SlideShare a Scribd company logo
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โดย ครูสุจินต์  เย้าดุสิต โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท   เมื่อ  a , b  เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ  m , n  เป็นจำนวนเต็ม 1)  a m .a n  = a m+n   2)  (a m ) n  = a mn   3)  (ab) n  = a n b n 4)  (a / b) n  = a n / b n   5)  a m / a n  = a m-n ตัวอย่าง   จงหาค่าของ   (2 -3 x 2 y 4 /2 x -1 ) -2
2 .   รากที่  n  ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม   เมื่อ  x , y  เป็นจำนวนจริง  y  เป็นรากที่สองของ  x  ก็ต่อเมื่อ  y 2  = x สมบัติของรากที่สอง 1)  เมื่อ  x    0   , y    0 ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  วิธีทำ  2)   เมื่อ  x    0   , y > 0
3.  เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม   เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริง  n  เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า  1  และ  a  มีรากที่  n ตัวอย่าง   จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ บทนิยาม   เมื่อ  a  เป็นจำนวนจริง  p , q  เป็นจำนวนเต็มที่  (p,q) = 1 , q > 0  และ  R  โดยที่  p < 0  แล้ว  a  ต้องไม่เป็นศูนย์
4.  ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม   ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ  f = {(x,y)  R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1} y   ข้อสังเกต   1)  กราฟของ  y = a x   ผ่านจุด  (0,1)  เสมอ   2)  ถ้า  a > 1  แล้ว  y = a x   เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3)  ถ้า  0  < a < 1  แล้ว  y = a x   เป็นฟังก์ชันลด 4)  y = a x   เป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + 5 )  โดยสมบัติของฟังก์ชัน  1-1  จะได้  a x  = a y   ก็ต่อเมื่อ   x = y
5.  ฟังก์ชันลอการิทึม จาก  f = {(x,y)   R  R  /  y = a x  , a>0 , a  1}  ซึ่งเป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R  ไป  R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ  f -1  = {(x,y)   R +  R  /  x = a y  , a>0 , a  1}  จาก  x = a y   สามารถเขียนในรูป  y = f(x)  ได้ โดยกำหนดเป็น  y = log a x เช่น  9  = 3 2   เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  2  = log 3 9 32 = 2 5  เขียนในรูปลอการิทึมเป็น  5 = log 2 32 บทนิยาม   ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)   R +  R  /  y = log a x , a>0 , a  1}  เช่น  y = log 2 x  , f(x) = log 5 x
y x ข้อสังเกต   1)  กราฟของ  y = log a x  ผ่านจุด  (1,0)  เสมอ 2)  ถ้า  a > 1  แล้ว  y = log a x  เป็นฟังก์ชันเพิ่ม   ถ้า  0  < a < 1  แล้ว  y = log a x  เป็นฟังก์ชันลด 3)  y = log a x  เป็นฟังก์ชัน  1-1  จาก  R +   ไปทั่วถึง  R 4)  โดยสมบัติของฟังก์ชัน  1-1  จะได้  log a x = log a y  ก็ต่อเมื่อ  x = y
สมบัติของลอการิทึม เมื่อ  a , M , N  เป็นจำนวนจริงบวกที่  a   1  และ  k  เป็นจำนวนจริง 1)  log a MN  =  log a M + log a N 2)  log a  M /  N = log a M – log a N 3)  log a  M k   =  k log a M 4)  log a  a  =  1 5)  log a  1  =  0 6)  log a kM = 1 / k log a M 7)  log b  a  =  1 /  log a b
