SlideShare a Scribd company logo
ตัวกำหนด
Determinant
โดย....นำงสำวจำรุวรรณ บุญชลำลัย
โรงเรียนวิทยำศำสตร์จุฬำภรณรำชวิทยำลัย ตรัง
Determinant
ดีเทอร์มิแนนต์ คือ ฟังก์ชันหนึ่งที่ให้ผลลัพธ์เป็นสเกลาร์ ซึ่งขึ้นอยู่กับค่า
ของ n ในมิติ n x n ของเมทริกซ์จัตุรัส A
ดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์มิติ 2 x 2
Determinant
Determinant
ตัวอย่าง จงหา det(A) det(B) det(C)
4 3 4 2 1 5
, ,
2 1 2 1 2 1
A B C
     
= = =
     
     
Determinant
ตัวอย่าง จงหา det(A) , det(B) เมื่อกาหนด
1 2 3 2 1 0
0 4 1 , 3 4 5
1 2 0 9 8 7
A B
   
   
= =
   
   
   
การหาค่าดีเทอร์มินันต์โดยการกระจายโคแฟคเตอร์
บทนิยาม Minor
กาหนด A เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n x n โดยที่ n ≥ 2
1. ไมเนอร์ของ เขียนแทนด้วย
2. ไมเนอร์ของ คือดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ที่ได้จากการตัด
แถวที่ i หลักที่ j ของเมทริกซ์ A ออก
ij
a ij
M
ij
a
ตัวอย่าง จงหาไมเนอร์ทั้งหมดของเมทริกซ์ A
2 1 0
3 4 5
9 8 7
A
 
 
=  
 
 
การหาค่าดีเทอร์มินันต์โดยการกระจายโคแฟคเตอร์
บทนิยาม Cofactor
กาหนด A เป็นเมทริกซ์จัตุรัสมิติ n x n โดยที่ n ≥ 2
1. โคแฟคเตอร์ของ เขียนแทนด้วย
2. โคแฟคเตอร์ของ คือ
ij
a ij
C
ij
a ( 1)i j
ij
M
+
−
ตัวอย่าง จงหาโคแฟคเตอร์ทั้งหมดของเมทริกซ์ A
2 0 1
3 1 2
4 5 6
A − −
 
 
=  
 
 
Determinant
ทฤษฎีบท กาหนด โดย เป็นสเกลาร์ และ n  Z , n ≥ 2 จะได้
เมื่อกระจายโคแฟกเตอร์ตามแถวที่ I
เมื่อกระจายโคแฟกเตอร์ตามหลักที่ j
ij nxn
a
A =  
  ij
a
Determinant
ตัวอย่าง จงหา det(A) โดยใช้โคแฟกเตอร์
4 1 1
2 1 2
3 5 2
A
 
 
=  
 
 
Determinant
ตัวอย่าง จงหา det(A) โดยใช้โคแฟกเตอร์
1 1 1 2
1 2 2 1
4 3 0 1
3 0 2 1
A
−
−
−
 
 
 
=
 
 
 
แอดจอยท์ (Adjoint)
Determinant
ทฤษฎีบท กาหนด โดย เป็นสเกลาร์ และ n  Z , n ≥ 2 จะได้
ถ้า det(A) ≠0 แล้ว
ij nxn
a
A =  
  ij
a
1 1
( )
det( )
adj A
A
A−
=
Determinant
ตัวอย่าง จงหาดีเทอร์มินันต์ของ ***จากสไลด์ 10 ตัวอย่างที่ 4 หน้า 56 หาโคแฟกเตอร์แล้ว***
2 0 1
3 1 2
4 5 6
A − −
 
 
=  
 
 
Determinant
ตัวอย่าง จงหาดีเทอร์มินันต์ของ ***จากสไลด์ 10 ตัวอย่างที่ 4 หน้า 56 หาโคแฟกเตอร์แล้ว***
2 0 1
3 1 2
4 5 6
A − −
 
 
=  
 
 
4 26 19
5 8 10
1 7 2
จะได้ C
−
−
−
 
 
=  
 
 
4 5 1
( ) C 26 8 7
19 10 2
T
adj A = = −
− −
 
 
 
 
 
 
Determinant
2 0 1 4 5 1 27 0 0
( ) 3 1 2 26 8 7 0 27 0 27
19 10 2 0 0 27
4 5 6
n
Aadj A I
= − − −
− −
   
   
   
   
   
   
 
 
= =
 
 
 
