงซึ่ง ถ้า เป็นตัวประกอบของพหุนาม p(x) โดยที่ m และ k เป็นจำนวนเต็มซึ่ง และ ห . ร . ม . ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว m จะเป็นตัวประกอบของ k จะเป็นตัวประกอบของ
  • 13. สมบัติการไม่เท่ากัน บทนิยาม สมาชิกของ R + เรียกว่า จำนวนจริงบวก และ ถ้า เราเรียก a ว่า จำนวนลบ บทนิยาม a < b หมายความว่า a > b หมายความว่า สมบัติไตรวิภาค ( trichotomy property) ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริงแล้ว a = b , a < b และ a > b จะเป็นเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
  • 14. ทฤษฎีบทที่ 1 สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c ทฤษฎีบทที่ 2 สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c c เป็นจำนวนใดๆ ทฤษฎีบท 3 จำนวนบวกและจำนวนลบเปรียบเทียบกับ 0 a เป็นจำนวนบวก ก็ต่อเมื่อ a > 0 a เป็นจำนวนลบ ก็ต่อเมื่อ a < 0
  • 15. ทฤษฏีบทที่ 4 สมบัติของการคูณด้วยจำนวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์ กรณี 1 ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc กรณี 2 ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc ทฤษฏีบทที่ 5 สมบัติการตัดออกสำหรับการบวก ถ้า a + c > b + c แล้ว a > b ทฤษฏีบทที่ 6 สมบัติการตัดออกสำหรับการคูณ กรณี 1 ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b กรณี 2 ac > bc และ c < 0 แล้ว a < b
  • 16. ตัวอย่างที่ 1 จงหาเซตคำตอบของอสมการ วิธีทำ แยกตัวประกอบจะได้ ( x - 4 ) (x + 2) > 0 x = 4 หรือ x = -2 จะได้ (x - 4 ) (x + 2) = 0 พิจารณาช่วงคำตอบ -2 4 + - + ( เริ่มที่ช่วงขวาสุดเป็น + และสลับกับ - ) เซตคำตอบที่สอดคล้องอสมการคือ
  • 17. ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ นำ -1 คูณทั้งสองข้าง เปลี่ยนเครื่อง หมาย จะได้
  • 18. ตัวอย่างที่ 3 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ 2 1  4 5
  • 19. ตัวอย่างที่ 4 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ ดังนั้น -
  • 20. ตัวอย่างที่ 5 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + + เซตคำตอบคือ ดังนั้น นำ หารจะได้ -
  • 21. ตัวอย่างที่ 6 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ นำ คูณจะได้
  • 22. ตัวอย่างที่ 7 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ เนื่องแทนค่า x ด้วย จำนวนจริงใดๆ แล้วได้ จำนวนทั้งสามวงเล็บเป็นจำนวนบวก หรือ ศูนย์ ดังนั้นไม่มีจำนวนจริงใดเป็นคำตอบ
  • 23. ตัวอย่างที่ 8 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ จะเห็นว่าเป็นจริงทุกค่า x ดังนั้นเซตคำตอบคือ
  • 24. ตัวอย่างที่ 9 จงหาเซต คำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ ดังนั้นเซตคำตอบคือ จะเห็นว่าไม่มีจำนวนจริงใดที่ทำให้อสมการเป็นจริง
  • 25. ตัวอย่างที่ 10 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ -5 + 2 < 3x - 2 + 2 < 10 + 2 - 3 < 3x < 12 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ ( -1 , 4 )
  • 26. ตัวอย่างที่ 11 จงหาคำตอบอสมการ วิธีทำ แยกเป็นกรณี และ ( หาค่า x ที่สอดคล้องทั้งสองกรณี ) จะได้ 2 + 6 < x + 3x -6 + 4 < 2x - x 8 < 4x 2 < x - 2 < x คำตอบกรณีนี้ คือ คำตอบกรณีนี้ คือ ดังนั้น เซตคำตอบอสมการคือ =
