SlideShare a Scribd company logo
บทที่ ๕
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
เมื่อการปรับพฤติกรรมตามหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่
กับการปรับพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลักของพระพุทธศาสนามี
ความสัมพันธ์สอดคล้องกันอย่างน่าสนใจ นำามาซึ่งความรู้ ความ
จริง ความดีงาม สำาหรับผู้ที่สนใจศึกษา เนื่องจากเนื้อหาใน
พระพุทธศาสนานอกจากจะมีองค์ความรู้ทางด้านศาสนาแล้ว ยังมี
องค์ความรู้ทางด้านจิตวิทยาการสมัยใหม่ซึ่งมีรากฐานมาจาก
วิทยาศาสตร์นั้น การศึกษาเชื่อมโยงความรู้ทางด้านจิตวิทยา
ศาสนาและวิทยาศาสตร์ได้อย่างกลมกลืนกัน ทั้งหมดนี้จึงเป็นที่มา
ของการศึกษาวิจัยฉบับนี้ ซึ้งมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ เพื่อ
ศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมตามหลักของวิทยาการสมัยใหม่
เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา
เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมเชิงบูรณาการตามหลัก
พระพุทธศาสนา การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ดำาเนินตามหลักการที่ได้
วางแนวทางไว้จนพบประเด็นคำาตอบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
และข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้
๕.๑ บทสรุป
๕.๑.๑ ความหมายของพฤติกรรม
จากการวิจัยทำาให้ทราบถึงการปรับพฤติกรรมตามหลัก
ของวิทยาการสมัยใหม่กับการปรับพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลัก
ของพระพุทธศาสนามีความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึงการก
ระทำากิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ ถึงแม้พฤติกรรมบาง
อย่างที่ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่ศาสตร์สมัยใหม่ก็มีเครื่องมือวัด
ได้ ในฝ่ายของพระพุทธศาสนาก็สามารถสัมผัสได้ด้วยใจของผู้มี
คุณวิเศษคือผู้ได้ปรวิชานนอภิญญา ที่สามารถรู้วาระจิตของคน
อื่นได้
๕.๑.๒ ประเภทของพฤติกรรม
ก. ความเหมือนกัน
ทั้งพระพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่ได้แยกประเภท
ของพฤติกรรมออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมภายนอก
กับพฤติกรรมภายใน ถึงแม้พระพุทธศาสนาจะแบ่งแหล่งที่เกิด
ของพฤติกรรมออกเป็น ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทาง
ใจ ก็ตาม เมื่อพิจารณาสรุปแล้วก็ย่อลงเป็น ๒ ประเภทเหมือนกับ
ศาสตร์สมัยใหม่คือ พฤติกรรมทางกาย และวาจา จัดเป็น
พฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทางใจ จัดเป็นพฤติกรรมภายใน
ส่วนแนวคิดของแบนดูร่ายิ่งใกล้เคียงกับพระพุทธศาสนา
เพราะแบนดูร่าเน้นพฤติกรรมทางใจเป็นสำาคัญเช่นเดียวกับ
พระพุทธศาสนาที่ถือว่าพฤติกรรมทางใจสำาคัญที่สุด
ข. ความต่างกัน
ศาสตร์สมัยใหม่โดยทั่วไปรวมทั้งแบนดูร่าด้วยได้ทำาการ
ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลในปัจจุบันคือสังเกตเห็นได้ด้วยตา
เปล่าไม่ได้ศึกษาลึกลงไปถึงเหตุที่ทำาให้เกิดพฤติกรรมในปัจจุบัน
และผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในภพชาติต่อไป แต่พระพุทธ
ศาสนาศึกษาครบทั้ง ๓ กาล คือเหตุในอดีตกาลที่ทำาให้เกิดผลใน
ปัจจุบันและจะเกิดในอนาคตทั้งในภพนี้และภพหน้า
๕.๑.๓ แนวทัศนะเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ตาม
หลักของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา
ก. ความเหมือนกัน
ทั้งพระพุทธศาสนาและแบนดูร่า มีแนวคิดเกี่ยวกับ
พฤติกรรมเหมือนกันตรงที่องค์ประกอบ ๓ ส่วนประกอบกัน
กำาหนดกันและกัน มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือ แบนดูร่า มองว่า
พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคล ทั้ง ๓ อย่างนี้มี
ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกันและกันเป็นลูกโซ่ สอดคล้องกับ
ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเหตุ ปัจจัย และผล และ
สอดคล้องกับหลักปฏิจจสมุปบาทที่พฤติกรรมแต่ละอย่างมีความ
เกี่ยวเนื่องกันและกัน เช่น เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา เป็น
15
ปัจจัยให้เกิดอุปาทาน ในทางกลับกัน อุปาทานก็เป็นปัจจัยในเกิด
ตัณหา ตัณหาก็เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนาได้เช่นเดียวกัน
แบนดูร่ามีความเชื่อว่า พฤติกรรมของคนเรานั้น ไม่ได้
เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจัยทางสภาพแวดล้อมแต่
เพียงอย่างเดียว แต่มีปัจจัยส่วนบุคคล (ปัญญา ชีวภาพ และสิ่ง
ภายในอื่น ๆ) ร่วมด้วย และการร่วมของปัจจัยส่วนบุคคลนั้นจะ
ต้องร่วมกันในลักษณะที่กำาหนดซึ่งกันและกัน (Reciprocal
Determinism) กับปัจจัยทางด้านพฤติกรรมและสภาพแวดล้อม
สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา ที่เน้นพฤติกรรมทางใจหรือ
มโนกรรมเป็นสำาคัญ พฤติกรรมทุกอย่างล้วนออกมาจากใจทั้งนั้น
แบนดูร่ามองว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นตั้งแต่ได้เห็นตัวแบบแล้ว
แม้ยังไม่ได้แสดงออกมาก็ตาม สอดคล้องกับพระพุทธศาสนาที่
ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อตาเห็นรูปแล้วเกิดจักษุวิญญาณคือความรู้
ทางตา จากนั้นความรู้อันนั้นก็จะถูกส่งไปเก็บในภวังคจิตรอ
โอกาสให้ผลเมื่อถึงคราวที่เหมาะสม
ข. ความต่างกัน
ความต่างกันระหว่างแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรม
หรือบ่อเกิดพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ตรงที่แบน