6.  การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ  หมายถึงลอการิทึมฐาน  10   ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น  log 10 7  เขียนแทนด้วย  log 7 log 10 15  เขียนแทนด้วย  log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป  10 n   เมื่อ  n   I  log 10  = log 10 1  = 1 log 100 = log 10 2  = 2 log 1000 = log 10 3  = 3 ดังนั้น  log 10 n  = n
จำนวนจริงบวก  N   ใดๆ สามารถเขียนในรูป  N 0 x 10 n   ได้เสมอ เมื่อ  1  < N 0 <10  และ  n  เป็นจำนวนเต็ม   เนื่องจาก  N  =  N 0 x 10 n ดังนั้น  log N  =  log (N 0 x 10 n ) =  log N 0 + log 10 n =  log N 0  + n log N 0   เรียกว่า แมนทิสซา  (mantissa)  ของ  log N n  เรียกว่า แคแรกเทอริสติก  (characteristic)  ของ  log N
ตัวอย่าง  จงหาค่าของ  log 45 2 0   พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ   เนื่องจาก  log 45 2 0  =  log (4.5 2 x 10 3 ) =  log 4.5 2  + log 10 3 =  0.65 51  + 3 =  3.6542 ดังนั้น  log 4510  =  3.65 51 แมนทิสซาของ  log 45 2 0  คือ  0.6551 แคแรกเทอริสติกของ  log 45 2 0  คือ  3
แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง   กำหนดให้  log N = 2.5159  จงหาค่า  N วิธีทำ   เนื่องจาก  log N  =  2.5159 =  0.5159 + 2 =  log 3.28 + log 10 2 =  log (3.28 x 10 2 ) =  log 328 ดังนั้น  N  =  328
7.  การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้  y  =  log b x จะได้   x  =  b y log a  x  =  log a  b y log a  x  =  y log a  b y  = ดังนั้น  log b x  =   ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  log 2 24
ลอการิทึมธรรมชาติ  (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน  e  เมื่อ  e  เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ  2.7182818  หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  “ ลอการิทึมแบบเนเปียร์ ”   (Napierian Logarithms)   ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ log e x  เขียนแทนด้วย  ln x log e 3  เขียนแทนด้วย  ln 3 log e 20  เขียนแทนด้วย  ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง  log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง   จงหาค่าของ  ln 25
8.  สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล  คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  2 x .2 2x+1  = 4 x-2 วิธีทำ   2 x+2x+1   =  (2 2 ) x-2 2 3x+1   =  2 2x-4 จะได้  3x+1  =  2x-4 x  =  -5 ดังนั้น  คำตอบของสมการ คือ  {-5} ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  4 x  + 2 x+1  – 24 = 0
สมการลอการิทึม  คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง   จงหาเซตคำตอบของสมการ  log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 วิธีทำ   log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 log 2 (x-2)(x-3)  =  log 2 2 จะได้  (x-2)(x-3)  =  2 x 2 - 5x + 4  =  0 (x-1)(x-4)  =  0 x  =  1 , 4 ดังนั้น  คำตอบของสมการ   คือ  {4}  เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ  x = 1  หาค่าไม่ได้

