SlideShare a Scribd company logo
องค์ประกอบของการสัมมนา
นิรันดร์ จุลทรัพย์ ได้กล่าวไว้ว่าการจัดสัมมนา
แต่ละครั้ง ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำาคัญ ๔ ประการ
ดังนี้
๑. องค์ประกอบด้านเนื้อหา ได้แก่
๑.๑ หัวข้อหรือเรื่องที่จัดสัมมนา
๑.๒ จุดมุ่งหมายสำาคัญของการสัมมนา
๑.๓ หัวข้อให้ความรู้ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่
จัดสัมมนาโดยวิธีการบรรยายหรืออภิปราย
๑.๔ กำาหนดการสัมมนา
๑.๕ ผลที่ได้จากการสัมมนา
๒. องค์ประกอบด้านบุคลากร คือผู้ที่เกี่ยวข้อง
กับการสัมมนา ซึ่งประกอบด้วย
๒.๑ ผู้จัดการสัมมนา ได้แก่ บุคคลหรือ
คณะกรรมการ ซึ่งมีหน้าที่จัดสัมมนาให้บรรลุตามจุดมุ่ง
หมายที่กำาหนดไว้ คณะกรรมการจัดสัมมนาอาจแบ่งออก
เป็นฝ่ายๆ แต่ละฝ่ายมีหน้าที่ดังนี้
๒.๑.๑ คณะกรรมการอำานวยการ
ประกอบด้วยผู้บริหารในหน่วยงานเป็นผู้ทำาหน้าที่อำานวย
การจัดการสัมมนาให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆดังนี้
- กำาหนดนโยบายจัด
สัมมนา
- ตรวจสอบดูแลการดำาเนิน
งานให้เป็นไปตามนโยบายและแก้ปัญหาที่มีความกระทบ
กระเทือนถึงนโยบาย
- ให้คำาปรึกษาแก่คณะ
กรรมการดำาเนินการฝ่ายต่างๆ
๒.๑.๒ คณะกรรมการดำาเนินการจัด
สัมมนา เป็นคณะกรรมการทำาหน้าที่ปฏิบัติการจัดสัมมนา
ให้เป็นไปตามนโยบายซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการฝ่าย
ต่างๆ ดังนี้
๑) ประธานและรองประธานจัด
สัมมนา เป็นผู้ทำาหน้าที่ดำาเนินการจัดสัมมนาร่วมกับคณะ
กรรมการฝ่ายต่างๆ ดังนี้
- วางแผนและดำาเนินการจัดทำา
โครงการสัมมนา
- จัดหาคณะกรรมการและแบ่งคณะ
กรรมการเป็นฝ่ายต่างๆ
- ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่าย
ต่างๆตลอดจนการจัดประชุมคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ
- ตัดสินใจและแก้ปัญหาการดำาเนิน
การให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆรองประธานมีหนน้าที่
ช่วยเหลือตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติหน้าที่แทน
ประธานในกรณีที่ประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หรือ
ลาออก
๒) คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ
ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้
- ดำาเนินงานด้านธุรการทั่วไป
- เตรียมวาระการประชุมร่วมกับ
ประธานในการจัดสัมมนาออกหนังสือเชิญประชุม
กรรมการฝ่ายต่างๆ ในนามประธานจัดสัมมนาและบันทึก
การประชุมพร้อมทั้งอำานวยความสะดวกให้แก่ผู้เข้าประชุม
- บันทึกการบันยายอภิปรายและ
รายงานผลการประชุมกลุ่มย่อยต่อที่ประชุมใหญ่ ในขณะ