จาก
จะได้ det A = 27
Determinant
ตัวอย่าง จงหาอินเวอร์สการคูณของ A
1 0 1
2 1 0
1 1 1
A
−
 
 
=  
 
 
Determinant
Determinant
ตัวอย่าง ให้ ถ้า แล้ว b31 + b23 มีค่าเท่าไร
3 2 1
5 6 2
1 0 3
A
−
−
 
 
=  
 
 
11 12 13
1
21 22 23
31 32 33
b b b
A b b b
b b b
−
 
 
=  
 
 
Determinant
การแก้ระบบสมการโดยใช้กฎของคราเมอร์
ทฤษฎีบท กฎของคราเมอร์
ถ้า A เป็นเมทริกซ์มิติ nxn โดยที่ det(A) ≠0 แล้วระบบสมการ
ที่เขียนในรูปสมการเมทริกซ์ Ax = b
เมื่อ x1, x2,…, xn เป็นตัวแปร และ b1, b2,…, bn เป็นค่าคงตัว
โดยที่
และ
มีคาตอบคือ
เมื่อ Ai คือเมทริกซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ I ของ A ด้วย b
1
2
n
X
X
X
X
 
 
 
=
 
 
 
 
1
2
n
b
b
b
b
 
 
 
=
 
 
 
 
1 2
1 2
det( ) det( ) det( )
, ,...,
det( ) det( ) det( )
n
n
A A A
A A A
X X X
= = =
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของระบบสมการที่กาหนดโดย
ใช้กฎของคราเมอร์
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของระบบสมการที่กาหนดโดย
ใช้กฎของคราเมอร์
2x + 3y = 9
2x – 3y = 3
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของระบบสมการที่กาหนดโดย
ใช้กฎของคราเมอร์
3x + y - z = 3
2x – y + 3z = 20
7x + y + z = 23
การหาค่าดีเทอร์มินันต์โดยการลดรูปตามแถว
ทฤษฎีบท ให้ A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส ถ้า A มีสมาชิกแถวใดแถว
หนึ่ง หรือหลักใดหลักหนึ่งเป็นศูนย์ทุกตัว แล้ว det(A) =0
Determinant
การหาค่าดีเทอร์มินันต์โดยการลดรูปตามแถว
ทฤษฎีบท ถ้า A เป็นเมทริกซ์จัตุรัส
1. ถ้าคูณสมาชิกทุกตัวในแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง) ของ A ด้วยค่าคงที่
แล้วดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ใหม่เท่ากับ cdet(A)
2. ถ้าสลับที่กันระหว่างแถวสองแถวใดๆ(หรือหลักสองหลักใดๆ)ของ A แล้ว
ดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ใหม่เท่ากับ –det(A)
3. ถ้าเปลี่ยนแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง) ของ A โดยใช้ค่าคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์
คูณสมาชิกทุกตัวในแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง) ของ A แล้วนาไปบวกกับสมาชิกในแถว
(หรือหลัก) ที่ต้องการเปลี่ยนนั้นโดยบวกสมาชิกในลาดับเดียวกันเข้าด้วยกัน แล้วใช้ผลบวกแทนที่
สมาชิกเดิมแล้วดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ใหม่เท่ากับ det(A)
Determinant
Determinant
ทฤษฎีบท ให้ E เป็นเมทริกซ์มูลฐาน
1. ถ้า E เป็นผลจากการคูณเมทริกซ์ In ด้วยค่าคงที่ k แล้ว det(E) = k
2. ถ้า E เป็นการสลับแถวของสองแถวใดใน In แล้ว det(E) = -1
3. ถ้า E เป็นผลจากการคูณแถวใดแถวหนึ่งแล้วบวกกับแถวอื่นใน In แล้ว
det(E) = 1
Determinant
ตัวอย่าง จงหาค่าดีเทอร์มินันต์ของ A โดยการลดรูปตามแถว
0 1 5
3 6 9
2 6 1
A −
 
 
=  
 
 
Determinant
Determinant
ตัวอย่าง จงหาค่าดีเทอร์มินันต์ของ A โดยการลดรูปตามคอลัมภ์
1 0 0 3
2 7 0 6
0 6 3 0
7 3 1 5
A
−
 
 
 
=
 
 
 