More Related Content

What's hot

สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็น
krulerdboon
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 

What's hot (11)

Expo
ExpoExpo
Expo
 
ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันประกอบ
 
Pat1 expo&log
Pat1 expo&logPat1 expo&log
Pat1 expo&log
 
Function3
Function3Function3
Function3
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
สรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็นสรุปความน่าจะเป็น
สรุปความน่าจะเป็น
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
พีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชันพีชคณิตของฟังก์ชัน
พีชคณิตของฟังก์ชัน
 
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรมสรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 

Viewers also liked

Swee Ties Continued
Swee Ties ContinuedSwee Ties Continued
Swee Ties Continued
mmorone
 
Unit 4, Lesson 6: Slavery
Unit 4, Lesson 6: SlaveryUnit 4, Lesson 6: Slavery
Unit 4, Lesson 6: Slavery
mrcaseysclass
 
第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ
第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ
第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ
Yosimasa Simokawa
 
Isha forest flower-apr 2014
Isha forest flower-apr 2014Isha forest flower-apr 2014
Isha forest flower-apr 2014
Bhim Upadhyaya
 
Vmug it's all about the app
Vmug it's all about the appVmug it's all about the app
Vmug it's all about the app
subtitle
 
Mass Ave Wine Shop Article
Mass Ave Wine Shop ArticleMass Ave Wine Shop Article
Mass Ave Wine Shop Article
mmorone
 
Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)
Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)
Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)
subtitle
 

Viewers also liked (20)

Unit 4, Lesson 4
Unit 4, Lesson 4Unit 4, Lesson 4
Unit 4, Lesson 4
 
Swee Ties Continued
Swee Ties ContinuedSwee Ties Continued
Swee Ties Continued
 
Unit 4, Lesson 6: Slavery
Unit 4, Lesson 6: SlaveryUnit 4, Lesson 6: Slavery
Unit 4, Lesson 6: Slavery
 
Lesson 2, Unit 3
Lesson 2, Unit 3Lesson 2, Unit 3
Lesson 2, Unit 3
 
第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ
第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ
第142回天皇賞 狙い馬を絞る3つのデータ
 
Ch04
Ch04Ch04
Ch04
 
Isha forest flower-apr 2014
Isha forest flower-apr 2014Isha forest flower-apr 2014
Isha forest flower-apr 2014
 
Great Steve Jobs Quotes
Great Steve Jobs Quotes Great Steve Jobs Quotes
Great Steve Jobs Quotes
 
Vereniging Zwarte Lichten Astrologie
Vereniging Zwarte Lichten AstrologieVereniging Zwarte Lichten Astrologie
Vereniging Zwarte Lichten Astrologie
 
Vmug it's all about the app
Vmug it's all about the appVmug it's all about the app
Vmug it's all about the app
 
Vision dt solutions vmug leeds
Vision dt solutions vmug leedsVision dt solutions vmug leeds
Vision dt solutions vmug leeds
 
Unit 4, Lesson 2
Unit 4, Lesson 2Unit 4, Lesson 2
Unit 4, Lesson 2
 
WordCamp San Diego - Raising Money For A Business in GPL
WordCamp San Diego - Raising Money For A Business in GPLWordCamp San Diego - Raising Money For A Business in GPL
WordCamp San Diego - Raising Money For A Business in GPL
 
XEN App
XEN AppXEN App
XEN App
 
Transforming india by er krishan khanna a guideline for making india economic...
Transforming india by er krishan khanna a guideline for making india economic...Transforming india by er krishan khanna a guideline for making india economic...
Transforming india by er krishan khanna a guideline for making india economic...
 
The Power of Social Influence
The Power of Social InfluenceThe Power of Social Influence
The Power of Social Influence
 
Mass Ave Wine Shop Article
Mass Ave Wine Shop ArticleMass Ave Wine Shop Article
Mass Ave Wine Shop Article
 
Egep
EgepEgep
Egep
 
Unit4,lesson2
Unit4,lesson2Unit4,lesson2
Unit4,lesson2
 
Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)
Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)
Vmug consumerisation of it (11 oct 2011)
 

Similar to Expo

Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
Chay Nyx
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guestc3a629f6
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
guest5ec5625
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
CUPress
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
CUPress
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
Niwat Namisa
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
Inmylove Nupad
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
manrak
 

Similar to Expo (20)

Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)Expor&log1 (1)
Expor&log1 (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึมการวิเคราะห์อัลกอริทึม
การวิเคราะห์อัลกอริทึม
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
9789740333005
97897403330059789740333005
9789740333005
 
บทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรมบทที่ 2 อนุกรม
บทที่ 2 อนุกรม
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
กฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลังกฎของเลขยกกำลัง
กฎของเลขยกกำลัง
 
Real
RealReal
Real
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
Mo 5
Mo 5Mo 5
Mo 5
 
Sequence and series 01
Sequence and series 01Sequence and series 01
Sequence and series 01
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 

More from nondog075206909 (6)

Metal
MetalMetal
Metal
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
Coffee
CoffeeCoffee
Coffee
 