สัมมนาและส่งมอบให้แก่ฝ่ายเอกสารเพื่อจัดพิมพ์และเผย
แพร่ต่อไป
- อำานวยความสะดวกต่างๆ ตลอด
โครงการสัมมนา
- ติดต่อประสานงานกับคณะ
กรรมการฝ่ายต่างๆ ตามที่ประธานจัดสัมมนามอบหมาย
2
- จัดทำาหนังสือเชิญวิทยากร หนังสือ
ตอบขอบคุณและหนังสือเชิญแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมในพิธี
เปิดและปิดการสัมมนา
- จัดทำาหนังสือกล่าวรายงานของประธาน
จัดสัมมนาต่อประธานในพิธีเปิดและปิดการสัมมนาและ
หนังสือคำากล่าวเปิดและคำากล่าวปิดของประธานในพิธี
๓) คณะกรรมการฝ่ายทะเบียน
ประกอบด้วย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้
- รวบรวมรายชื่อและจำานวน
สมาชิกที่จะเข้าร่วมสัมมนา
- เตรียมการลงทะเบียน จัดทำา
รายชื่อและป้ายชื่อสมาชิกที่จะเข้าสัมมนา
- รับลงทะเบียน
- สำารวจจำานวนของสมาชิกที่ลง
ทะเบียนจริง และแจกเอกสารสัมมนาโดยประธานงานกับ
ฝ่ายเอกสารฝ่ายเลขานุการ
- แบ่งกลุ่มย่อยผู้เข้าสัมมนาในการ
ประชุมกลุ่มย่อย
๔) คณะกรรมการฝ่ายเอกสาร
ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้
- จัดเตรียมเอกสาร และจัดทำา
แฟ้มการสัมมนา
- ร่วมกับฝ่ายทะเบียน แจก
เอกสารและแฟ้มแก่ผู้เข้าสัมมนาและแขกผู้มีเกียรติ
- ประสานงานกับฝายเลขานุการ
และฝ่ายทะเบียนเกี่ยวกับเอกสารการสัมมนาที่จะต้องนำามา
จัดพิมพ์
- จัดพิมพ์เอกสารสรุปผลการสัมมนา
และเผยแพร่
3
๕) คณะกรรมการฝ่ายเหรัญญิก
ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
กรรมการ กรรมการเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้
- เตรียมเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณและ
ใบสำาคัญทางการเงิน
- จัดเตรียมของที่ระลึกสำาหรับ
วิทยากรและผู้มีอุปการระคุณหรือเงินค่าตอบแทนสำาหรับ
วิทยากร
- ยืมเงินทดรองจ่ายสัมมนา จาก
หน่วยงานเจ้าของโครงการ
- จัดทำาบัญชีเบิกจ่ายเงินและ
วัสดุ ตลอดการสัมมนา
- ติดต่อและประสานงานกับคณะ
กรรมการฝ่ายต่างๆ ในเรื่องการเงินและวัสดุ
- ให้คำาปรึกษาในเรื่องการเงิน
และวัสดุแก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ
- รับเงินค่าลงทะเบียนจากผู้เข้า
สัมมนา และเก็บรักษาเงินด้วยความรอบคอบ
- จัดทำารายงานสรุปผลการใช้
จ่ายเงิน เสนอต่อประธานและที่ประชุมตลอดจนการจัดเก็บ
หลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับการเงิน
๖) คณะกรรมการฝ่ายพิธีการ
ประกอบด้วยประธาน กรรมการรองประธานกรรมการ
กรรมการ กรรมการเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้
ประสานงานกับฝ่ายสถานที่ จัดโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องพิธี
