SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 1
2. แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
พิจารณาจากการทดลองต่อไปนี้
ภาพ (a) ภาพ (b)
ทรงกลมตัวนำ A และ B เหมือนกันทุก
ประกำร A ติดกับด้ำมฉนวน ส่วน B ถูกห้อย
ด้วยเชือกที่ทำจำกฉนวนยำว l ดังภำพ (a)
เมื่อใส่ประจุไฟฟ้ำชนิดเดียวกันและ
ขนำด q เท่ำกัน ลงบนทรงกลมตัวนำ A
และ B เกิดกำรเปลี่ยนแปลงดังภำพ (b)
 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อใส่ประจุไฟฟ้าบน A และ B คืออะไร
.............................................................................................................................................................
 นักเรียนคิดว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มีสาเหตุจากสิ่งใด
.............................................................................................................................................................
 จงเขียนแผนผังของแรงที่กระทาต่อทรงกลมตัวนา B โดยมีแรงดังต่อไปนี้
1. น้าหนัก = mg
2. แรงตึงเชือก = T
3. แรงผลักของประจุไฟฟ้าบนทรงกลมตัวนา A และ B = F
l
BA
l
BA
qq
x
r

เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ตอนที่ 2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 2
ทรงกลมตัวนา B หยุดนิ่งในลักษณะข้างต้น แสดงว่าอยู่ในสภาพสมดุล จากแผนผังของแรงจะได้ว่า
𝑇 sin 𝜃 = 𝐹
𝑇 cos 𝜃 = 𝑚𝑔
tan 𝜃 =
𝐹
𝑚𝑔
หรือ 𝐹 = 𝑚𝑔 tan 𝜃
เมื่อ  เป็นมุมเล็กๆ tan 𝜃 ≅ sin 𝜃 ≅
𝑥
𝑙
จึงได้ว่า เมื่อ  เป็นมุมเล็กๆ 𝐹 ≅ 𝑚𝑔
𝑥
𝑙
เนื่องจาก 𝑚 𝑔 และ 𝑙 เป็นค่าคงตัว ดังนั้น แรงระหว่างประจุไฟฟ้า (F) จึงมีค่าขึ้นกับระยะที่ทรง
กลมตัวนา B เบนไปจากแนวเดิม (x)
หรือ 𝐹 ∝ 𝑥
ทาการทดลองเพื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของทรงกลมตัวนา A และ B (ระยะ r) กับ
ระยะที่ทรงกลมตัวนา B เบนไปจากแนวเดิม (x) ได้ผลการทดลองดังกราฟ
จากกราฟ x กับ r นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง x
กับ r ได้อย่างไร
..............................................................................................
..............................................................................................
..............................................................................................
นอกจากนี้นาข้อมูลจากการทดลองไปเขียนกราฟระหว่า x กับ 1/r2 ได้ดังนี้
กราฟระหว่า x กับ 1/r2 นักเรียนสรุปความสัมพันธ์
ระหว่าง x กับ 1/r2 ได้อย่างไร
..............................................................................................
..............................................................................................
..............................................................................................
x
r
x
1/r2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 3
จากนั้นทดลองในลักษณะเดิมแต่กาหนดให้ระยะห่างระหว่างทรงกลมตัวนาทั้งสอง (ระยะ r) คงตัว แต่
เปลี่ยนขนาดประจุไฟฟ้าจาก q เป็น q/2, q/4, q/8, ... ตามลาดับ แล้วนาข้อมูลของระยะที่ทรงกลมตัวนา
B เบนไปจากเดิม (x) กับขนาดของประจุไฟฟ้า (q) ไปเขียนกราฟได้ดังนี้
จากกราฟ x กับ q นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง x
กับ q ได้อย่างไร
..............................................................................................
..............................................................................................
..............................................................................................
ใน พ.ศ.2327 ชาร์ล โอกุสแตง เดอ คูลอมบ์ (Charles Augustin de Coulomb) ได้ค้นพบ
ความสัมพันธ์ของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าบนวัตถุ และได้สรุปความสัมพันธ์เรียกว่า “กฎของคูลอมบ์”
ดังต่อไปนี้ “ขนาดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้า 2 ประจุ มีค่าเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของขนาด
ประจุไฟฟ้าทั้งสอง และเป็นสัดส่วนผกผันกับกาลังสองของระยะห่างระหว่างประจุทั้งสองตัวนั้น”
ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการสรุปความสัมพันธ์ได้ดังนี้
𝐹 = 𝑘
𝑄𝑞
𝑟2
โดย F แทนขนาดแรงระหว่างประจุไฟฟ้า หรือแรงคูลอมบ์ มีหน่วยเป็นนิวตัน (N)
k แทนค่าคงตัวของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9109 Nm2/C2
Q และ q แทนขนาดของประจุไฟฟ้าอิสระบนวัตถุ มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C)
r แทนระยะห่างระหว่างประจุไฟฟ้าทั้งสอง มีหน่วยเป็นเมตร (m)
หมายเหตุ : ทิศทางของแรงคูลอมบ์นี้จะขึ้นอยู่กับชนิดของประจุไฟฟ้าทั้งสอง
ในการคานวณเกี่ยวกับแรงกระทาระหว่างประจุ ไม่ ต้องนาเครื่องหมายบวก หรือลบ
ของประจุมาคานวณ เพราะเครื่องหมายบวกและลบจะเพียงเป็นสิ่งบอกทิศทางของแรง ว่าแรงนั้นจะเป็น
แรงดูดหรือแรงผลักของประจุไฟฟ้าเท่านั้น
x
q
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 4
พิจารณาภาพต่อไปนี้
 จงอธิบายความสัมพันธ์ของทิศทางของแรงคูลอมบ์ และชนิดของประจุไฟฟ้าทั้งสอง
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
 𝐹⃑12 และ 𝐹⃑21 มีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ตัวอย่างคานวณที่ 1 มีประจุ + 1 คูลอมบ์ และ + 2 คูลอมบ์ วางห่างกัน 3 เมตร จงหาแรงระหว่างประจุ
+1 C +2 C
3 m
1F