Souththailand.ppt111
Souththailand.ppt111Souththailand.ppt111
Souththailand.ppt111
 
Souththailand
SouththailandSouththailand
Souththailand
 

Expo

  • 1. ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โดย ครูสุจินต์ เย้าดุสิต โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช
  • 2.
  • 3. สมบัติของเลขยกกำลัง ทฤษฎีบท เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ และ m , n เป็นจำนวนเต็ม 1) a m .a n = a m+n 2) (a m ) n = a mn 3) (ab) n = a n b n 4) (a / b) n = a n / b n 5) a m / a n = a m-n ตัวอย่าง จงหาค่าของ (2 -3 x 2 y 4 /2 x -1 ) -2
  • 4. 2 . รากที่ n ในระบบจำนวนจริง และจำนวนจริงในรูปกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ x , y เป็นจำนวนจริง y เป็นรากที่สองของ x ก็ต่อเมื่อ y 2 = x สมบัติของรากที่สอง 1) เมื่อ x  0 , y  0 ตัวอย่าง จงหาค่าของ วิธีทำ 2) เมื่อ x  0 , y > 0
  • 5. 3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่า 1 และ a มีรากที่ n ตัวอย่าง จงทำให้ส่วนไม่ติดกรณฑ์ บทนิยาม เมื่อ a เป็นจำนวนจริง p , q เป็นจำนวนเต็มที่ (p,q) = 1 , q > 0 และ  R โดยที่ p < 0 แล้ว a ต้องไม่เป็นศูนย์
  • 6. 4. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล คือ f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} y ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = a x ผ่านจุด (0,1) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 3) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = a x เป็นฟังก์ชันลด 4) y = a x เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + 5 ) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ a x = a y ก็ต่อเมื่อ x = y
  • 7. 5. ฟังก์ชันลอการิทึม จาก f = {(x,y)  R  R / y = a x , a>0 , a  1} ซึ่งเป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R ไป R + จึงมีฟังก์ชันอินเวอร์สคือ f -1 = {(x,y)  R +  R / x = a y , a>0 , a  1} จาก x = a y สามารถเขียนในรูป y = f(x) ได้ โดยกำหนดเป็น y = log a x เช่น 9 = 3 2 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 2 = log 3 9 32 = 2 5 เขียนในรูปลอการิทึมเป็น 5 = log 2 32 บทนิยาม ฟังก์ชันลอการิทึมคือฟังก์ชันที่เขียนอยู่ในรูป f = {(x,y)  R +  R / y = log a x , a>0 , a  1} เช่น y = log 2 x , f(x) = log 5 x
  • 8. y x ข้อสังเกต 1) กราฟของ y = log a x ผ่านจุด (1,0) เสมอ 2) ถ้า a > 1 แล้ว y = log a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ถ้า 0 < a < 1 แล้ว y = log a x เป็นฟังก์ชันลด 3) y = log a x เป็นฟังก์ชัน 1-1 จาก R + ไปทั่วถึง R 4) โดยสมบัติของฟังก์ชัน 1-1 จะได้ log a x = log a y ก็ต่อเมื่อ x = y
  • 9. สมบัติของลอการิทึม เมื่อ a , M , N เป็นจำนวนจริงบวกที่ a  1 และ k เป็นจำนวนจริง 1) log a MN = log a M + log a N 2) log a M / N = log a M – log a N 3) log a M k = k log a M 4) log a a = 1 5) log a 1 = 0 6) log a kM = 1 / k log a M 7) log b a = 1 / log a b
