SlideShare a Scribd company logo
ระบบจำนวนจริง 1.  จำนวนตรรกยะ  คือ  จำนวนที่เขียนในรูป 1.1  จำนวนเต็ม  เช่น  0  , 1 , - 1 ,  2 , -2 ,  3 , -3 , . .  .  1.2  จำนวนที่เขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม เช่น  1.3  จำนวนที่เขียนในรูปทศนิยมซ้ำ เช่น  4.14  ,  2.  จำนวนอตรรกยะ   คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ   จำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์  แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ  เช่น ,  0.353353335...
แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวน จำนวนเชิงซ้อน จำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน ที่ไม่ใช่จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ ที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม จำนวนเต็มลบ ศูนย์  จำนวนเต็มบวก หรือ  จำนวนนับ
ตัวอย่าง  จงหาผลหารและเศษ เมื่อหาร  2 x 2  -   7 x  + 3   ด้วย  x  + 2 วิธีทำ ใช้วิธีการหารสังเคราะห์ 2 - 7 3 -2 2 -  4 + -  11 22 25 ผลหาร  2 x - 11 เศษ  25
การเท่ากันในระบบจำนวน 1.  สมบัติการสะท้อน เช่น  a  =  a 2.  สมบัติการสมมาตร เช่น  ถ้า  a  =  b   แล้ว  b  =  a 3.  สมบัติการถ่ายทอด ถ้า  a  =  b  และ  b  =  c  แล้ว  a  =  c  4.  สมบัติของการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า  a  =  b  แล้ว  a + c  =  b + c  5.  สมบัติการคูณด้วยจำนวนเท่ากัน ถ้า  a  =  b  แล้ว  a c  =  b c
การบวกและการคูณในระบบจำนวนจริง บทนิยาม  ในระบบจำนวนจริง  เรียกจำนวนจริงที่บวกกับจำนวนจริง   จำนวนใดก็ตามได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงจำนวนนั้นว่า   เอกลักษณ์การบวก ถ้า  z  เป็นเอกลักการบวกแล้ว  z  +  a  =  a  =  a + z  โดยที่  a  เป็นจำนวนจริงใดๆ บทนิยาม  ในระบบจำนวนจริง  อินเวอร์สการบวก ของจำนวนจริง  a    ( ใช้แทนด้วยสัญลักษณ์  -  a )  หมายถึงจำนวนจริงที่บวกกับ  a    แล้วได้ ศูนย์  กล่าวคือ  a  + (-a)  =  0  =  (-a)  + a
สมบัติของระบบจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวก 1.  สมบัติปิดของการบวก 2.  สมบัติการสลับที่ของการบวก 3.  สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก 4.  เอกลักษณ์การบวก 5.  อินเวอร์สการบวก
การลบและการหารจำนวนจริง บทนิยาม   เมื่อ  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงใดๆ  a - b  =  a + (-b) ทฤษฎีบทที่  1   ถ้า  a ,  b  และ  c  เป็นจำนวนจริง 1.  a (b - c)  =  ab  - ac   2.  (a - b)c  =  ac  - bc 3.  (- a) (b - c)  =  - ab  + ac บทนิยาม  เมื่อ  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงใดๆ   ทฤษฎีบทที่  2  ถ้า  จะได้
การแก้สมการตัวแปรเดียว ตัวอย่าง จงแก้สมการ  3x 3  + 2x 2  - 12x  -  8  =  0 วิธีทำ จะได้  (3 x 3  + 2x 2  )  -  (12x  +  8)  =  0   x 2   (3x + 2)   -  4  (3x + 2)   =  0 (3x + 2)  (x 2  - 4)  =  0 (3x + 2)  (x + 2) (x - 2)  =  0 นั่นคือ  3 x + 2  =  0   หรือ  x + 2  =  0 หรือ  x - 2  =  0 จะได้  x  =  -2 3 หรือ  x  =  -2 หรือ  x  =  2  ดังนั้น เซตคำตอบคือ
ทฤษฎีบทเศษเหลือ  (remainder theorem) เมื่อ  p(x)   คือพหุนาม  โดยที่  n  เป็นจำนวนเต็มบวก    เป็นจำนวนจริงซึ่ง  ถ้าหารพหุนาม  p (x)  ด้วยพหุนาม  x - c     เมื่อ  c  เป็นจำนวนจริง  แล้วเศษจะเท่ากับ  p(c) ตัวอย่าง จงหาเศษ เมื่อหาร  x 3  - 4x 2  + 3x + 2  ด้วย  x -  1   วิธีทำ เศษ คือ  p( 1 )  = ( 1 ) 3  - 4( 1 ) 2  + 3( 1 ) + 2 =  2 ,  x  +  2 เศษ คือ  p( -2 )  = ( -2 ) 3  - 4( -2 ) 2  + 3( -2 ) + 2 =  -28
ทฤษฎีบทตัวประกอบ  (factor  theorem) เมื่อ  p(x)   คือพหุนาม  โดยที่  n  เป็นจำนวนเต็มบวก   เป็นจำนวนจริงซึ่ง  พหุนาม  p (x)  นี้จะมี  x - c     เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ  p ( c)  =  0   ตัวอย่าง จงแสดงว่า  x -  2  เป็นตัวประกอบ  x 3  - 5x 2  + 2x + 8   วิธีทำ จะได้  p( 2  )  = ( 2 ) 3  - 5( 2 ) 2  + 2( 2 ) + 8 =  0 ให้  p(x)   =  x 3  - 5x 2  + 2x + 8  ดังนั้น  x - 2  เป็นตัวประกอบของ  x 3  - 5x 2  + 2x + 8
ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ เมื่อ  p(x)   คือพหุนาม  โดยที่  n  เป็นจำนวนเต็มบวก    เป็นจำนวนจริงซึ่ง   ถ้า  เป็นตัวประกอบของพหุนาม  p(x)  โดยที่  m  และ  k  เป็นจำนวนเต็มซึ่ง  และ  ห . ร . ม .  ของ  m  และ  k  เท่ากับ  1  แล้ว    m  จะเป็นตัวประกอบของ    k  จะเป็นตัวประกอบของ
สมบัติการไม่เท่ากัน บทนิยาม   สมาชิกของ  R +   เรียกว่า  จำนวนจริงบวก และ ถ้า  เราเรียก  a  ว่า จำนวนลบ บทนิยาม  a  <  b  หมายความว่า   a  >  b  หมายความว่า  สมบัติไตรวิภาค   ( trichotomy  property) ถ้า  a  และ  b  เป็นจำนวนจริงแล้ว  a = b  , a < b  และ  a > b   จะเป็นเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ทฤษฎีบทที่  1   สมบัติการถ่ายทอด   ถ้า  a > b  และ  b > c  แล้ว  a > c ทฤษฎีบทที่  2  สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน   ถ้า  a > b  แล้ว  a + c  >  b + c  c  เป็นจำนวนใดๆ ทฤษฎีบท  3  จำนวนบวกและจำนวนลบเปรียบเทียบกับ  0   a  เป็นจำนวนบวก  ก็ต่อเมื่อ  a > 0   a  เป็นจำนวนลบ  ก็ต่อเมื่อ  a < 0
ทฤษฏีบทที่  4   สมบัติของการคูณด้วยจำนวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์   กรณี  1  ถ้า  a > b  และ  c > 0  แล้ว  ac  >  bc   กรณี  2   ถ้า  a  >  b  และ  c < 0  แล้ว  ac  <   bc   ทฤษฏีบทที่  5   สมบัติการตัดออกสำหรับการบวก   ถ้า  a + c  >  b + c  แล้ว  a  >  b ทฤษฏีบทที่  6   สมบัติการตัดออกสำหรับการคูณ   กรณี  1   ac  >  bc  และ  c  > 0  แล้ว  a  >  b   กรณี  2   ac  >  bc  และ  c  <  0  แล้ว  a  <  b
ตัวอย่างที่ 1  จงหาเซตคำตอบของอสมการ วิธีทำ แยกตัวประกอบจะได้ ( x - 4 ) (x + 2)  >  0 x = 4  หรือ  x  =  -2 จะได้  (x - 4 ) (x + 2)  = 0 พิจารณาช่วงคำตอบ -2 4 + - + (  เริ่มที่ช่วงขวาสุดเป็น  +   และสลับกับ   -  ) เซตคำตอบที่สอดคล้องอสมการคือ
ตัวอย่างที่  2 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ นำ  -1  คูณทั้งสองข้าง เปลี่ยนเครื่อง    หมาย จะได้
ตัวอย่างที่  3 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ 2 1  4 5
ตัวอย่างที่  4 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ ดังนั้น  -
ตัวอย่างที่  5 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + + เซตคำตอบคือ ดังนั้น  นำ  หารจะได้ -
ตัวอย่างที่  6 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ นำ  คูณจะได้
ตัวอย่างที่  7 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ เนื่องแทนค่า  x  ด้วย จำนวนจริงใดๆ แล้วได้ จำนวนทั้งสามวงเล็บเป็นจำนวนบวก หรือ ศูนย์  ดังนั้นไม่มีจำนวนจริงใดเป็นคำตอบ
ตัวอย่างที่  8  จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ จะเห็นว่าเป็นจริงทุกค่า  x   ดังนั้นเซตคำตอบคือ
ตัวอย่างที่  9  จงหาเซต คำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ ดังนั้นเซตคำตอบคือ  จะเห็นว่าไม่มีจำนวนจริงใดที่ทำให้อสมการเป็นจริง
ตัวอย่างที่  10 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ -5 +  2   <  3x - 2  +  2   <  10 +  2 - 3  <  3x  <  12 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ ( -1 , 4 )
ตัวอย่างที่  11 จงหาคำตอบอสมการ วิธีทำ แยกเป็นกรณี และ ( หาค่า  x  ที่สอดคล้องทั้งสองกรณี ) จะได้ 2  + 6  <  x + 3x -6 + 4  <  2x - x  8  <  4x  2  <  x  - 2  <  x  คำตอบกรณีนี้ คือ คำตอบกรณีนี้ คือ ดังนั้น เซตคำตอบอสมการคือ =
ตัวอย่างที่  12  จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ
นำ  -1  คูณ จะได้ 0 1 + - + - นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก  >  เป็น  < เซตคำตอบคือ
ทดสอบ  1 จงหาเซตคำตอบต่อไปนี้ 1. 2. 3. ตอบ ตอบ ตอบ