  • 27. ตัวอย่างที่ 12 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ
  • 28. นำ -1 คูณ จะได้ 0 1 + - + - นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก > เป็น < นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก > เป็น < นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก > เป็น < เซตคำตอบคือ
  • 29. ทดสอบ 1 จงหาเซตคำตอบต่อไปนี้ 1. 2. 3. ตอบ ตอบ ตอบ
  • 30. ค่าสัมบูรณ์ บทนิยาม | x | = x ถ้า - x ถ้า เช่น | 2 | = 2 | -2 | = - (- 2) = 2 ควรจำ ถ้าในค่าสัมบูรณ์เป็นจำนวนลบถอดใส่ลบข้างหน้า
  • 31. สมบัติค่าสัมบูรณ์ 1. | x | 0 2. | x | = | -x | 4. | xy | = | x | | y | 3. | x - y | = | y - x | 5. | x - y | | x | - | y | 6. | x + y | | x | + | y | จำไว้ว่า ค่าสัมบูรณ์ คือ ระยะห่างจาก ศูนย์ มีค่าเป็น ศูนย์ หรือ จำนวนบวกเท่านั้น
  • 32. ตัวอย่างที่ 1 จงหาคำตอบสมการ | x - 5 | = 0 วิธีทำ จะได้ x - 5 = 0 x = 5 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ { 5 }
  • 33. ตัวอย่างที่ 2 จงหาคำตอบสมการ | 7 - 2x | = 11 วิธีทำ จะได้ หรือ - 11 7 - 2x = 11 7 - 2x = - 2x = 11 - 7 - 2x = -11 - 7 - 2x = 4 x = - 2 - 2x = - 18 x = 9 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ { -2 , 9 }
  • 34. ตัวอย่างที่ 3 | 2x - 1 | = - 4 วิธีทำ เนื่องจากค่าสัมบูรณ์ มีค่ามากกว่า หรือเท่ากับศูนย์เสมอ ดังนั้น เซตคำตอบ คือ
  • 35. ตัวอย่างที่ 4 จงหาคำตอบอสมการ | 2x + 3 | = x - 9 วิธีทำ จะได้ 2 x + 3 = x - 9 หรือ 2x + 3 = - ( x - 9) 2x - x = - 9 - 3 x = -12 2x + 3 = - x + 9 2x + x = 9 - 3 3x = 6 x = 2 ดังนั้น เซตคำตอบคือ ตรวจ คำตอบ | 2 (-12) + 3 | = -12 -9 ( ไม่จริง ) ตรวจ คำตอบ | 2 (2) + 3 | = 2 - 9 ( ไม่จริง ) 21 = -21 ( หรือใช้วิธียก กำลังสองทั้งสองข้าง และ ต้องตรวจคำตอบด้วย )
  • 36. ค่าสัมบูรณ์กับอสมการ เมื่อ a เป็นจำนวนจริงบวก 1. | x | < a หมายถึง - a < x < a ( x คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์ น้อยกว่า a หน่วย ) เช่น | x | < 2 หมายถึง - 2 < x < 2 ( x คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์น้อยกว่า 2 หน่วย ) กราฟเส้นจำนวนดังรูป 0 1 2 -1 -2
  • 37. เมื่อ a เป็นจำนวนจริงบวก 2. | x | > a หมายถึง x < - a ( x คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์ มากกว่า a หน่วย ) เช่น | x | > 2 หมายถึง x < -2 ( x คือจำนวนที่ห่างจากศูนย์ มากกว่า 2 หน่วย ) กราฟเส้นจำนวนดังรูป 0 1 2 -1 -2 หรือ x > a หรือ x > 2
  • 38. รูปแบบที่ควรจำ 1. | f(x) | = f(x) ตัวอย่าง สรุปได้ว่า | 3x + 6 | = 3x + 6 จะได้ว่า 3x + 6 0 x - 2 ดังนั้นเซตคำตอบ คือ
  • 39. รูปแบบที่ควรจำ 2. | f(x) | = -f(x) ตัวอย่าง สรุปได้ว่า | x - 2 | = 2 - x จะได้ว่า x - 2 0 x 2 ดังนั้นเซตคำตอบ คือ | x - 2 | = - ( x - 2 ) ดังนั้น
  • 40. รูปแบบที่ควรจำ สรุปได้ว่า หรือ สรุปได้ว่า ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบ วิธีทำ จะได้ เซตคำตอบคือ 3.
  • 41. รูปแบบที่ควรจำ สรุปได้ว่า หรือ ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบ | 2x + 3 | > 9 จะได้ว่า 2 x + 3 > 9 หรือ 2 x + 3 < -9 2x > 6 x > 3 กรณีนี้ คำตอบคือ 2 x < - 12 x < - 6 กรณีนี้คำตอบคือ ดังนั้นคำตอบอสมการคือ 4.