, 2F

คือ แรงระหว่างร่วมที่ ประจุ + 1 คูลอมบ์ และ + 2 คูลอมบ์ กระทาซึ่งกันและกัน
วิธีทา จากกฎคูลอมบ์
F = 2
21
r
QKQ
= 2
9
3
x1x29x10
= 2 x 109 N
ดังนั้น แรงระหว่างประจุมีค่า 2 x 109 N
+ +
+
--
-
𝐹⃑12
𝐹⃑12
𝐹⃑12 𝐹⃑21
𝐹⃑21
𝐹⃑21
𝑞1 𝑞2
1F

2F

เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 5
ทดสอบความเข้าใจ
15. ประจุ +5.0 x 10–5 คูลอมบ์ และ –2.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยู่ ห่างกัน1 เมตร จะมีแรงดูดกันหรือผลัก
กันกี่นิวตัน
1. ผลักกัน 9 นิวตัน
2. ผลักกัน 18 นิวตัน
3. ดูดกัน 9 นิวตัน
4. ดูดกัน 18 นิวตัน
16. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัว ซึ่งอยู่ห่างกัน3.0 x 10–15 เมตร จงหาขนาดของ
แรงที่เกิดกับโปรตอนแต่ละตัว ( กาหนด โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 18.8 นิวตัน
2. 20.6 นิวตัน
3. 25.6 นิวตัน
4. 30.5 นิวตัน
17. ประจุขนาด A คูลอมบ์ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทา ต่อกัน 1 นิวตัน
จงหาว่าประจุ A เป็นประจุขนาดกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–4
2. 3 x 10–4
3. 6 x 10–4
4. 9 x 10–4
กรณีที่โจทย์ไม่บอกประจุ ( Q ) มาให้ เราอาจหาขนาดของประจุนั้นๆ ได้จาก
Q = n e
เมื่อ n = จานวนอนุภาคไฟฟ้า
e = ประจุของอนุภาคไฟฟ้านั้น 1 ตัว ( คูลอมบ์ )
ตัวอย่างคานวณที่ 3 วัตถุหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป 500 ตัว แสดงว่าวัตถุนี้มีประจุไฟฟ้าชนิดใด และมีขนาด
กี่คูลอมบ์
วิธีทา เพราะมีการสูญเสียอิเล็กตรอนไป ทาให้มีประจุไฟฟ้าบวกมากว่า ดังนั้นวัตถุนี้ จึงมีประจุ
ไฟฟ้าเป็นบวก และหาขนาดได้จากสมการ Q = ne
= ( 500 )( 1.6 x 10-19) = 8 x 10-17 C
ตอบ ประจุไฟฟ้า บวก และมีขนาด 8 x 10-17 คูลอมบ์
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 6
ตัวอย่างคานวณที่ 4 วัตถุ A มีประจุ – 4.8 x 10- 3 ไมโครคูลอมบ์ แสดงว่า วัตถุ A มีการรับอิเล็กตรอน
หรือให้โปรตอนไปกี่อนุภาค
วิธีทา เพราะวัตถุ A มีประจุลบ แสดงว่าวัตถุA จะต้องรับอิเล็กตรอนมา เนื่องจากประจุลบคือ
อิเล็กตรอนจะอยู่วงนอกสุดของอะตอม มีมวลน้อย และพลังงานยึดเหนี่ยวน้อย จึงหลุดเป็นอิสระถ่ายเทได้ง่าย
สามารถหาจานวนอิเล็กตรอนที่รับมาได้จากสมการ
Q = ne
n =
e
Q
n =
 
19-
-6-3
1.6x10
x104.8x10
n = 3 x 1010 อนุภาค
ตอบ รับอิเล็กตรอน และมีจานวน 3 x 1010 อนุภาค
ทดสอบความเข้าใจ
18. ก้อนทองแดง 2 ก้อน วางห่างกัน 3 เมตร แต่ละก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 5 x 1014 ตัว จงหาขนาดของ