More Related Content

What's hot

สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
กุ้ง ณัฐรดา
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวนguest89040d
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
กอล์ฟ กุยช่ายเอกวิทย์
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
kruaunpwk
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456kanjana2536
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
51mam3 sos060102
51mam3 sos06010251mam3 sos060102
51mam3 sos060102chalompon
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
Patteera Praew
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มJiraprapa Suwannajak
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
ธนกฤต แม่นผล
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวPiyanouch Suwong
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 

What's hot (17)

สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค30207 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม7 ชั้...
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
Function1
Function1Function1
Function1
 
ระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
 
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
แบบเรียนคณิตศาสตร์ ม.1
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
51mam3 sos060102
51mam3 sos06010251mam3 sos060102
51mam3 sos060102
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
การบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็มการบวกลบจำนวนเต็ม
การบวกลบจำนวนเต็ม
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 

Similar to Real (1)

สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
อนุชิต ไชยชมพู
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Somporn Amornwech
 
112
112112
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
kroojaja
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
Tutor Ferry
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
Chokchai Taveecharoenpun
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
rattapoomKruawang2
 
01real
01real01real
01real
kroojaja
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
พัน พัน
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
Noir Black
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33krookay2012
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 

Similar to Real (1) (20)

สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
112
112112
112
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdfจำนวนเชิงซ้อน.pdf
จำนวนเชิงซ้อน.pdf
 
01real
01real01real
01real
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33คณิตศาสตร์ม.33
คณิตศาสตร์ม.33
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 

More from guest0cb30c2 (8)

Math
MathMath
Math
 
Math
MathMath
Math
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Math
MathMath
Math
 
Math
MathMath
Math
 

Real (1)