  • 42. รูปแบบที่ควรจำ 5. | f(x) | < 0 หรือ | f(x) | < a เมื่อ a เป็นจำนวนลบ สรุปได้ว่า คำตอบคือ ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบ | 4x - 1 | < -2 เป็นจำนวนลบ ตอบ
  • 43. รูปแบบที่ควรจำ 6. เซตคำตอบคือ R สรุปได้ว่า ตัวอย่าง ตอบ R
  • 44. รูปแบบที่ควรจำ 7. | f(x) | < | g(x) | สรุปได้ว่า ( f(x) - g(x) ) ( f(x) + g(x) ) < 0 หรือ ยกกำลังสองทั้งสองข้าง
  • 45. ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบ | x - 2 | < | x - 1 | วิธีทำ [ ( x - 2) - ( x - 1 ) ] [ (x - 2 ) + ( x - 1 ) ] < 0 จะได้ ( - 1 ) ( 2x - 3 ) < 0 2x - 3 > 0 x > เซตคำตอบคือ จำนวนลบ (-1) คูณ เครื่องหมายเปลี่ยน 2 3
  • 46. 8. a < | f(x) | < b สรุปได้ว่า a < | f(x) | และ | f(x) | < b เมื่อ a < b และ b เป็นจำนวนจริงบวก ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบ 3 < | x | < 7 จะได้ว่า 3 < | x | และ | x | < 7 ดังนั้น x < -3 หรือ x > 3 กรณีนี้คำตอบ ดังนั้น - 7 < x < 7 กรณีนี้คำตอบ เซตคำตอบ คือ -7 -3 3 7
  • 47. แบบทดสอบ 2 จงหาเซต คำตอบต่อไปนี้ 1. | x - 2 | < 6 2. | 2x - 1 | > 3 3. | 1 - 3x | < - 2 4. ตอบ ( -4 , 8 )
  • 48. การแก้สมการที่มีค่าสัมบูรณ์หลายค่า ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบสมการ | x - 4 | + | x - 3 | = 1 วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์ แบ่ง x ทั้งสามช่วง 3 4 ถ้า x < 3 จะได้สมการ - (x- 4 ) + - ( x - 3) = 1 - (x- 4 ) + ( x - 3) = 1 จะได้สมการ จะได้สมการ (x- 4 ) + ( x - 3) = 1 ได้คำตอบอินเตอร์เซกชันกับ x < 3 ได้คำตอบอินเตอร์เซกชันกับ ได้คำตอบอินเตอร์เซกชันกับ
  • 49. กรณีที่ x < 3 และ - ( x - 4 ) + - ( x -3 ) = 1 - x + 4 - x + 3 = 1 - 2x + 7 = 1 - 2x = - 6 x = 3 จะได้คำตอบ =
  • 50. และ - ( x - 4 ) + ( x -3 ) = 1 - x + 4 + x - 3 = 1 1 = 1 จะได้คำตอบ = ตอบ
  • 51. และ ( x - 4 ) + ( x -3 ) = 1 x - 4 + x - 3 = 1 2 x = 8 จะได้คำตอบ = x = 4 = [ 3 , 4 ] ดังนั้นคำตอบสมการคือ
  • 52. ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบอสมการ | x - 5 | < x - 3 วิธีทำ ใช้การถอดค่าสัมบูรณ์ กรณีที่ 1 จะได้ x - 5 < x - 3 - 5 < -3 ซึ่งเป็นจริงทุกค่าของ x ดังนั้นคำตอบคือ = กรณีที่ 2 จะได้ - (x - 5) < x - 3 x > 4 x < 5 ดังนั้นคำตอบคือ = ( 4,5 ) ดังนั้นเซตคำตอบทั้งหมดคือ [ 5 , ) (4,5) = ( หรือยกกำลังสองทั้งสองข้างก็ได้ )
  • 53. วิธีที่ 2 | x - 5 | < x - 3 ( โดยการใช้นิยามการถอดค่าสัมบูรณ์ ) จะได้ - (x - 3) < x -5 < x - 3 เซตคำตอบคือ { x | x > 4 } ดังนั้น - x + 3 < x - 5 และ x - 5 < x - 3 - 2 x < - 8 x > 4 - 5 < -3 { x | x เป็นจำนวนจริง } = R เซตคำตอบคือ R
  • 54. วิธีที่ 3 | x - 5 | < x - 3 ( กรณีนี้ยกกำลังสองได้ ต้องตรวจคำตอบด้วย ) จะได้ ( x -5 ) 2 < ( x - 3 ) 2 x 2 - 10x + 25 < x 2 - 6x + 9 - 4x < -16 x > 4 เซตคำตอบคือ { x | x > 4 } ระวัง ! | f(x) | < g(x) | f(x) | > | g(x) | | f(x) | < | g(x) | จะยก กำลังสองได้ต้องอยู่ในรูป รู้ไหม ? ทำไมเปลี่ยนเครื่องหมาย น 2 - 2 นล + ล 2
  • 55. แบบทดสอบ 3 1. | 2x- 3 | = 5 2. | x - 1 | < 2x 3. | x + 2 | > 3 - x ตอบ { - 1 , 4 } 4. | x - 2 | < | 2x - 1 | ยกกำลังทั้งสองข้างก็ได้ ยกกำลังทั้งสองข้างไม่ได้ ยกกำลังทั้งสองข้างก็ได้แต่ต้องตรวจคำตอบ ยกกำลังทั้งสองข้างก็ได้แต่ต้องตรวจคำตอบ