  • 10. 6. การหาค่าของลอการิทึม ลอการิทึมสามัญ หมายถึงลอการิทึมฐาน 10 ซึ่งนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกำกับ เช่น log 10 7 เขียนแทนด้วย log 7 log 10 15 เขียนแทนด้วย log 15 พิจารณาค่าของลอการิทึมของจำนวนเต็มที่สามารถเขียนในรูป 10 n เมื่อ n  I log 10 = log 10 1 = 1 log 100 = log 10 2 = 2 log 1000 = log 10 3 = 3 ดังนั้น log 10 n = n
  • 11. จำนวนจริงบวก N ใดๆ สามารถเขียนในรูป N 0 x 10 n ได้เสมอ เมื่อ 1 < N 0 <10 และ n เป็นจำนวนเต็ม เนื่องจาก N = N 0 x 10 n ดังนั้น log N = log (N 0 x 10 n ) = log N 0 + log 10 n = log N 0 + n log N 0 เรียกว่า แมนทิสซา (mantissa) ของ log N n เรียกว่า แคแรกเทอริสติก (characteristic) ของ log N
  • 12. ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 45 2 0 พร้อมทั้งบอก แมนทิสซาและแคแรกเทอริสติก วิธีทำ เนื่องจาก log 45 2 0 = log (4.5 2 x 10 3 ) = log 4.5 2 + log 10 3 = 0.65 51 + 3 = 3.6542 ดังนั้น log 4510 = 3.65 51 แมนทิสซาของ log 45 2 0 คือ 0.6551 แคแรกเทอริสติกของ log 45 2 0 คือ 3
  • 13. แอนติลอการิทึม ตัวอย่าง กำหนดให้ log N = 2.5159 จงหาค่า N วิธีทำ เนื่องจาก log N = 2.5159 = 0.5159 + 2 = log 3.28 + log 10 2 = log (3.28 x 10 2 ) = log 328 ดังนั้น N = 328
  • 14. 7. การเปลี่ยนฐานของลอการิทึม กำหนดให้ y = log b x จะได้ x = b y log a x = log a b y log a x = y log a b y = ดังนั้น log b x = ตัวอย่าง จงหาค่าของ log 2 24
  • 15. ลอการิทึมธรรมชาติ (Natural logarithms) ลอการิทึมธรรมชาติ คือลอการิทึมฐาน e เมื่อ e เป็นสัญลักษณ์แทนจำนวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ ลอการิทึมแบบเนเปียร์ ” (Napierian Logarithms) ในการเขียนลอการิทึมธรรมชาติจะไม่นิยมเขียนฐานกำกับ ดังนี้ log e x เขียนแทนด้วย ln x log e 3 เขียนแทนด้วย ln 3 log e 20 เขียนแทนด้วย ln 20 การหาค่าลอการิทึมธรรมชาติทำได้โดยการเปลี่ยนฐานให้เป็นลอการิทึมสามัญ ซึ่ง log e = log 2.7182818 = 0.4343 ตัวอย่าง จงหาค่าของ ln 25
  • 16. 8. สมการเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมการลอการิทึม สมการเอ็กซ์โพเนนเชียล คือสมการที่มีตัวแปรเป็นเลขชี้กำลัง ในการหาคำตอบของสมการ ทำได้โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลและสมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 2 x .2 2x+1 = 4 x-2 วิธีทำ 2 x+2x+1 = (2 2 ) x-2 2 3x+1 = 2 2x-4 จะได้ 3x+1 = 2x-4 x = -5 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {-5} ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ 4 x + 2 x+1 – 24 = 0
  • 17. สมการลอการิทึม คือสมการที่มีลอการิทึมของตัวแปร การหาคำตอบของสมการทำได้ โดยใช้สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม ตัวอย่าง จงหาเซตคำตอบของสมการ log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 วิธีทำ log 2 (x-2) + log 2 (x-3) = 1 log 2 (x-2)(x-3) = log 2 2 จะได้ (x-2)(x-3) = 2 x 2 - 5x + 4 = 0 (x-1)(x-4) = 0 x = 1 , 4 ดังนั้น คำตอบของสมการ คือ {4} เพราะว่า เมื่อตรวจคำตอบ x = 1 หาค่าไม่ได้