  • 1. ระบบจำนวนจริง 1. จำนวนตรรกยะ คือ จำนวนที่เขียนในรูป 1.1 จำนวนเต็ม เช่น 0 , 1 , - 1 , 2 , -2 , 3 , -3 , . . . 1.2 จำนวนที่เขียนในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็ม เช่น 1.3 จำนวนที่เขียนในรูปทศนิยมซ้ำ เช่น 4.14 , 2. จำนวนอตรรกยะ คือ จำนวนที่ไม่สามารถเขียนในรูปเศษส่วนของ จำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์ แต่เขียนได้ในรูปทศนิยมไม่ซ้ำ เช่น , 0.353353335...
  • 2. แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของจำนวน จำนวนเชิงซ้อน จำนวนจริง จำนวนเชิงซ้อน ที่ไม่ใช่จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ จำนวนตรรกยะ ที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม จำนวนเต็มลบ ศูนย์ จำนวนเต็มบวก หรือ จำนวนนับ
  • 3. ตัวอย่าง จงหาผลหารและเศษ เมื่อหาร 2 x 2 - 7 x + 3 ด้วย x + 2 วิธีทำ ใช้วิธีการหารสังเคราะห์ 2 - 7 3 -2 2 - 4 + - 11 22 25 ผลหาร 2 x - 11 เศษ 25
  • 4. การเท่ากันในระบบจำนวน 1. สมบัติการสะท้อน เช่น a = a 2. สมบัติการสมมาตร เช่น ถ้า a = b แล้ว b = a 3. สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c 4. สมบัติของการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c 5. สมบัติการคูณด้วยจำนวนเท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a c = b c
  • 5. การบวกและการคูณในระบบจำนวนจริง บทนิยาม ในระบบจำนวนจริง เรียกจำนวนจริงที่บวกกับจำนวนจริง จำนวนใดก็ตามได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนจริงจำนวนนั้นว่า เอกลักษณ์การบวก ถ้า z เป็นเอกลักการบวกแล้ว z + a = a = a + z โดยที่ a เป็นจำนวนจริงใดๆ บทนิยาม ในระบบจำนวนจริง อินเวอร์สการบวก ของจำนวนจริง a ( ใช้แทนด้วยสัญลักษณ์ - a ) หมายถึงจำนวนจริงที่บวกกับ a แล้วได้ ศูนย์ กล่าวคือ a + (-a) = 0 = (-a) + a
  • 6. สมบัติของระบบจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวก 1. สมบัติปิดของการบวก 2. สมบัติการสลับที่ของการบวก 3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก 4. เอกลักษณ์การบวก 5. อินเวอร์สการบวก
  • 7. การลบและการหารจำนวนจริง บทนิยาม เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใดๆ a - b = a + (-b) ทฤษฎีบทที่ 1 ถ้า a , b และ c เป็นจำนวนจริง 1. a (b - c) = ab - ac 2. (a - b)c = ac - bc 3. (- a) (b - c) = - ab + ac บทนิยาม เมื่อ a และ b เป็นจำนวนจริงใดๆ ทฤษฎีบทที่ 2 ถ้า จะได้
  • 8. การแก้สมการตัวแปรเดียว ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3x 3 + 2x 2 - 12x - 8 = 0 วิธีทำ จะได้ (3 x 3 + 2x 2 ) - (12x + 8) = 0 x 2 (3x + 2) - 4 (3x + 2) = 0 (3x + 2) (x 2 - 4) = 0 (3x + 2) (x + 2) (x - 2) = 0 นั่นคือ 3 x + 2 = 0 หรือ x + 2 = 0 หรือ x - 2 = 0 จะได้ x = -2 3 หรือ x = -2 หรือ x = 2 ดังนั้น เซตคำตอบคือ
  • 9. ทฤษฎีบทเศษเหลือ (remainder theorem) เมื่อ p(x) คือพหุนาม โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก เป็นจำนวนจริงซึ่ง ถ้าหารพหุนาม p (x) ด้วยพหุนาม x - c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง แล้วเศษจะเท่ากับ p(c) ตัวอย่าง จงหาเศษ เมื่อหาร x 3 - 4x 2 + 3x + 2 ด้วย x - 1 วิธีทำ เศษ คือ p( 1 ) = ( 1 ) 3 - 4( 1 ) 2 + 3( 1 ) + 2 = 2 , x + 2 เศษ คือ p( -2 ) = ( -2 ) 3 - 4( -2 ) 2 + 3( -2 ) + 2 = -28
  • 10. ทฤษฎีบทตัวประกอบ (factor theorem) เมื่อ p(x) คือพหุนาม โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก เป็นจำนวนจริงซึ่ง พหุนาม p (x) นี้จะมี x - c เป็นตัวประกอบ ก็ต่อเมื่อ p ( c) = 0 ตัวอย่าง จงแสดงว่า x - 2 เป็นตัวประกอบ x 3 - 5x 2 + 2x + 8 วิธีทำ จะได้ p( 2 ) = ( 2 ) 3 - 5( 2 ) 2 + 2( 2 ) + 8 = 0 ให้ p(x) = x 3 - 5x 2 + 2x + 8 ดังนั้น x - 2 เป็นตัวประกอบของ x 3 - 5x 2 + 2x + 8