แรงผลักที่เกิดขึ้นในหน่วยนิวตัน ( กาหนด อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 1.4
2. 2.4
3. 4.4
4. 6.4
19. ทรงกลมเล็กๆ 2 อัน เป็นกลางทางไฟฟ้า และวางอยู่ห่างกัน 0.5 เมตร ถ้าสมมติว่า อิเล็กตรอนจานวน
3.0 x 1013 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยู่ที่อีกทรงกลมหนึ่ง จงหาขนาดของแรงที่เกิดขึ้นกับ
ทรงกลมแต่ละอัน และแรงที่เกิดขึ้นเป็นแรงดูดหรือแรงผลัก
1. เป็นแรงดูด 0.83 นิวตัน
2. เป็นแรงดูด 1.68 นิวตัน
3. เป็นแรงผลัก 0.83 นิวตัน
4. เป็นแรงผลัก 1.68 นิวตัน
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 7
20. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุห่างกัน3.0 เซนติเมตร ปรากฏว่ามีแรงกระทาต่อกัน 8.0 x 10–6 นิวตันถ้าวางลูกพิธ
ทั้งสองห่างกัน6.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทาระหว่างกันกี่นิวตัน
1. 2 x 10–5
2. 4 x 10–5
3. 2 x 10–6
4. 4 x 10–6
21. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่ หนึ่งเป็น 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง ประจุคู่นี้ถ้า
ระยะห่างของประจุเป็น 3 เท่าของเดิม
1. 3 นิวตัน
2. 9 นิวตัน
3. 34 นิวตัน
4. 81 นิวตัน
22. ถ้าระยะห่างระหว่างประจุ 2 ตัวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของของเดิม แรงกระทาระหว่างประจุ ในตอนหลังจะมี
ค่าเป็นกี่ เท่าของแรงกระทาระหว่างประจุในตอนแรก
1. 2 เท่า
2. 4 เท่า
3. 1/2 เท่า
4. 1/4 เท่า
23. ประจุคู่ หนึ่งวางให้ห่างกันเป็นครึ่งหนึ่งของระยะเดิม แรงกระทาระหว่างประจุจะเพิ่มหรือ ลดจากเดิม
เท่าไร
1. เพิ่มขึ้น 1/2 เท่า
2. เพิ่มขึ้น 2 เท่า
3. เพิ่มขึ้น 4 เท่า
4. ลดลง 2 เท่า
24. ลูกพิธ 2 ลูก วางห่างกัน8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันค่าหนึ่ง ถ้าเพิ่มประจุลูกหนึ่งเป็น 2 เท่าและอีกลูกหนึ่ง
เป็น 3 เท่าจะต้องวางลูกพิธทั้งสองห่างกันกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดแรงกระทาเท่าเดิม
1. 4
2. 4 √6
3. 8
4. 8 √6
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 8
ตัวอย่างคานวณที่ 5 จากรูป จงหาแรงที่กระทาต่อประจุ +3 C
วิธีทา 1. กาหนดจุด และเขียนทิศของแรง
2. หาแรงตามกฎคูลอมบ์จาก F = 2
21
r
QKQ
F1 = 2
6-6-9
3
x3x10x4x109x10
= 12 x 10- 3 N
F2 = 2
6-6-9
3
x3x10x2x109x10
= 6 x 10- 3 N
3. หาแรงลัพธ์ (แบบปริมาณเวกเตอร์) ทิศเดียวกัน นามาบวกกัน
F