ต่างๆ ในวันเปิดและปิดการสัมมนา
- จัดเตรียมบุคคลจัดส่งเทียนชนวน
ให้ประธานในพิธีเปิด เชิญพานแฟ้มกล่าวรายงานของ
ประธานจัดสัมมนา และประธานในพิธีเปิดและปิดสัมมนา
และเชิญพานของที่ระลึกในพิธีมอบของที่ระลึกแก่วิทยากร
และผู้มีอุปการคุณ
4
- ทำำหน้ำที่เป็นพิธีกร เพื่อเป็นสื่อ
กลำงสำำหรับทุกฝ่ำยตลอดกำรสัมมนำ
- ติดต่อขอประวัติละผลงำนจำก
วิทยำกร
- กำำกับรำยกำรให้เป็นไปตำม
กำำหนดกำรสัมมนำ
๗) คณะกรรมกำรฝ่ำยสถำนที่ และวัสดุ
อุปกรณ์ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร รองประธำน
กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่
ดังนี้
- เตรียมสถำนที่ และวัสดุ
อุปกรณ์ในกำรสัมมนำ
- ประสำนกับฝ่ำยที่เกี่ยวข้องใน
กำรจัดสถำนที่รับลงทะเบียน ห้องประชุมใหญ่ ห้องประชุม
กลุ่มย่อย โต๊ะหมู่บูชำ โต๊ะหรือแท่นบรรยำย(podium)
สำำหรับประธำนในพิธี ประธำนกล่ำวรำยงำนและวิทยำกร
กำรจัดชุมรับแขก กำรจัดสถำนที่รับประทำนอำหำร
- ควบคุมด้ำนแสงเสียง กำรบันทึก
เสียง บันทึกภำพ
- จัดสถำนที่พัก และอำำนวยควำม
สะดวกต่ำงๆ แก่ผู้เข้ำสัมมนำ
๘) คณะกรรมกำรฝ่ำยอำหำรและ
เครื่องดื่ม ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร รองประธำน
กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่
ดังนี้
- ประสำนงำนกับฝ่ำย
เลขำนุกำร และฝ่ำยทะเบียน เรื่อง จำำนวนผู้เข้ำสัมมนำ
วิทยำกรและแขกผู้มีเกียรติ
- ประสำนงำนกับฝ่ำยสถำนที่ เรื่อง
สถำนที่สำำหรับบริกำรอำหำรและเครื่องดื่ม
- เตรียมรำยกำรในเรื่องอำหำรและ
เครื่องดื่ม
5
- จัดบริกำรอำหำรและเครื่องดื่ม
ให้แก่วิทยำกร แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้ำสัมมนำ ตลอด
กำรสัมมนำ
๙) คณะกรรมกำรฝ่ำยประชำสัมพันธ์
ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร
กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำรมีหน้ำที่ดังนี้
- ประชำสัมพันธ์กำรสัมมนำ
โดยผ่ำนทำงสื่อสำรมวลชน โปสเตอร์ แผ่นผ้ำโฆษณำ
หรือส่งเอกสำรถึงผู้สนใจโดยตรง
- ประสำนงำนกับคณะกรรมกำรฝ่ำย
ต่ำงๆ เพื่อนำำข้อมูลมำประชำสัมพันธ์
- ประชำสัมพันธ์เรื่องที่น่ำสนใจ ให้
ผู้เข้ำสัมมนำทรำบในช่วงระหว่ำงกำรสัมมนำ
- จัดกิจกรรมสันทนำกำรหรือสังสรรค์
ในระหว่ำงกำรสัมมนำ (ถ้ำมี)
๑๐) คณะกรรมกำรฝ่ำย
ปฏิคม ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร รองประธำน
กรรมกำร กรรม กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้
- ต้อนรับประธำนในพิธี แขกผู้มี
เกียรติ วิทยำกร และผู้เข้ำสัมมนำ
- อำำนวยควำมสะดวกให้แก่
ประธำนในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยำกรและผู้เข้ำสัมมนำ
- ประสำนงำนกับคณะกรรมกำรฝ่ำย
เลขำนุกำร ฝ่ำยทะเบียน ฝ่ำยสถำนที่ ฝ่ำยยำนพำหนะ
ฝ่ำยอำหำรและเครื่องดื่ม
๑๑) คณะกรรมกำรฝ่ำยยำนพำหนะ
ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร
กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้
- จัดยำนพำหนะและพนักงำน
ขับรถยนต์ เพื่อให้บริกำรแก่ฝ่ำยต่ำงๆ ตั้งแต่ระยะเตรียม
งำนจนเสร็จสิ้นกำรสัมมนำ
6
- จัดให้มีรถสำำรองไว้เป็นประจำำใน
ภำวะฉุกเฉินตลอดกำรสัมมนำ
๑๒) คณะกรรมกำรฝ่ำยพยำบำล
ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร
กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้
- เตรียมวัสดุอุปกรณ์กำรปฐมพยำบำลและ
ยำไว้บริกำรแก่ผู้เข้ำสัมมนำ และผู้จัดกำรสัมมนำตลอด
กำรจัดสัมมนำ
- ประสำนงำนกับฝ่ำยยำนพำหนะ
และฝ่ำยอื่นๆ
๑๓) คณะกรรมกำรฝ่ำยประเมินผล
ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร
กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้
- ออกแบบประเมินผล
- ดำำเนินกำรรวบรวมข้อมูล
- นำำข้อมูลมำวิเครำะห์
- สรุปและรำยงำนผล ต่อคณะ
กรรมกำรดำำเนินกำรและคณะกรรมกำรอำำนวยกำรสัมมนำ
จำำนวนคณะกรรมกำรดำำเนินกำรจัดสัมมนำ
แต่ละฝ่ำยจะมีมำกน้อยเพียงใดนั้นให้พิจำรณำตำมควำม
เหมำะสมของงำน และกำำลังบุคลำกรซึ่งคณะกรรมกำร
บำงคนอำจทำำหน้ำที่หลำยฝ่ำยก็ย่อมเป็นไปได้ ซึ่งกำร
แต่งตั้งให้บุคลำกรให้ปฏิบัติหน้ำที่ในคณะกรรมกำร
ทั้งหมดจะต้องลงนำมคำำสั่งแต่งตั้งโดยผู้บริหำรสูงสุดของ
หน่วยงำนนั้นๆ
๒.๒ วิทยำกร ได้แก่ บุคคลผู้ที่มำให้ควำม
รู้และประสบกำรณ์แก่ผู้เข้ำสัมมนำ โดยทั่วไปวิทยำกรจะ
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญในเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับกำรสัมมนำ และเป็นผู้ที่มีทักษะทำงกำรพูด
หรือกำรบรรยำย ตลอดจนกำรใช้เทคนิคต่ำงๆ ในเรื่อง
นั้นๆ อันจะทำำให้ผู้เข้ำสัมมนำเกิดควำมรู้ควำมเข้ำใจ
7
เจตคติ ควำมชำำนำญ จนสำมำรถที่จะเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมไปตำมวัตถุประสงค์ที่ต้องกำรได้
วิทยำกรถือว่ำเป็นผู้ที่มีบทบำทสำำคัญต่อกำร
สัมมนำให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ที่กำำหนดไว้ แบ่งออก
เป็น ๓ ประเภท คือ
๑) วิทยำกรอำชีพ หมำยถึง บุคลำกรที่
ดำำรงตำำแหน่งเป็นวิทยำกรโดยตรง สังกัดอยู่ในหน่วยงำน
ฝึกอบรมหรืองำนบุคคล วิทยำกรอำชีพเหล่ำนี้จะมีควำมรู้
ทำงด้ำน กำรฝึกอบรม กำรสัมมนำ และเนื้อหำที่จะ
บรรยำยเป็นอย่ำงดี มักจะมีวุฒิทำงกำรศึกษำระดับปริญญำ