  • 11. ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ เมื่อ p(x) คือพหุนาม โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก เป็นจำนวนจริงซึ่ง ถ้า เป็นตัวประกอบของพหุนาม p(x) โดยที่ m และ k เป็นจำนวนเต็มซึ่ง และ ห . ร . ม . ของ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว m จะเป็นตัวประกอบของ k จะเป็นตัวประกอบของ
  • 12. สมบัติการไม่เท่ากัน บทนิยาม สมาชิกของ R + เรียกว่า จำนวนจริงบวก และ ถ้า เราเรียก a ว่า จำนวนลบ บทนิยาม a < b หมายความว่า a > b หมายความว่า สมบัติไตรวิภาค ( trichotomy property) ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริงแล้ว a = b , a < b และ a > b จะเป็นเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
  • 13. ทฤษฎีบทที่ 1 สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a > b และ b > c แล้ว a > c ทฤษฎีบทที่ 2 สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a > b แล้ว a + c > b + c c เป็นจำนวนใดๆ ทฤษฎีบท 3 จำนวนบวกและจำนวนลบเปรียบเทียบกับ 0 a เป็นจำนวนบวก ก็ต่อเมื่อ a > 0 a เป็นจำนวนลบ ก็ต่อเมื่อ a < 0
  • 14. ทฤษฏีบทที่ 4 สมบัติของการคูณด้วยจำนวนเท่ากันที่ไม่เป็นศูนย์ กรณี 1 ถ้า a > b และ c > 0 แล้ว ac > bc กรณี 2 ถ้า a > b และ c < 0 แล้ว ac < bc ทฤษฏีบทที่ 5 สมบัติการตัดออกสำหรับการบวก ถ้า a + c > b + c แล้ว a > b ทฤษฏีบทที่ 6 สมบัติการตัดออกสำหรับการคูณ กรณี 1 ac > bc และ c > 0 แล้ว a > b กรณี 2 ac > bc และ c < 0 แล้ว a < b
  • 15. ตัวอย่างที่ 1 จงหาเซตคำตอบของอสมการ วิธีทำ แยกตัวประกอบจะได้ ( x - 4 ) (x + 2) > 0 x = 4 หรือ x = -2 จะได้ (x - 4 ) (x + 2) = 0 พิจารณาช่วงคำตอบ -2 4 + - + ( เริ่มที่ช่วงขวาสุดเป็น + และสลับกับ - ) เซตคำตอบที่สอดคล้องอสมการคือ
  • 16. ตัวอย่างที่ 2 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ นำ -1 คูณทั้งสองข้าง เปลี่ยนเครื่อง หมาย จะได้
  • 17. ตัวอย่างที่ 3 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ 2 1  4 5
  • 18. ตัวอย่างที่ 4 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + - + เซตคำตอบคือ ดังนั้น -
  • 19. ตัวอย่างที่ 5 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา + + เซตคำตอบคือ ดังนั้น นำ หารจะได้ -
  • 20. ตัวอย่างที่ 6 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ นำ คูณจะได้
  • 21. ตัวอย่างที่ 7 จงหาเซต คำตอบ วิธีทํา เซตคำตอบคือ เนื่องแทนค่า x ด้วย จำนวนจริงใดๆ แล้วได้ จำนวนทั้งสามวงเล็บเป็นจำนวนบวก หรือ ศูนย์ ดังนั้นไม่มีจำนวนจริงใดเป็นคำตอบ
  • 22. ตัวอย่างที่ 8 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ จะเห็นว่าเป็นจริงทุกค่า x ดังนั้นเซตคำตอบคือ
  • 23. ตัวอย่างที่ 9 จงหาเซต คำตอบอสมการ วิธีทำ จะได้ ดังนั้นเซตคำตอบคือ จะเห็นว่าไม่มีจำนวนจริงใดที่ทำให้อสมการเป็นจริง
  • 24. ตัวอย่างที่ 10 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ -5 + 2 < 3x - 2 + 2 < 10 + 2 - 3 < 3x < 12 ดังนั้น เซตคำตอบ คือ ( -1 , 4 )
  • 25. ตัวอย่างที่ 11 จงหาคำตอบอสมการ วิธีทำ แยกเป็นกรณี และ ( หาค่า x ที่สอดคล้องทั้งสองกรณี ) จะได้ 2 + 6 < x + 3x -6 + 4 < 2x - x 8 < 4x 2 < x - 2 < x คำตอบกรณีนี้ คือ คำตอบกรณีนี้ คือ ดังนั้น เซตคำตอบอสมการคือ =
  • 26. ตัวอย่างที่ 12 จงหาเซตคำตอบอสมการ วิธีทำ
  • 27. นำ -1 คูณ จะได้ 0 1 + - + - นำ จำนวนลบคูณเปลี่ยนเครื่องหมายจาก > เป็น < เซตคำตอบคือ
  • 28. ทดสอบ 1 จงหาเซตคำตอบต่อไปนี้ 1. 2. 3. ตอบ ตอบ ตอบ