= 1F

+ 2F

= 12 x 10- 3 + 6 x 10- 3 = 18 x 10- 3 N
ดังนั้น แรงที่กระทาต่อประจุ +3 C เท่ากับ 18 x 10-3 N
ทดสอบความเข้าใจ
25. จากรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทา ต่อประจุ B
1. 1.1 นิวตัน
2. 2.4 นิวตัน
3. 4.8 นิวตัน
4. 6.4 นิวตัน
26. จากรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 0.1 นิวตัน
2. 1.4 นิวตัน
3. 3.8 นิวตัน
4. 4.4 นิวตัน
3
m
3
m
+3  C+4  C -2  C
+4  C +3  C -2  C
1F

2F
 F1 คือ แรงผลัก ที่ประจุ + 4 C กระทาต่อประจุ +3 C
F2 คือ แรงดูด ที่ประจุ -2 C กระทาต่อประจุ +3 C
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 9
27. จากรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 3 นิวตัน
2. 4 นิวตัน
3. 5 นิวตัน
4. 6 นิวตัน
28. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์ , +20 ไมโครคูลอมบ์ และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ในตาแหน่งแสดงดังรูป
จงหาแรงลัพธ์ที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ์
( ให้ cos 53o = 0.6 )
1. 1.4 นิวตัน
2. 3.4 นิวตัน
3. 5.4 นิวตัน
4. 6.4 นิวตัน
29. (แนว มช) สามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีความยาวด้านละ 30 เซนติเมตร และที่แต่ละมุมของ สามเหลี่ยมนี้
มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ อยากทราบว่าขนาดของแรงไฟฟ้าบนประจุ +5
ไมโครคูลอมบ์มีค่ากี่นิวตัน
1. 1 นิวตัน
2. 2 นิวตัน
3. 3 นิวตัน
4. 4 นิวตัน
30. ลูกพิทเล็ก ๆ สองลูก A และ B มีมวลเท่ากัน ลูกพิท A มีประจุ + 0.5 ไมโครคูลอมบ์ ถูกแขวนด้วย
เส้นด้ายไนลอน ลูกพิท B มีประจุเป็นครึ่งหนึ่งของลูกพิท A สามารถลอยนิ่งอยู่ในอากาศใต้ลูกพิท A โดย
มีระยะห่าง 15 เซนติเมตร จงหาขนาดของมวลของลูกพิทและแรงดึงในเส้นด้ายไนลอน

More Related Content

What's hot

เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chakkrawut Mueangkhon
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)Rangsit
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นbenjamars nutprasat
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 

What's hot (20)

เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
สมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่นสมบัติของคลื่น
สมบัติของคลื่น
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 