ดูร่ามองว่า พฤติกรรมเกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคลซึ่งเน้นที่ตัว
บุคคลแต่ไม่ได้ลงลึกถึงรายละเอียดว่า เหตุที่ทำาให้บุคคลแสดง
พฤติกรรมออกมานั้นคืออะไร หมายความว่า อะไรอยู่เบื้องหลัง
พฤติกรรมเหล่านั้น
ส่วนพระพุทธศาสนาศึกษาลึกลงไปถึงสาเหตุของ
พฤติกรรมอย่างชัดเจนว่า ตัณหา กับฉันทะเป็นสาเหตุของ
พฤติกรรม ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ก็คือองค์ประกอบบุคคลในทัศนะของ
แบนดูร่านั่นเอง เพียงแต่แบนดูร่าได้อธิบายไว้โดยรวมว่า องค์
ประกอบบุคคล ได้แก่ ปัญญา ชีวภาพ และสิ่งภายในอื่น ๆ ซึ่งสิ่ง
ภายในอื่น ๆ นี้แหละที่พระพุทธศาสนาเรียกว่า “สังขาร” การปรุง
แต่งภายใน เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมมนุษย์
๕.๑.๔ การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของ
แบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา
16
ก. ความเหมือนกัน
การพัฒนาพฤติกรรมตาม
หลักแบนดูร่า
การพัฒนาพฤติกรรมตาม
หลักพระพุทธศาสนา
แนวคิดของการเรียนรู้โดย
การสังเกต
๑) กระบวนการความเอาใจ
ใส่
๒) กระบวนการจดจำา
๓) กระบวนการแสดง
พฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง
พฤติกรรมระดับศีล (ระดับ
พื้นฐาน)
๑) ศีล ๕
๒) ศีล ๘
๓) ศีล ๑๐
แนวคิดของการกำากับ
ตนเอง
๑) กระบวนการการสังเกต
ตนเอง
๒) กระบวนการตัดสิน
๓) การแสดงปฏิกิริยาต่อ
ตนเอง
พฤติกรรมระดับสมาธิ
(ระดับกลาง)
๑) อริยมรรคฝ่ายสมาธิ
๒)
๓) สมถกรรมฐาน
แนวคิดของการับรู้ความ
สามารถของตนเอง
๑) ประสบการณ์ที่ประสบความ
สำาเร็จ
๒) การใช้ตัวแบบ
พฤติกรรมระดับปัญญา
(ระดับสูง)
1) สุตมยปัญญา
2) จินตามยปัญญา
3) ภาวนามยปัญญา
17
๓) การใช้คำาพูดชักจูง
๔) การกระตุ้นทางอารมณ์
ข. ความต่างกัน
๑) กระบวนการความใส่ใจ (Attention Process)
กระบวนการใส่ใจของแบนดูร่า เปรียบเทียบได้กับหลัก
“อิทธิบาท” ในพระพุทธศาสนา อิทธิบาทมี ๔ ประการ คือ ฉันทะ
วิริยะ จิตตะ วิมังสา ฉันทะคือความใส่ใจหรือความชอบใจพอใจ
ในกิจการงานที่จะทำา วิริยะ คือความเพียรพยายามที่จะทำางาน
นั้น ๆ ให้สำาเร็จ จิตตะ เอาใจใส่ต่องานไม่ทอดธุระกลางครัน มีใจ
จดจ่อมุ่งมั่นที่จะทำางานให้สำาเร็จ วิมังสา ใช้ปัญญาพิจารณา
ไตร่ตรองหาช่องทางและวิธีการที่จะทำางานให้สำาเร็จ ถ้าผู้เรียน
ปฏิบัติตามหลักอิทธิบาทเหล่านี้ครบถ้วนก็จะทำาให้ประสบความ
สำาเร็จในการเรียนโดยไม่ยาก การปฏิบัติตามอิทธิบาทจะมีผลสืบ
เนื่องถึงกันอย่างกลมกลืน
๒) กระบวนการจดจำา (Retention Process)
แบนดูรา อธิบายว่า การที่ผู้เรียนหรือผู้สังเกตสามารถที่จะ
เลียนแบบหรือแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบได้ก็เป็นเพราะผู้
เรียนบันทึกสิ่งที่ตนสังเกตจากตัวแบบไว้ในความจำาระยะยาว แบน
ดูรา พบว่าผู้สังเกตที่สามารถอธิบายพฤติกรรม หรือการกระทำา
ของตัวแบบด้วยคำาพูด หรือสามารถมีภาพพจน์สิ่งที่ตนสังเกตไว้
ในใจจะเป็นผู้ที่สามารถจดจำาสิ่งที่เรียนรู้โดยการสังเกตได้ดีกว่าผู้
ที่เพียงแต่ดูเฉย ๆ หรือทำางานอื่นในขณะที่ดูตัวแบบไปด้วย สรุป
แล้วผู้สังเกตที่สามารถระลึกถึงสิ่งที่สังเกตเป็นภาพพจน์ในใจ
(Visual Imagery) และสามารถเข้ารหัสด้วยคำาพูดหรือถ้อยคำา
(Verbal Coding) จะเป็นผู้ที่สามารถแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ
จากตัวแบบได้แม้ว่าเวลาจะผ่านไปนาน ๆ และนอกจากนี้ถ้าผู้
สังเกตหรือ ผู้เรียนมีโอกาสที่จะได้เห็นตัวแบบแสดงสิ่งที่จะต้อง
เรียนรู้ซำ้าก็จะเป็นการช่วยความจำาให้ดียิ่งขึ้น
18
กระบวนการจดจำาเปรียบได้กับหลัก “โยนิโสมนสิการ” ใน
พระพุทธศาสนา คำาว่า โยนิโสมนสิการ คือการใช้ปัญญา
พิจารณาโดยแยบคาย เมื่อมีเหตุการณ์ที่จะต้องตัดสินว่า สิ่งนั้น ๆ
ควรจะดำาเนินการอย่างไรจึงจะประสบความสำาเร็จและเกิด
ประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น หรือว่า เมื่อมีเรื่องราวที่จะตัดสินใจ
เพื่อดำาเนินการตาว่าเรื่องนี้ถูกผิดอย่างไร ใช้ปัญญาพิจารณา
ไตร่ตรองให้รอบคอบเสียก่อนจึงตัดสินใจลงมือทำาหรือเลือกมี
พระพุทธหลายแห่งที่ตรัสถึงประโยชน์ของโยนิโสมนสิการ เช่น
พระพุทธพจน์ว่า “เพราะพูดถึงองค์ประกอบภายใน เราไม่เห็น
องค์ประกอบอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์มากเหมือน
โยนิโสมนสิการ โยนิโสมนสิการย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์มาก
นอกจากนี้โยนิโสมนสิการยังเป็นปัจจัยทำาให้เกิดสัมมา
ทิฏฐิได้ ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิมี ๒ ประการ คือ ๑. ปร
โตโฆสะ (การได้สดับจากบุคคลอื่น) ๒. โยนิโสมนสิการ (การ
มนสิการโดยแยบคาย)
นอกจากโยนิโสมนสิการจะเป็นปัจจัยทำาให้เกิดสัมมาทิฏฐิ
แล้วยังเป็นบุพนิมิตแห่งความเกิดขึ้นแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วย
พระพุทธเจ้าเปรียบโยนิโสมนสิการเหมือนกับแสงอรุณโผ่
๓) กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ
(Reproduction Process)
กระบวนเป็นกระบวนการที่ผู้เรียน แปรสภาพ
(Transform) ภาพพจน์ (Visual Image) หรือสิ่งที่จำาไว้เป็นการ
เข้ารหัสเป็นถ้อยคำา (Verbal Coding) ในที่สุดแสดงออกมา
เป็นการกระทำาหรือแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ
กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบของแบนดู
ร่า เปรียบเทียบได้กับหลัก “กัลยาณมิตร” ในพระพุทธศาสนา คำา
ว่า กัลยาณมิตรหรือผู้เป็นกัลยาณมิตร คือผู้เป็นมิตรที่ดี ผู้ตั้ง (ตน)
อยู่ในฝ่ายเจริญ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล (ผู้อื่น) ไปฝ่ายเดียว