Determinant
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท สมบัติของดีเทอร์มินันต์
ถ้า A , B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n x n และ k เป็นสเกลาร์แล้ว
1. det(kA) = kndet(A)
2. det(Ak) = [detA]k เมื่อ k เป็นจานวนเต็มบวก
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท สมบัติของดีเทอร์มินันต์
ถ้า A , B , C เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n x n และมีสมาชิกแตกต่าง
กันเพียงแถวเดียว แถวที่แตกต่างกันคือแถวที่ r ซึ่งสมาชิกแถว
ที่ r ของ C เกิดจากการบวกกันของสมาชิกแถวที่ r ของ A
และ B ที่อยู่ในตาแหน่งเดียวกัน แล้ว
det(EA) = det(E)det(A)
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท สมบัติของดีเทอร์มินันต์
ถ้า A เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n x n และ E เป็นเมทริกซ์มูลฐานที่
มีมิติ n x n 1แล้ว
det(A) = det(A)+det(B)
ผลลัพธ์ดังกล่าวยังคงเป็นจริงเมื่อเปลี่ยนจากแถวเป็นหลัก
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท สมบัติของดีเทอร์มินันต์
เมทริกซ์จัตุรัส A เป็นเมทริกซ์ที่หาตัวผกผันได้ ก็ต่อเมื่อ
det(A) ≠ 0
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท สมบัติของดีเทอร์มินันต์
ถ้า A , B เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ n x n แล้ว
det(AB) = det(A)det(B)
Determinant
ตัวอย่าง det(ABCD)
1 2 2 1 2 1 2 1
, , ,
3 4 3 0 4 3 4 3
A B C D
−
       
= = = =
       
       
Determinant
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท ถ้าเมทริกซ์จัตุรัส A เป็นเมทริกซ์ที่หาตัวผกผันได้ แล้ว
1 1
det( )
det( )
A
A
สมบัติของดีเทอร์มินันต์ฟังก์ชัน
ทฤษฎีบท กาหนดให้ A มีมิติ n x n ข้อความต่อไปนี้สมมูลกัน
1. A มีอินเวอร์สการคูณ
2. Ax = 0 มีคาตอบชัดแจ้งเพียงคาตอบเดียว
3. A = I โดยที่ เป็นเมทริกซ์ขั้นบันไดลดรูปตามแถวของเมท
ริกซ์ A
4. สามารถเขียน A ในรูปผลคูณของเมทริกซ์มูลฐานได้
5. Ax = b เป็นระบบคล้องจองสาหรับทุก b ที่มีมิติ n x 1
6. Ax = b มีคาตอบเดียว สาหรับทุก b ที่มีมิติ n x 1
7. det(A) ≠ 0
Determinant
ตัวอย่าง จงหาค่าดีเทอร์มินันต์ของ A เมื่อ
1 1 1 2
1 2 2 1
4 3 0 1
3 0 2 1
A
−
−
−
 
 
 
=
 
 
 
Determinant
Determinant
ตัวอย่าง จงหาค่าดีเทอร์มินันต์ของ A เมื่อ
1 1 3 1
1 1 1 2
3 2 2 1
2 3 2 5
A
−
−
−
 
 
 
=
 
 
 
Determinant
Determinant
ตัวอย่าง กาหนด จงหา
2 1 5 3 3 4 3 4
1 1 1 1 2 1 2 1
a b
c d
      
=
      
      
a b
c d
 
 
 
Eigenvalue and Eigenvector
นิยาม
ระบบสมการเชิงเส้นในรูป Ax = x
ระบบสมการนี้สามารถเขียนได้อีกแบบหนึ่งดังนี้
Ax - x = 0
Ax - Inx = 0
(A - In)x = 0
ดังแสดงให้เห็น ระบบสมการ (A - In)x = 0 เป็นระบบสมการ
เชิงเส้นเอกพันธ์ และเป็นระบบคล้องจอง (มีคาตอบชัดแจ้งเป็น
คาตอบหนึ่งของสมการ)
Eigenvalue and Eigenvector
ตัวอย่าง
Eigenvalue and Eigenvector
ตัวอย่าง
Eigenvalue and Eigenvector
ตัวอย่าง
Eigenvalue and Eigenvector
ตัวอย่าง
Eigenvalue and Eigenvector
ตัวอย่าง
Eigenvalue and Eigenvector
ตัวอย่าง
Eigenvalue and Eigenvector
Eigenvalue and Eigenvector
Eigenvalue and Eigenvector
จงหา Eigenvalue ของ A
1 1 1
1 0 2
0 2 1
A
−
−
−
 