Viewers also liked

ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (8)

ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้าการทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 

Similar to ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าSaranyu Srisrontong
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์Tutor Ferry
 
Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1Matdavit Physics
 

Similar to ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2 (20)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
P15
P15P15
P15
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 

More from Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 

More from Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 1 2. แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์ พิจารณาจากการทดลองต่อไปนี้ ภาพ (a) ภาพ (b) ทรงกลมตัวนำ A และ B เหมือนกันทุก ประกำร A ติดกับด้ำมฉนวน ส่วน B ถูกห้อย ด้วยเชือกที่ทำจำกฉนวนยำว l ดังภำพ (a) เมื่อใส่ประจุไฟฟ้ำชนิดเดียวกันและ ขนำด q เท่ำกัน ลงบนทรงกลมตัวนำ A และ B เกิดกำรเปลี่ยนแปลงดังภำพ (b)  การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อใส่ประจุไฟฟ้าบน A และ B คืออะไร .............................................................................................................................................................  นักเรียนคิดว่า การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น มีสาเหตุจากสิ่งใด .............................................................................................................................................................  จงเขียนแผนผังของแรงที่กระทาต่อทรงกลมตัวนา B โดยมีแรงดังต่อไปนี้ 1. น้าหนัก = mg 2. แรงตึงเชือก = T 3. แรงผลักของประจุไฟฟ้าบนทรงกลมตัวนา A และ B = F l BA l BA qq x r  เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ตอนที่ 2
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 2 ทรงกลมตัวนา B หยุดนิ่งในลักษณะข้างต้น แสดงว่าอยู่ในสภาพสมดุล จากแผนผังของแรงจะได้ว่า 𝑇 sin 𝜃 = 𝐹 𝑇 cos 𝜃 = 𝑚𝑔 tan 𝜃 = 𝐹 𝑚𝑔 หรือ 𝐹 = 𝑚𝑔 tan 𝜃 เมื่อ  เป็นมุมเล็กๆ tan 𝜃 ≅ sin 𝜃 ≅ 𝑥 𝑙 จึงได้ว่า เมื่อ  เป็นมุมเล็กๆ 𝐹 ≅ 𝑚𝑔 𝑥 𝑙 เนื่องจาก 𝑚 𝑔 และ 𝑙 เป็นค่าคงตัว ดังนั้น แรงระหว่างประจุไฟฟ้า (F) จึงมีค่าขึ้นกับระยะที่ทรง กลมตัวนา B เบนไปจากแนวเดิม (x) หรือ 𝐹 ∝ 𝑥 ทาการทดลองเพื่อพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างระยะห่างของทรงกลมตัวนา A และ B (ระยะ r) กับ ระยะที่ทรงกลมตัวนา B เบนไปจากแนวเดิม (x) ได้ผลการทดลองดังกราฟ จากกราฟ x กับ r นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ r ได้อย่างไร .............................................................................................. .............................................................................................. .............................................................................................. นอกจากนี้นาข้อมูลจากการทดลองไปเขียนกราฟระหว่า x กับ 1/r2 ได้ดังนี้ กราฟระหว่า x กับ 1/r2 นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ ระหว่าง x กับ 1/r2 ได้อย่างไร .............................................................................................. .............................................................................................. .............................................................................................. x r x 1/r2