  • 56. ตัวอย่าง จงหาเซต คำตอบของสมการ | x + 2 | + | x - 3 | = | x + 5 | วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์โดยการแบ่งเป็น 4 ช่วงดังนี้ - 5 - 5 - 2 3 จะได้ - (x+2) + - (x-3) = - (x+5) - (x+2) + - (x-3) = (x+5) (x+2) + - (x-3) = (x+5) (x+2) + (x-3) = (x+5)
  • 57. กรณีที่ 1 x < -5 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 ) = - ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3 = - x - 5 - x = - 6 x = 6 กรณีนี้ คำตอบคือ =
  • 58. กรณีที่ 2 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 ) = ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3 = x + 5 - 3x = 4 กรณีนี้ คำตอบคือ =
  • 59. กรณีที่ 3 จะได้สมการ ( x + 2 ) + - ( x - 3 ) = ( x + 5 ) x + 2 - x + 3 = x + 5 x = 0 กรณีนี้ คำตอบคือ = { 0 }
  • 60. กรณีที่ 4 จะได้สมการ ( x + 2 ) + ( x - 3 ) = ( x + 5 ) x + 2 + x - 3 = x + 5 x = 6 กรณีนี้ คำตอบคือ = 6 ดังนั้นคำตอบของสมการคือ = { 6 }
  • 61. ทดสอบ ( 10 คะแนน ) 1. จงหาเซตคำตอบ | x + 1 | + | x - 2 | = | x + 4 | 2. จงหาเซตคำตอบ | x + 2 | + | x - 3 | < | x + 5 | ตอบ ( 0 , 6 ) ตอบ ( 0 , 6 ) ตอบ ( 0 , 6 ) ตอบ { -1 , 5 } ตอบ { -1 , 5 } ตอบ { -1 , 5 } ตอบ ( 0 , 6 ) ตอบ { -1 , 5 }
  • 62. ผลเฉลย การหาเซต คำตอบของสมการ | x + 1 | + | x - 2 | = | x + 4 | วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์โดยการแบ่งเป็น 4 ช่วงดังนี้ - 4 - 1 2 จะได้ - (x+1) + - (x-2) = - (x+4) - (x+1) + - (x-2) = (x+4) (x+1) + - (x-2) = (x+4) (x+1) + (x-2) = (x+4)
  • 63. กรณีที่ 1 x < -4 จะได้สมการ - ( x + 1 ) + - ( x -2 ) = - ( x + 4 ) - x - 1 - x + 3 = - x - 4 - x = - 5 x = 5 กรณีนี้ คำตอบคือ =
  • 64. กรณีที่ 2 จะได้สมการ - ( x + 1 ) + - ( x - 2 ) = ( x + 4 ) - x - 1 - x + 2 = x + 4 - 3x = 3 กรณีนี้ คำตอบคือ = x = - 1
  • 65. กรณีที่ 3 จะได้สมการ ( x + 1 ) + - ( x - 2 ) = ( x + 4 ) x + 1 - x + 2 = x + 4 x = - 1 กรณีนี้ คำตอบคือ = { -1 }
  • 66. กรณีที่ 4 จะได้สมการ ( x + 1 ) + ( x - 2 ) = ( x + 4 ) x + 1 + x - 2 = x + 4 x = 5 กรณีนี้ คำตอบคือ = 5 ดังนั้นคำตอบของสมการคือ = { -1 , 5 }
  • 67. ผลเฉลย การหาเซต คำตอบของสมการ | x + 2 | + | x - 3 | < | x + 5 | วิธีทำ ใช้หลักการถอดค่าสัมบูรณ์โดยการแบ่งเป็น 4 ช่วงดังนี้ - 5 - 5 - 2 3 จะได้ - (x+2) + - (x-3) < - (x+5) - (x+2) + - (x-3) < (x+5) (x+2) + - (x-3) < (x+5) (x+2) + (x-3) < (x+5)
  • 68. กรณีที่ 1 x < -5 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 ) < - ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3 < - x - 5 - x < - 6 x > 6 กรณีนี้ คำตอบคือ =
  • 69. กรณีที่ 2 จะได้สมการ - ( x + 2 ) + - ( x - 3 ) < ( x + 5 ) - x - 2 - x + 3 < x + 5 - 3x < 4 กรณีนี้ คำตอบคือ =
  • 70. กรณีที่ 3 จะได้สมการ ( x + 2 ) + - ( x - 3 ) < ( x + 5 ) x + 2 - x + 3 < x + 5 x > 0 กรณีนี้ คำตอบคือ = ( 0 , 3 )
  • 71. กรณีที่ 4 จะได้สมการ ( x + 2 ) + ( x - 3 ) < ( x + 5 ) x + 2 + x - 3 < x + 5 x < 6 กรณีนี้ คำตอบคือ = [ 3 , 6 ) ดังนั้นคำตอบของสมการคือ = ( 0 , 6 )