กอบด้วยคุณ ๗ ประการ คือ ๑) เป็นคนน่ารัก ๒) น่าเคารพ ๓)
น่ายกย่อง ๔) เป็นผู้ว่ากล่าว (คนอื่น ไม่เฉยเมย) ๕) เป็นผู้ยอม
19
ให้ (คนอื่น) ว่ากล่าว (ไม่หัวดื้อ) ๖) แต่ง (ธรรม) ถกาอันลึกซึ้งได้
๗) ไม่ชักชวน (ผู้อื่น) ในที่อันไม่ควร
๔) กระบวนการจูงใจ (Motivation Process)
แบนดูรา อธิบายว่า แรงจูงใจของผู้เรียนที่จะแสดง
พฤติกรรมเหมือนตัวแบบที่ตนสังเกต เนื่องมาจากความคาดหวังว่า
การเลียนแบบจะนำาประโยชน์มาใช้ เช่น การได้รับแรงเสริมหรือ
รางวัล หรืออาจจะนำาประโยชน์บางสิ่งบางอย่างมาให้ รวมทั้งการ
คิดว่าการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบจะทำาให้ตนหลีกเลี่ยง
ปัญหาได้
กระบวนการจูงใจเปรียบเทียบได้กับพุทธพจน์ว่า “นิคฺคณฺ
เห นิคฺคหารหำ” ข่มบุคคลที่ควรข่ม “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหำ”
ยกย่องคนที่ควรยกย่อง ในเตสกุณชาดก พระราชาตรัสถาม
ราชธรรมกับนางนกกุณฑลินีตอนหนึ่งว่า “พระราชาควรทราบ
ความเจริญและความเสื่อมด้วยพระองค์เองควรทรงทราบสิ่งที่ทรง
กระทำาแล้วและยังมิได้ทรงกระทำาด้วยพระองค์เอง พึงข่มคนที่ควร
ข่ม ยกย่องคนที่ควรยกย่อง”
การควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง (Self-
Regulation)
การกำากับตนเอง เป็นแนวคิดที่สำาคัญอีกแนวคิดหนึ่งของ
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคมซึ่ง Bandura เชื่อว่า
พฤติกรรมมนุษย์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการเสริมแรง และลงโทษเพียง
อย่างเดียวหากแต่เป็นการบังคับตนเองให้ทำา แบนดูร่า เรียกว่า
การกำากับตนเอง ซึ่งจะสามารถทำาได้ก็ต่อเมื่อมีการฝึกฝนและ
พัฒนา
กระบวนการสังเกตของตนเอง (Self observation)
บุคคลไม่มีอิทธิพลใดๆ ต่อการกระทำาของตัวเองถ้าเข้าไม่สนใจว่า
เขากำาลังทำาอะไรอยู่ ดังนั้นจุดเริ่มต้นที่สำาคัญของการกำากับตนเอง
คือ บุคคลจะต้องรู้ว่าตนเองกำาลังทำาอะไรอยู่ เพราะความสำาเร็จ
จากการกำากับตนเองนั้นส่วนหนึ่งมาจากความชัดเจนสมำ่าเสมอและ
แม่นยำาของการสังเกตและบันทึกตนเอง การสังเกตควรพิจารณา
20
๔ ด้านคือ ๑) การกระทำา ในด้านคุณภาพ,ความเร็วปริมาณ ฯ ๒)
ความสมำ่าเสมอ ๓) ความใกล้เคียง ๔) ความถูกต้อง
กระบวนการสังเกตของตนเอง (Self observation)
เปรียบเทียบได้กับหลักธรรมหมวดธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง คือ
สติ สัมปชัญญะ การที่คนจะสังเกตตนเองได้ต้องมีสติ ความระลึก
ได้ คือมีความระลึกได้อยู่ ๓ ขณะ คือ ขณะก่อนทำา ขณะก่อนพูด
ขณะก่อนคิด ถ้าบุคคลมีสติระลึกได้อย่างนี้จะทำาให้การทำางาน
หรือทำากิจกรรมอื่นใดไม่ผิดพลาด ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่
ตนเองและผู้อื่น
๕.๒ ข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาจิตวิทยาพฤติกรรมตามหลักของวิทยาการ
สมัยใหม่เปรียบเทียบแนวพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของพระพุทธ
ศาสนาทำาให้ทราบถึงกระบวนการทางพุทธิปัญญา การปรับ
พฤติกรรมตามหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่กับการปรับ
พฤติกรรมตามแนวพุทธศาสนามีเป้าหมายเดียวกันคือ เพื่อสังคมที่
เป็นสุข การปรับพฤติกรรมตามแนวพุทธที่ระดับบุคคลคือ อยู่ใน
ศีล ที่ระดับสังคมคือ การยึดถือปฏิบัติตามจารีต ประเพณี การปรับ
พฤติกรรมตามแนววิทยาการสมัยใหม่ที่ระดับบุคคลคือ การบำาบัด
ที่ระดับสังคมคือ การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบแห่งสังคม ซึ่ง
เป็นกรอบใหญ่แห่งพฤติกรรม
ในงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการปรับพฤติกรรมเชิงเปรียบ
เทียบระหว่างการปรับพฤติกรรมตามศาสตร์สมัยใหม่ของแบนดูร่า
กับการปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาเพื่อให้ทราบ
ว่าการปรับพฤติกรรมตามหลักของแบนดูร่าเป็นอย่างไร และการ
ปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร มีความ
เหมือนและความต่างกันอย่างไร เท่านั้น ยังมีรายละเอียดที่น่า
ศึกษาอยู่มากมายที่ยังไม่ได้ศึกษาเพราะมีข้อจำากัดเกี่ยวกับเวลา
ถ้าผู้ที่มีความสนใจจะศึกษาการปรับพฤติกรรมตามหลักของแบนดู
ร่าในเชิงลึกควรศึกษาเพิ่มเติมได้จากหนังสือ ของ Bandura ชื่อ
ว่า Social Learning Theory, (Englewood Cliffs, New
Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1976), และ Social
Foundations of Thought and Action : A Social
21
cognitive theory, Social Learning Theory,
(Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, Inc.,
1986), ซึ่งหนังสือทั้ง ๒ เล่มนี้จะรวบรวมทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับ
การปรับพฤติกรรมต่าง ๆ ของแบนดูร่าทั้งหมด ในส่วนของการ
ปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาก็ควรศึกษาเรื่อง
เจตสิกหรือสังขารขันธ์เพิ่มเติมเพราะสังขารขันธ์ทั้ง ๕๐ อย่างนั้น
เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมมนุษย์ตามระดับชั้นของบุคคล
22
cognitive theory, Social Learning Theory,
(Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, Inc.,
1986), ซึ่งหนังสือทั้ง ๒ เล่มนี้จะรวบรวมทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับ
การปรับพฤติกรรมต่าง ๆ ของแบนดูร่าทั้งหมด ในส่วนของการ
ปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาก็ควรศึกษาเรื่อง
เจตสิกหรือสังขารขันธ์เพิ่มเติมเพราะสังขารขันธ์ทั้ง ๕๐ อย่างนั้น
เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมมนุษย์ตามระดับชั้นของบุคคล
22