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 3 จากนั้นทดลองในลักษณะเดิมแต่กาหนดให้ระยะห่างระหว่างทรงกลมตัวนาทั้งสอง (ระยะ r) คงตัว แต่ เปลี่ยนขนาดประจุไฟฟ้าจาก q เป็น q/2, q/4, q/8, ... ตามลาดับ แล้วนาข้อมูลของระยะที่ทรงกลมตัวนา B เบนไปจากเดิม (x) กับขนาดของประจุไฟฟ้า (q) ไปเขียนกราฟได้ดังนี้ จากกราฟ x กับ q นักเรียนสรุปความสัมพันธ์ระหว่าง x กับ q ได้อย่างไร .............................................................................................. .............................................................................................. .............................................................................................. ใน พ.ศ.2327 ชาร์ล โอกุสแตง เดอ คูลอมบ์ (Charles Augustin de Coulomb) ได้ค้นพบ ความสัมพันธ์ของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าบนวัตถุ และได้สรุปความสัมพันธ์เรียกว่า “กฎของคูลอมบ์” ดังต่อไปนี้ “ขนาดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้า 2 ประจุ มีค่าเป็นสัดส่วนโดยตรงกับผลคูณของขนาด ประจุไฟฟ้าทั้งสอง และเป็นสัดส่วนผกผันกับกาลังสองของระยะห่างระหว่างประจุทั้งสองตัวนั้น” ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการสรุปความสัมพันธ์ได้ดังนี้ 𝐹 = 𝑘 𝑄𝑞 𝑟2 โดย F แทนขนาดแรงระหว่างประจุไฟฟ้า หรือแรงคูลอมบ์ มีหน่วยเป็นนิวตัน (N) k แทนค่าคงตัวของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9109 Nm2/C2 Q และ q แทนขนาดของประจุไฟฟ้าอิสระบนวัตถุ มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ (C) r แทนระยะห่างระหว่างประจุไฟฟ้าทั้งสอง มีหน่วยเป็นเมตร (m) หมายเหตุ : ทิศทางของแรงคูลอมบ์นี้จะขึ้นอยู่กับชนิดของประจุไฟฟ้าทั้งสอง ในการคานวณเกี่ยวกับแรงกระทาระหว่างประจุ ไม่ ต้องนาเครื่องหมายบวก หรือลบ ของประจุมาคานวณ เพราะเครื่องหมายบวกและลบจะเพียงเป็นสิ่งบอกทิศทางของแรง ว่าแรงนั้นจะเป็น แรงดูดหรือแรงผลักของประจุไฟฟ้าเท่านั้น x q
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 4 พิจารณาภาพต่อไปนี้  จงอธิบายความสัมพันธ์ของทิศทางของแรงคูลอมบ์ และชนิดของประจุไฟฟ้าทั้งสอง ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................  𝐹⃑12 และ 𝐹⃑21 มีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร จงอธิบาย ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ตัวอย่างคานวณที่ 1 มีประจุ + 1 คูลอมบ์ และ + 2 คูลอมบ์ วางห่างกัน 3 เมตร จงหาแรงระหว่างประจุ +1 C +2 C 3 m 1F  , 2F  คือ แรงระหว่างร่วมที่ ประจุ + 1 คูลอมบ์ และ + 2 คูลอมบ์ กระทาซึ่งกันและกัน วิธีทา จากกฎคูลอมบ์ F = 2 21 r QKQ = 2 9 3 x1x29x10 = 2 x 109 N ดังนั้น แรงระหว่างประจุมีค่า 2 x 109 N + + + -- - 𝐹⃑12 𝐹⃑12 𝐹⃑12 𝐹⃑21 𝐹⃑21 𝐹⃑21 𝑞1 𝑞2 1F  2F 
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 5 ทดสอบความเข้าใจ 15. ประจุ +5.0 x 10–5 คูลอมบ์ และ –2.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยู่ ห่างกัน1 เมตร จะมีแรงดูดกันหรือผลัก กันกี่นิวตัน 1. ผลักกัน 9 นิวตัน 2. ผลักกัน 18 นิวตัน 3. ดูดกัน 9 นิวตัน 4. ดูดกัน 18 นิวตัน 16. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัว ซึ่งอยู่ห่างกัน3.0 x 10–15 เมตร จงหาขนาดของ แรงที่เกิดกับโปรตอนแต่ละตัว ( กาหนด โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ) 1. 18.8 นิวตัน 2. 20.6 นิวตัน 3. 25.6 นิวตัน 4. 30.5 นิวตัน 17. ประจุขนาด A คูลอมบ์ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทา ต่อกัน 1 นิวตัน จงหาว่าประจุ A เป็นประจุขนาดกี่คูลอมบ์ 1. 1 x 10–4 2. 3 x 10–4 3. 6 x 10–4 4. 9 x 10–4 กรณีที่โจทย์ไม่บอกประจุ ( Q ) มาให้ เราอาจหาขนาดของประจุนั้นๆ ได้จาก Q = n e เมื่อ n = จานวนอนุภาคไฟฟ้า e = ประจุของอนุภาคไฟฟ้านั้น 1 ตัว ( คูลอมบ์ ) ตัวอย่างคานวณที่ 3 วัตถุหนึ่งสูญเสียอิเล็กตรอนไป 500 ตัว แสดงว่าวัตถุนี้มีประจุไฟฟ้าชนิดใด และมีขนาด กี่คูลอมบ์ วิธีทา เพราะมีการสูญเสียอิเล็กตรอนไป ทาให้มีประจุไฟฟ้าบวกมากว่า ดังนั้นวัตถุนี้ จึงมีประจุ ไฟฟ้าเป็นบวก และหาขนาดได้จากสมการ Q = ne = ( 500 )( 1.6 x 10-19) = 8 x 10-17 C ตอบ ประจุไฟฟ้า บวก และมีขนาด 8 x 10-17 คูลอมบ์
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 6 ตัวอย่างคานวณที่ 4 วัตถุ A มีประจุ – 4.8 x 10- 3 ไมโครคูลอมบ์ แสดงว่า วัตถุ A มีการรับอิเล็กตรอน หรือให้โปรตอนไปกี่อนุภาค วิธีทา เพราะวัตถุ A มีประจุลบ แสดงว่าวัตถุA จะต้องรับอิเล็กตรอนมา เนื่องจากประจุลบคือ อิเล็กตรอนจะอยู่วงนอกสุดของอะตอม มีมวลน้อย และพลังงานยึดเหนี่ยวน้อย จึงหลุดเป็นอิสระถ่ายเทได้ง่าย สามารถหาจานวนอิเล็กตรอนที่รับมาได้จากสมการ Q = ne n = e Q n =   19- -6-3 1.6x10 x104.8x10 n = 3 x 1010 อนุภาค ตอบ รับอิเล็กตรอน และมีจานวน 3 x 1010 อนุภาค ทดสอบความเข้าใจ 18. ก้อนทองแดง 2 ก้อน วางห่างกัน 3 เมตร แต่ละก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 5 x 1014 ตัว จงหาขนาดของ แรงผลักที่เกิดขึ้นในหน่วยนิวตัน ( กาหนด อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ) 1. 1.4 2. 2.4 3. 4.4 4. 6.4 19. ทรงกลมเล็กๆ 2 อัน เป็นกลางทางไฟฟ้า และวางอยู่ห่างกัน 0.5 เมตร ถ้าสมมติว่า อิเล็กตรอนจานวน 3.0 x 1013 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยู่ที่อีกทรงกลมหนึ่ง จงหาขนาดของแรงที่เกิดขึ้นกับ ทรงกลมแต่ละอัน และแรงที่เกิดขึ้นเป็นแรงดูดหรือแรงผลัก 1. เป็นแรงดูด 0.83 นิวตัน 2. เป็นแรงดูด 1.68 นิวตัน 3. เป็นแรงผลัก 0.83 นิวตัน 4. เป็นแรงผลัก 1.68 นิวตัน