 
=  
 
 
ลองทาดู
ลองทาดู
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
วิธีการเรียงสับเปลี่ยน
นิยาม วิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3 , … , n} หมายถึง
การนาจานวนเต็ม 1 , 2 , 3 , … , n มาจัดเรียงโดยไม่ขาดตัวใดและไม่มีตัวใดซ้ากัน
เขียนแทนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3 , … , n} ด้วยสัญลักษณ์
(p1 , p2 , … , pn) โดยที่ p1 , p2 , … , pn เป็นจานวนเต็มในเซต {1 , 2 , 3 , … , n}
ที่ไม่ซ้ากัน
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
ตัวอย่าง วิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2} มี 2 วิธี คือ
(1 , 2) และ (2 , 1)
หมายเหตุ จานวนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3 , … , n}
เท่ากับ n! วิธี
ตัวอย่าง วิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3} มี 6 วิธี คือ
(1 , 2 , 3) , (1 , 3 , 2) , (2 , 1 , 3) , (2 , 3 , 1) , (3 , 1 , 2) และ (3 , 2 , 1)
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
การผกผัน (inversion)
นิยาม ถ้า P = (p1 , p2 , … , pn) เป็นวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม
{1 , 2 , 3 , … , n} การผกผัน (inversion) จะปรากฏใน P ก็ต่อเมื่อ มีจานวน pi
และ pj ใน P ซึ่ง pi > pj แต่ pi อยู่ในตาแหน่งหน้า pj
เขียนแทนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3 , … , n} ด้วยสัญลักษณ์
(p1 , p2 , … , pn) โดยที่ p1 , p2 , … , pn เป็นจานวนเต็มในเซต {1 , 2 , 3 , … , n}
ที่ไม่ซ้ากัน
จะนับจานวนการผกผันใน P = (p1 , p2 , … , pn) ดังนี้
- หาจานวนเต็มใน P ซึ่งน้อยกว่า p1 แต่อยู่หลัง p1
สมมติให้มี m1 จานวน
- หาจานวนเต็มใน P ซึ่งน้อยกว่า p2 แต่อยู่หลัง p2
สมมติให้มี m2 จานวน
:
- หาจานวนเต็มใน P ซึ่งน้อยกว่า pn-1 แต่อยู่หลัง pn-1
สมมติให้มี mn-1 จานวน
จะได้ว่าจานวนของการผกผันใน P = (p1 , p2 , … , pn) เท่ากับ
m1+ m2 + ... + mn-1 จานวน
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
ตัวอย่าง
j1 = (1 , 3 , 2) การผกผันของ j1 คือ (3 , 2) จะได้จานวนการผกผันใน j1 คือ 1
ดังนั้น t(1 , 3 , 2) = 1
จานวนการผกผันใช้สัญลักษณ์ t(j) แทนจานวนการผกผันในการเรียงสับเปลี่ยน
j2 = (5 , 4 , 2 , 3 , 1) การผกผันของ j2 คือ (5 , 4) , (5 , 2) , (5 , 3) , (5 , 1) , (4 , 2) ,
(4 , 3) , (4 , 1) , (2 , 1) , (3 , 1) จะได้จานวนการผกผันใน j2 คือ 9
ดังนั้น t(5 , 4 , 2 , 3 , 1) = 9
j3 = (1 , 2 , 5 , 3 , 4) การผกผันของ j3 คือ (5 , 3) , (5 , 4) จะได้จานวนการผกผันใน j3
คือ 2 ดังนั้น t(1 , 2 , 5 , 3 , 4) = 2
ตัวอย่าง จงหาจานวนของการผกผัน
(6 , 2 , 5 , 3 , 1 , 4)
(7 , 6 , 5 , 4 , 3 , 2 , 1)
(4 , 2 , 1 , 3)
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
วิธีการเรียงสับเปลี่ยนคู่ วิธีการเรียงสับเปลี่ยนคี่
นิยาม วิธีการเรียงสับเปลี่ยน P จะเรียกว่า วิธีการเรียงสับเปลี่ยนคู่ (even
permutation) เมื่อจานวนการผกผันใน P เป็นจานวนคู่ และจะเรียกว่า วิธีการเรียง
สับเปลี่ยนคี่(odd permutation) เมื่อจานวนการผกผันใน P เป็นจานวนคี่
เขียนแทนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3 , … , n} ด้วยสัญลักษณ์
(p1 , p2 , … , pn) โดยที่ p1 , p2 , … , pn เป็นจานวนเต็มในเซต {1 , 2 , 3 , … , n}
ที่ไม่ซ้ากัน
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
ตัวอย่าง
กาหนดให้ j1 = (3 , 1 , 2 , 5 , 4) , j2 = (4 , 1 , 3 , 2) และ j3 = (1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6)
จงหาว่า j1 , j2 , j3 เป็นการเรียงสับเปลี่ยนคู่หรือคี่
j1 = (3 , 1 , 2 , 5 , 4) การผกผันของ j1 คือ (3 , 1) , (3 , 2) , (5 , 4) จะได้จานวนการ
ผกผันใน j1 คือ 3 หรือ t (3 , 1 , 2 , 5 , 4) = 3 ดังนั้นเป็นการเรียงสับเปลี่ยนคี่
j2 = (4 , 1 , 3 , 2) การผกผันของ j2 คือ (4 , 1) , (4 , 2) , (4 , 3) , (3 , 2) จะได้จานวน
การผกผันใน j2 คือ 4 หรือ t (4 , 1 , 3 , 2) = 4 ดังนั้นเป็นการเรียงสับเปลี่ยนคู่
j3 = (1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6) ไม่มีการผกผัน t (1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6) = 0 ดังนั้นเป็นการเรียง
สับเปลี่ยนคู่
ตัวอย่าง จงแยกประเภทของวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของ
เซตของจานวนเต็ม {1 , 2 , 3}
วิธีการเรียงสับเปลี่ยน จานวนการผกผัน ประเภทคู่ / คี่
(1 , 2 , 3) 0 คู่
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
ดีเทอร์มินันต์โดยวิธีการทางคอมบินาทอริกส์
นิยาม กาหนดให้
ฟังก์ชันดีเทอร์มินันต์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ det นิยามว่า
det(A) =  ()a1p1a2p2 … anpn
เมื่อ (p1 , p2 , … , pn) เป็นวิธีการเรียงสับเปลี่ยนของเซต {1 , 2 , 3 , … , n} และมีวิธีการ
เลือกเครื่องหมาย  ดังนี้
เลือก + เมื่อ (p1 , p2 , … , pn) เป็นวิธีการเรียงสับเปลี่ยนคู่
เลือก – เมื่อ (p1 , p2 , … , pn) เป็นวิธีการเรียงสับเปลี่ยนคี่
เรียก det(A) ว่าดีเทอร์มินันต์ของ A
aij n n
A 
=  
 