More Related Content

What's hot

บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
เพ็ญพักตร์ ฉวีวงค์
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครู
arpokasin
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
Sunisa Khaisaeng
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
Anchalee BuddhaBucha
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
eubeve
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์jariya221
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11nilobon66
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
April1904
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
Narut Keatnima
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Rathapon Silachan
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Proud N. Boonrak
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 

What's hot (20)

บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
การสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัยการสอนแบบนิรนัย
การสอนแบบนิรนัย
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครู
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
ศึกษาความรู้และความเข้าใจในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ ของผู้ป...
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
Problem 8 11
Problem 8 11Problem 8 11
Problem 8 11
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อโครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
โครงร่างวิทยานิพนธ์ ใช้การการสอบขออนุมัติหัวข้อ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
 
Metacognition
MetacognitionMetacognition
Metacognition
 

Viewers also liked

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
Cherie Pink
 
k kuop 1
k kuop 1k kuop 1
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
Sukanda Nuanthai
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
chinnapon chom
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureNattakorn Sunkdon
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมjuthaporn222
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
Aunop Nop
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
Amr Thabet
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการBeeiiz Gubee
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
Piyarerk Bunkoson
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงานJane Janjira
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
บอสคุง ฉึกฉึก
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทสรุปสำหรับผู้บริหารบทสรุปสำหรับผู้บริหาร
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
 
k kuop 1
k kuop 1k kuop 1
k kuop 1
 
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
บทคัดย่อ คำควบกล้ำ ป3
 
งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5งานนำเสนอบทที่ 5
งานนำเสนอบทที่ 5
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pureตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
ตัวอย่างแผนธุรกิจIce pure
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
 
บทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการบทที่4 ผลการดำเนินการ
บทที่4 ผลการดำเนินการ
 
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
ปกรายงาน
ปกรายงานปกรายงาน
ปกรายงาน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 
Oscom23 old
Oscom23 oldOscom23 old
Oscom23 old
 

Similar to บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
Tawatchai Bunchuay
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
Commm
CommmCommm
Commm
Rujruj
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 

Similar to บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐ (20)

บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐

  • 1. บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ เมื่อการปรับพฤติกรรมตามหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ กับการปรับพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลักของพระพุทธศาสนามี ความสัมพันธ์สอดคล้องกันอย่างน่าสนใจ นำามาซึ่งความรู้ ความ จริง ความดีงาม สำาหรับผู้ที่สนใจศึกษา เนื่องจากเนื้อหาใน พระพุทธศาสนานอกจากจะมีองค์ความรู้ทางด้านศาสนาแล้ว ยังมี องค์ความรู้ทางด้านจิตวิทยาการสมัยใหม่ซึ่งมีรากฐานมาจาก วิทยาศาสตร์นั้น การศึกษาเชื่อมโยงความรู้ทางด้านจิตวิทยา ศาสนาและวิทยาศาสตร์ได้อย่างกลมกลืนกัน ทั้งหมดนี้จึงเป็นที่มา ของการศึกษาวิจัยฉบับนี้ ซึ้งมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ได้แก่ เพื่อ ศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมตามหลักของวิทยาการสมัยใหม่ เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนา เพื่อศึกษารูปแบบการปรับพฤติกรรมเชิงบูรณาการตามหลัก พระพุทธศาสนา การศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้ดำาเนินตามหลักการที่ได้ วางแนวทางไว้จนพบประเด็นคำาตอบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้ ๕.๑ บทสรุป ๕.๑.๑ ความหมายของพฤติกรรม จากการวิจัยทำาให้ทราบถึงการปรับพฤติกรรมตามหลัก ของวิทยาการสมัยใหม่กับการปรับพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลัก ของพระพุทธศาสนามีความหมายเหมือนกัน คือ หมายถึงการก ระทำากิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถมองเห็นได้ ถึงแม้พฤติกรรมบาง อย่างที่ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่ศาสตร์สมัยใหม่ก็มีเครื่องมือวัด ได้ ในฝ่ายของพระพุทธศาสนาก็สามารถสัมผัสได้ด้วยใจของผู้มี คุณวิเศษคือผู้ได้ปรวิชานนอภิญญา ที่สามารถรู้วาระจิตของคน อื่นได้ ๕.๑.๒ ประเภทของพฤติกรรม
  • 2. ก. ความเหมือนกัน ทั้งพระพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่ได้แยกประเภท ของพฤติกรรมออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ พฤติกรรมภายนอก กับพฤติกรรมภายใน ถึงแม้พระพุทธศาสนาจะแบ่งแหล่งที่เกิด ของพฤติกรรมออกเป็น ๓ ทาง คือ ทางกาย ทางวาจา และทาง ใจ ก็ตาม เมื่อพิจารณาสรุปแล้วก็ย่อลงเป็น ๒ ประเภทเหมือนกับ ศาสตร์สมัยใหม่คือ พฤติกรรมทางกาย และวาจา จัดเป็น พฤติกรรมภายนอก พฤติกรรมทางใจ จัดเป็นพฤติกรรมภายใน ส่วนแนวคิดของแบนดูร่ายิ่งใกล้เคียงกับพระพุทธศาสนา เพราะแบนดูร่าเน้นพฤติกรรมทางใจเป็นสำาคัญเช่นเดียวกับ พระพุทธศาสนาที่ถือว่าพฤติกรรมทางใจสำาคัญที่สุด ข. ความต่างกัน ศาสตร์สมัยใหม่โดยทั่วไปรวมทั้งแบนดูร่าด้วยได้ทำาการ ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลในปัจจุบันคือสังเกตเห็นได้ด้วยตา เปล่าไม่ได้ศึกษาลึกลงไปถึงเหตุที่ทำาให้เกิดพฤติกรรมในปัจจุบัน และผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตในภพชาติต่อไป แต่พระพุทธ ศาสนาศึกษาครบทั้ง ๓ กาล คือเหตุในอดีตกาลที่ทำาให้เกิดผลใน ปัจจุบันและจะเกิดในอนาคตทั้งในภพนี้และภพหน้า ๕.๑.๓ แนวทัศนะเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ตาม หลักของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ก. ความเหมือนกัน ทั้งพระพุทธศาสนาและแบนดูร่า มีแนวคิดเกี่ยวกับ พฤติกรรมเหมือนกันตรงที่องค์ประกอบ ๓ ส่วนประกอบกัน กำาหนดกันและกัน มีอิทธิพลต่อกัน กล่าวคือ แบนดูร่า มองว่า พฤติกรรมมนุษย์เกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคล ทั้ง ๓ อย่างนี้มี ความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงถึงกันและกันเป็นลูกโซ่ สอดคล้องกับ ทัศนะของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับเหตุ ปัจจัย และผล และ สอดคล้องกับหลักปฏิจจสมุปบาทที่พฤติกรรมแต่ละอย่างมีความ เกี่ยวเนื่องกันและกัน เช่น เวทนาเป็นปัจจัยให้เกิดตัณหา เป็น 15