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 7 20. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุห่างกัน3.0 เซนติเมตร ปรากฏว่ามีแรงกระทาต่อกัน 8.0 x 10–6 นิวตันถ้าวางลูกพิธ ทั้งสองห่างกัน6.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทาระหว่างกันกี่นิวตัน 1. 2 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 2 x 10–6 4. 4 x 10–6 21. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่ หนึ่งเป็น 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง ประจุคู่นี้ถ้า ระยะห่างของประจุเป็น 3 เท่าของเดิม 1. 3 นิวตัน 2. 9 นิวตัน 3. 34 นิวตัน 4. 81 นิวตัน 22. ถ้าระยะห่างระหว่างประจุ 2 ตัวเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าของของเดิม แรงกระทาระหว่างประจุ ในตอนหลังจะมี ค่าเป็นกี่ เท่าของแรงกระทาระหว่างประจุในตอนแรก 1. 2 เท่า 2. 4 เท่า 3. 1/2 เท่า 4. 1/4 เท่า 23. ประจุคู่ หนึ่งวางให้ห่างกันเป็นครึ่งหนึ่งของระยะเดิม แรงกระทาระหว่างประจุจะเพิ่มหรือ ลดจากเดิม เท่าไร 1. เพิ่มขึ้น 1/2 เท่า 2. เพิ่มขึ้น 2 เท่า 3. เพิ่มขึ้น 4 เท่า 4. ลดลง 2 เท่า 24. ลูกพิธ 2 ลูก วางห่างกัน8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันค่าหนึ่ง ถ้าเพิ่มประจุลูกหนึ่งเป็น 2 เท่าและอีกลูกหนึ่ง เป็น 3 เท่าจะต้องวางลูกพิธทั้งสองห่างกันกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดแรงกระทาเท่าเดิม 1. 4 2. 4 √6 3. 8 4. 8 √6
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 8 ตัวอย่างคานวณที่ 5 จากรูป จงหาแรงที่กระทาต่อประจุ +3 C วิธีทา 1. กาหนดจุด และเขียนทิศของแรง 2. หาแรงตามกฎคูลอมบ์จาก F = 2 21 r QKQ F1 = 2 6-6-9 3 x3x10x4x109x10 = 12 x 10- 3 N F2 = 2 6-6-9 3 x3x10x2x109x10 = 6 x 10- 3 N 3. หาแรงลัพธ์ (แบบปริมาณเวกเตอร์) ทิศเดียวกัน นามาบวกกัน F  = 1F  + 2F  = 12 x 10- 3 + 6 x 10- 3 = 18 x 10- 3 N ดังนั้น แรงที่กระทาต่อประจุ +3 C เท่ากับ 18 x 10-3 N ทดสอบความเข้าใจ 25. จากรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทา ต่อประจุ B 1. 1.1 นิวตัน 2. 2.4 นิวตัน 3. 4.8 นิวตัน 4. 6.4 นิวตัน 26. จากรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B 1. 0.1 นิวตัน 2. 1.4 นิวตัน 3. 3.8 นิวตัน 4. 4.4 นิวตัน 3 m 3 m +3  C+4  C -2  C +4  C +3  C -2  C 1F  2F  F1 คือ แรงผลัก ที่ประจุ + 4 C กระทาต่อประจุ +3 C F2 คือ แรงดูด ที่ประจุ -2 C กระทาต่อประจุ +3 C
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 9 27. จากรูป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B 1. 3 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 5 นิวตัน 4. 6 นิวตัน 28. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์ , +20 ไมโครคูลอมบ์ และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ในตาแหน่งแสดงดังรูป จงหาแรงลัพธ์ที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ์ ( ให้ cos 53o = 0.6 ) 1. 1.4 นิวตัน 2. 3.4 นิวตัน 3. 5.4 นิวตัน 4. 6.4 นิวตัน 29. (แนว มช) สามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีความยาวด้านละ 30 เซนติเมตร และที่แต่ละมุมของ สามเหลี่ยมนี้ มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ อยากทราบว่าขนาดของแรงไฟฟ้าบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบ์มีค่ากี่นิวตัน 1. 1 นิวตัน 2. 2 นิวตัน 3. 3 นิวตัน 4. 4 นิวตัน 30. ลูกพิทเล็ก ๆ สองลูก A และ B มีมวลเท่ากัน ลูกพิท A มีประจุ + 0.5 ไมโครคูลอมบ์ ถูกแขวนด้วย เส้นด้ายไนลอน ลูกพิท B มีประจุเป็นครึ่งหนึ่งของลูกพิท A สามารถลอยนิ่งอยู่ในอากาศใต้ลูกพิท A โดย มีระยะห่าง 15 เซนติเมตร จงหาขนาดของมวลของลูกพิทและแรงดึงในเส้นด้ายไนลอน