วิธีการทางคอมบินาทอริกส์
เพื่อหาดีเทอร์มินันต์
ตัวอย่าง จงหาค่าดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์มิติ 3x 3 โดยวิธีการทางคอมบินาทอริกส์

More Related Content

What's hot

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
วรรณิภา ไกรสุข
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติพัน พัน
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
พัน พัน
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
kruthanapornkodnara
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์Kam Nimpunyagampong
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตkrurutsamee
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
Somporn Amornwech
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
KruGift Girlz
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
อิ๋ว ติวเตอร์
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวPiyanouch Suwong
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์ทับทิม เจริญตา
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พัน พัน
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
Somporn Amornwech
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
KruGift Girlz
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
kroojaja
 

What's hot (20)

ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
การประยุกต์2
การประยุกต์2การประยุกต์2
การประยุกต์2
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเมทริกซ์
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
ข้อสอบเข้าจริง ม.1 -สาธิตศิลปากร คณิตศาสตร์
 
เฉลยลิมิต
เฉลยลิมิตเฉลยลิมิต
เฉลยลิมิต
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2เส้นขนาน ม.2
เส้นขนาน ม.2
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
9 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 569 วิชาสามัญ เคมี 56
9 วิชาสามัญ เคมี 56
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
แบบทดสอบ เรื่อง สัญกรณ์วิทยาสตร์
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 

Similar to ตัวกำหนด(Determinant)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์Pasit Suwanichkul
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมJiraprapa Suwannajak
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
sensehaza
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
aass012
 
Expo
ExpoExpo

Similar to ตัวกำหนด(Determinant) (20)

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
เลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึมเลขยกกำลังและลอการิทึม
เลขยกกำลังและลอการิทึม
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
Matrix1
Matrix1Matrix1
Matrix1
 
Matrix
MatrixMatrix
Matrix
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 

More from kroojaja

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
kroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
kroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
kroojaja
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
kroojaja
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
kroojaja
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
kroojaja
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
kroojaja
 
01real
01real01real
01real
kroojaja
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
kroojaja
 
Equal
EqualEqual
Equal
kroojaja
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
kroojaja
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
kroojaja
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 

More from kroojaja (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
01real
01real01real
01real
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

ตัวกำหนด(Determinant)