  • 3. ปัจจัยให้เกิดอุปาทาน ในทางกลับกัน อุปาทานก็เป็นปัจจัยในเกิด ตัณหา ตัณหาก็เป็นปัจจัยให้เกิดเวทนาได้เช่นเดียวกัน แบนดูร่ามีความเชื่อว่า พฤติกรรมของคนเรานั้น ไม่ได้ เกิดขึ้นและเปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปัจจัยทางสภาพแวดล้อมแต่ เพียงอย่างเดียว แต่มีปัจจัยส่วนบุคคล (ปัญญา ชีวภาพ และสิ่ง ภายในอื่น ๆ) ร่วมด้วย และการร่วมของปัจจัยส่วนบุคคลนั้นจะ ต้องร่วมกันในลักษณะที่กำาหนดซึ่งกันและกัน (Reciprocal Determinism) กับปัจจัยทางด้านพฤติกรรมและสภาพแวดล้อม สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา ที่เน้นพฤติกรรมทางใจหรือ มโนกรรมเป็นสำาคัญ พฤติกรรมทุกอย่างล้วนออกมาจากใจทั้งนั้น แบนดูร่ามองว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นตั้งแต่ได้เห็นตัวแบบแล้ว แม้ยังไม่ได้แสดงออกมาก็ตาม สอดคล้องกับพระพุทธศาสนาที่ ว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อตาเห็นรูปแล้วเกิดจักษุวิญญาณคือความรู้ ทางตา จากนั้นความรู้อันนั้นก็จะถูกส่งไปเก็บในภวังคจิตรอ โอกาสให้ผลเมื่อถึงคราวที่เหมาะสม ข. ความต่างกัน ความต่างกันระหว่างแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับพฤติกรรม หรือบ่อเกิดพฤติกรรมของแบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา ตรงที่แบน ดูร่ามองว่า พฤติกรรมเกิดจากสิ่งแวดล้อมและบุคคลซึ่งเน้นที่ตัว บุคคลแต่ไม่ได้ลงลึกถึงรายละเอียดว่า เหตุที่ทำาให้บุคคลแสดง พฤติกรรมออกมานั้นคืออะไร หมายความว่า อะไรอยู่เบื้องหลัง พฤติกรรมเหล่านั้น ส่วนพระพุทธศาสนาศึกษาลึกลงไปถึงสาเหตุของ พฤติกรรมอย่างชัดเจนว่า ตัณหา กับฉันทะเป็นสาเหตุของ พฤติกรรม ซึ่งสาเหตุเหล่านี้ก็คือองค์ประกอบบุคคลในทัศนะของ แบนดูร่านั่นเอง เพียงแต่แบนดูร่าได้อธิบายไว้โดยรวมว่า องค์ ประกอบบุคคล ได้แก่ ปัญญา ชีวภาพ และสิ่งภายในอื่น ๆ ซึ่งสิ่ง ภายในอื่น ๆ นี้แหละที่พระพุทธศาสนาเรียกว่า “สังขาร” การปรุง แต่งภายใน เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมมนุษย์ ๕.๑.๔ การพัฒนาพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของ แบนดูร่ากับพระพุทธศาสนา 16
  • 4. ก. ความเหมือนกัน การพัฒนาพฤติกรรมตาม หลักแบนดูร่า การพัฒนาพฤติกรรมตาม หลักพระพุทธศาสนา แนวคิดของการเรียนรู้โดย การสังเกต ๑) กระบวนการความเอาใจ ใส่ ๒) กระบวนการจดจำา ๓) กระบวนการแสดง พฤติกรรมเหมือนตัวอย่าง พฤติกรรมระดับศีล (ระดับ พื้นฐาน) ๑) ศีล ๕ ๒) ศีล ๘ ๓) ศีล ๑๐ แนวคิดของการกำากับ ตนเอง ๑) กระบวนการการสังเกต ตนเอง ๒) กระบวนการตัดสิน ๓) การแสดงปฏิกิริยาต่อ ตนเอง พฤติกรรมระดับสมาธิ (ระดับกลาง) ๑) อริยมรรคฝ่ายสมาธิ ๒) ๓) สมถกรรมฐาน แนวคิดของการับรู้ความ สามารถของตนเอง ๑) ประสบการณ์ที่ประสบความ สำาเร็จ ๒) การใช้ตัวแบบ พฤติกรรมระดับปัญญา (ระดับสูง) 1) สุตมยปัญญา 2) จินตามยปัญญา 3) ภาวนามยปัญญา 17
  • 5. ๓) การใช้คำาพูดชักจูง ๔) การกระตุ้นทางอารมณ์ ข. ความต่างกัน ๑) กระบวนการความใส่ใจ (Attention Process) กระบวนการใส่ใจของแบนดูร่า เปรียบเทียบได้กับหลัก “อิทธิบาท” ในพระพุทธศาสนา อิทธิบาทมี ๔ ประการ คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา ฉันทะคือความใส่ใจหรือความชอบใจพอใจ ในกิจการงานที่จะทำา วิริยะ คือความเพียรพยายามที่จะทำางาน นั้น ๆ ให้สำาเร็จ จิตตะ เอาใจใส่ต่องานไม่ทอดธุระกลางครัน มีใจ จดจ่อมุ่งมั่นที่จะทำางานให้สำาเร็จ วิมังสา ใช้ปัญญาพิจารณา ไตร่ตรองหาช่องทางและวิธีการที่จะทำางานให้สำาเร็จ ถ้าผู้เรียน ปฏิบัติตามหลักอิทธิบาทเหล่านี้ครบถ้วนก็จะทำาให้ประสบความ สำาเร็จในการเรียนโดยไม่ยาก การปฏิบัติตามอิทธิบาทจะมีผลสืบ เนื่องถึงกันอย่างกลมกลืน ๒) กระบวนการจดจำา (Retention Process) แบนดูรา อธิบายว่า การที่ผู้เรียนหรือผู้สังเกตสามารถที่จะ เลียนแบบหรือแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบได้ก็เป็นเพราะผู้ เรียนบันทึกสิ่งที่ตนสังเกตจากตัวแบบไว้ในความจำาระยะยาว แบน ดูรา พบว่าผู้สังเกตที่สามารถอธิบายพฤติกรรม หรือการกระทำา ของตัวแบบด้วยคำาพูด หรือสามารถมีภาพพจน์สิ่งที่ตนสังเกตไว้ ในใจจะเป็นผู้ที่สามารถจดจำาสิ่งที่เรียนรู้โดยการสังเกตได้ดีกว่าผู้ ที่เพียงแต่ดูเฉย ๆ หรือทำางานอื่นในขณะที่ดูตัวแบบไปด้วย สรุป แล้วผู้สังเกตที่สามารถระลึกถึงสิ่งที่สังเกตเป็นภาพพจน์ในใจ (Visual Imagery) และสามารถเข้ารหัสด้วยคำาพูดหรือถ้อยคำา (Verbal Coding) จะเป็นผู้ที่สามารถแสดงพฤติกรรมเลียนแบบ จากตัวแบบได้แม้ว่าเวลาจะผ่านไปนาน ๆ และนอกจากนี้ถ้าผู้ สังเกตหรือ ผู้เรียนมีโอกาสที่จะได้เห็นตัวแบบแสดงสิ่งที่จะต้อง เรียนรู้ซำ้าก็จะเป็นการช่วยความจำาให้ดียิ่งขึ้น 18
  • 6. กระบวนการจดจำาเปรียบได้กับหลัก “โยนิโสมนสิการ” ใน พระพุทธศาสนา คำาว่า โยนิโสมนสิการ คือการใช้ปัญญา พิจารณาโดยแยบคาย เมื่อมีเหตุการณ์ที่จะต้องตัดสินว่า สิ่งนั้น ๆ ควรจะดำาเนินการอย่างไรจึงจะประสบความสำาเร็จและเกิด ประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น หรือว่า เมื่อมีเรื่องราวที่จะตัดสินใจ เพื่อดำาเนินการตาว่าเรื่องนี้ถูกผิดอย่างไร ใช้ปัญญาพิจารณา ไตร่ตรองให้รอบคอบเสียก่อนจึงตัดสินใจลงมือทำาหรือเลือกมี พระพุทธหลายแห่งที่ตรัสถึงประโยชน์ของโยนิโสมนสิการ เช่น พระพุทธพจน์ว่า “เพราะพูดถึงองค์ประกอบภายใน เราไม่เห็น องค์ประกอบอื่นแม้อย่างหนึ่ง ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์มากเหมือน โยนิโสมนสิการ โยนิโสมนสิการย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์มาก นอกจากนี้โยนิโสมนสิการยังเป็นปัจจัยทำาให้เกิดสัมมา ทิฏฐิได้ ปัจจัยให้เกิดสัมมาทิฏฐิมี ๒ ประการ คือ ๑. ปร โตโฆสะ (การได้สดับจากบุคคลอื่น) ๒. โยนิโสมนสิการ (การ มนสิการโดยแยบคาย) นอกจากโยนิโสมนสิการจะเป็นปัจจัยทำาให้เกิดสัมมาทิฏฐิ แล้วยังเป็นบุพนิมิตแห่งความเกิดขึ้นแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ด้วย พระพุทธเจ้าเปรียบโยนิโสมนสิการเหมือนกับแสงอรุณโผ่ ๓) กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ (Reproduction Process) กระบวนเป็นกระบวนการที่ผู้เรียน แปรสภาพ (Transform) ภาพพจน์ (Visual Image) หรือสิ่งที่จำาไว้เป็นการ เข้ารหัสเป็นถ้อยคำา (Verbal Coding) ในที่สุดแสดงออกมา เป็นการกระทำาหรือแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบ กระบวนการแสดงพฤติกรรมเหมือนกับตัวแบบของแบนดู ร่า เปรียบเทียบได้กับหลัก “กัลยาณมิตร” ในพระพุทธศาสนา คำา ว่า กัลยาณมิตรหรือผู้เป็นกัลยาณมิตร คือผู้เป็นมิตรที่ดี ผู้ตั้ง (ตน) อยู่ในฝ่ายเจริญ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล (ผู้อื่น) ไปฝ่ายเดียว กอบด้วยคุณ ๗ ประการ คือ ๑) เป็นคนน่ารัก ๒) น่าเคารพ ๓) น่ายกย่อง ๔) เป็นผู้ว่ากล่าว (คนอื่น ไม่เฉยเมย) ๕) เป็นผู้ยอม 19
  • 7. ให้ (คนอื่น) ว่ากล่าว (ไม่หัวดื้อ) ๖) แต่ง (ธรรม) ถกาอันลึกซึ้งได้ ๗) ไม่ชักชวน (ผู้อื่น) ในที่อันไม่ควร ๔) กระบวนการจูงใจ (Motivation Process) แบนดูรา อธิบายว่า แรงจูงใจของผู้เรียนที่จะแสดง พฤติกรรมเหมือนตัวแบบที่ตนสังเกต เนื่องมาจากความคาดหวังว่า การเลียนแบบจะนำาประโยชน์มาใช้ เช่น การได้รับแรงเสริมหรือ รางวัล หรืออาจจะนำาประโยชน์บางสิ่งบางอย่างมาให้ รวมทั้งการ คิดว่าการแสดงพฤติกรรมเหมือนตัวแบบจะทำาให้ตนหลีกเลี่ยง ปัญหาได้ กระบวนการจูงใจเปรียบเทียบได้กับพุทธพจน์ว่า “นิคฺคณฺ เห นิคฺคหารหำ” ข่มบุคคลที่ควรข่ม “ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหำ” ยกย่องคนที่ควรยกย่อง ในเตสกุณชาดก พระราชาตรัสถาม ราชธรรมกับนางนกกุณฑลินีตอนหนึ่งว่า “พระราชาควรทราบ ความเจริญและความเสื่อมด้วยพระองค์เองควรทรงทราบสิ่งที่ทรง กระทำาแล้วและยังมิได้ทรงกระทำาด้วยพระองค์เอง พึงข่มคนที่ควร ข่ม ยกย่องคนที่ควรยกย่อง” การควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเอง (Self- Regulation) การกำากับตนเอง เป็นแนวคิดที่สำาคัญอีกแนวคิดหนึ่งของ ทฤษฎีการเรียนรู้ทางปัญญาสังคมซึ่ง Bandura เชื่อว่า พฤติกรรมมนุษย์ไม่ได้ขึ้นอยู่กับการเสริมแรง และลงโทษเพียง อย่างเดียวหากแต่เป็นการบังคับตนเองให้ทำา แบนดูร่า เรียกว่า การกำากับตนเอง ซึ่งจะสามารถทำาได้ก็ต่อเมื่อมีการฝึกฝนและ พัฒนา กระบวนการสังเกตของตนเอง (Self observation) บุคคลไม่มีอิทธิพลใดๆ ต่อการกระทำาของตัวเองถ้าเข้าไม่สนใจว่า เขากำาลังทำาอะไรอยู่ ดังนั้นจุดเริ่มต้นที่สำาคัญของการกำากับตนเอง คือ บุคคลจะต้องรู้ว่าตนเองกำาลังทำาอะไรอยู่ เพราะความสำาเร็จ จากการกำากับตนเองนั้นส่วนหนึ่งมาจากความชัดเจนสมำ่าเสมอและ แม่นยำาของการสังเกตและบันทึกตนเอง การสังเกตควรพิจารณา 20
  • 8. ๔ ด้านคือ ๑) การกระทำา ในด้านคุณภาพ,ความเร็วปริมาณ ฯ ๒) ความสมำ่าเสมอ ๓) ความใกล้เคียง ๔) ความถูกต้อง กระบวนการสังเกตของตนเอง (Self observation) เปรียบเทียบได้กับหลักธรรมหมวดธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง คือ สติ สัมปชัญญะ การที่คนจะสังเกตตนเองได้ต้องมีสติ ความระลึก ได้ คือมีความระลึกได้อยู่ ๓ ขณะ คือ ขณะก่อนทำา ขณะก่อนพูด ขณะก่อนคิด ถ้าบุคคลมีสติระลึกได้อย่างนี้จะทำาให้การทำางาน หรือทำากิจกรรมอื่นใดไม่ผิดพลาด ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ตนเองและผู้อื่น ๕.๒ ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาจิตวิทยาพฤติกรรมตามหลักของวิทยาการ สมัยใหม่เปรียบเทียบแนวพฤติกรรมมนุษย์ตามหลักของพระพุทธ ศาสนาทำาให้ทราบถึงกระบวนการทางพุทธิปัญญา การปรับ พฤติกรรมตามหลักของวิทยาศาสตร์สมัยใหม่กับการปรับ พฤติกรรมตามแนวพุทธศาสนามีเป้าหมายเดียวกันคือ เพื่อสังคมที่ เป็นสุข การปรับพฤติกรรมตามแนวพุทธที่ระดับบุคคลคือ อยู่ใน ศีล ที่ระดับสังคมคือ การยึดถือปฏิบัติตามจารีต ประเพณี การปรับ พฤติกรรมตามแนววิทยาการสมัยใหม่ที่ระดับบุคคลคือ การบำาบัด ที่ระดับสังคมคือ การปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบแห่งสังคม ซึ่ง เป็นกรอบใหญ่แห่งพฤติกรรม ในงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการปรับพฤติกรรมเชิงเปรียบ เทียบระหว่างการปรับพฤติกรรมตามศาสตร์สมัยใหม่ของแบนดูร่า กับการปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาเพื่อให้ทราบ ว่าการปรับพฤติกรรมตามหลักของแบนดูร่าเป็นอย่างไร และการ ปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาเป็นอย่างไร มีความ เหมือนและความต่างกันอย่างไร เท่านั้น ยังมีรายละเอียดที่น่า ศึกษาอยู่มากมายที่ยังไม่ได้ศึกษาเพราะมีข้อจำากัดเกี่ยวกับเวลา ถ้าผู้ที่มีความสนใจจะศึกษาการปรับพฤติกรรมตามหลักของแบนดู ร่าในเชิงลึกควรศึกษาเพิ่มเติมได้จากหนังสือ ของ Bandura ชื่อ ว่า Social Learning Theory, (Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1976), และ Social Foundations of Thought and Action : A Social 21
  • 9. cognitive theory, Social Learning Theory, (Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1986), ซึ่งหนังสือทั้ง ๒ เล่มนี้จะรวบรวมทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับ การปรับพฤติกรรมต่าง ๆ ของแบนดูร่าทั้งหมด ในส่วนของการ ปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาก็ควรศึกษาเรื่อง เจตสิกหรือสังขารขันธ์เพิ่มเติมเพราะสังขารขันธ์ทั้ง ๕๐ อย่างนั้น เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมมนุษย์ตามระดับชั้นของบุคคล 22
  • 10. cognitive theory, Social Learning Theory, (Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall, Inc., 1986), ซึ่งหนังสือทั้ง ๒ เล่มนี้จะรวบรวมทฤษฎีแนวคิดเกี่ยวกับ การปรับพฤติกรรมต่าง ๆ ของแบนดูร่าทั้งหมด ในส่วนของการ ปรับพฤติกรรมตามหลักของพระพุทธศาสนาก็ควรศึกษาเรื่อง เจตสิกหรือสังขารขันธ์เพิ่มเติมเพราะสังขารขันธ์ทั้ง ๕๐ อย่างนั้น เป็นบ่อเกิดของพฤติกรรมมนุษย์ตามระดับชั้นของบุคคล 22