โทขึ้นไป วิทยำกรอำชีพนี้จะเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ “วิทยำ
กรภำยใน” เพรำะปฏิบัติหน้ำที่อยู่ภำยในหน่วยงำน
นั้นๆ ซึ่งจะมีควำมรู้ควำมเข้ำใจ ตลอดจนเข้ำใจถึงปัญหำ
ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นภำยในองค์กำรเป็นอย่ำงดี และสำมำรถยก
ตัวอย่ำงประกอบกำรบรรยำยได้อย่ำงชัดเจน แต่อำจจะมี
ปัญหำในเรื่องควำมเลื่อมใสศรัทธำในตัววิทยำกรอยู่บ้ำง
ทั้งนี้เพรำะผู้เข้ำสัมมนำมักรู้จักวิทยำกรหรือบำงคนอำจมี
ควำมคุ้นเคยกันเป็นอย่ำงดี ทำำให้ทรำบภูมิหลังของ
วิทยำกร ดังนั้นวิทยำกรภำยในจึงจำำเป็นต้องรู้จักวำงตัว
ตลอดจนบุคลิกและควำมสำมำรถของวิทยำกรแต่ละคนจะ
ต้องปฏิบัติให้ดีที่สุด
๒) วิทยำกรเฉพำะกิจ หมำยถึง วิทยำกรที่เป็น
บุคลำกรที่มีควำมชำำนำญงำนด้ำนใดด้ำนหนึ่งที่มีตำำแหน่ง
หน้ำที่ตำมสำยงำนนั้นๆ เช่น ควำมชำำนำญทำงด้ำน
คอมพิวเตอร์ ด้ำนตรวจสอบบัญชี ด้ำนกฎหมำย ด้ำน
สำยกำรเงิน ด้ำนสุขภำพ เป็นต้น ข้อดีของวิทยำกร
เฉพำะกิจ คือเป็นผู้ที่มีควำมรู้ควำมชำำนำญเฉพำะในเรื่องที่
บรรยำยเป็นอย่ำงดี และเข้ำใจสภำพที่เป็นปัญหำต่ำงๆ
ภำยในองค์กำรได้ดี แต่ข้อเสียก็มีมำกเช่นเดียวกันก็คือ
อำจจะขำดทักษะบรรยำยหรือกำรถ่ำยทอดควำมรู้ และ
อำจทำำให้งำนประจำำที่ทำำอยู่เสียหำยได้ เพรำะต้องขำด
งำนมำทำำหน้ำที่วิทยำกร นอกจำกนี้กำรนำำเสนอแนวคิด
8
ใหม่ๆ อาจจะน้อยหรือมองปัญหาในมุมแคบ คือจะมุงนำา
เสนองานที่ตนปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำาวัน หรือบางท่านที่
เป็นผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อาวุโสของหน่วยงานมา
บรรยายก็จะออกมาในรูปของคำาสั่ง หรือคำาสั่งสอน หรือ
พูดถึงประวัติในความสำาเร็จของตนมากเกินไป ทำาให้ผิด
วัตถุประสงค์เรื่องที่บรรยาย
๓) วิทยากรรับเชิญ หรือเรียกว่า “วิทยากร
ภายนอก” ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะคือ
(๑) วิทยากรอาชีพที่ยึดอาชีพการเป็นวิทยากร
โดยตรงหลายท่านตั้งเป็นสำานักงานของตนเองขึ้นมาอย่าง
เป็นทางการ
(๒) วิยากรที่มีงานประจำาอาจสังกัดอยู่ในสถาบัน
การศึกษา โรงพยาบาล ส่วนราชการต่างๆ บริษัทห้าง
ร้านหรือประกอบธุรกิจส่วนตัว ซึ่งมีตำาแหน่งหน้าที่การงาน
เป็นหลักอยู่แล้ว แต่มีความรู้ความสามารถและ
ประสบการณ์การเป็นวิทยากรที่ดี จึงมักได้รับเชิญให้ไป
เป็นวิทยากรให้แก่หน่วยงานต่างๆ ตลลอดเวลา การ
ติดต่อกับวิทยากรที่มีงานประจำาทำาอยู่นี้ อาจตามตัวได้
ยากหรือมีปัญหาเรื่องเวลาเพราะแต่ละท่านมีภารกิจต้อง
ปฏิบัติหน้าที่ในงานประจำาที่ตนทำาอยู่ ซึ่งการที่วิทยากร
ลักษณะนี้จะออกไปเป็นวิทยาให้แก่หน่วยงานภายนอก จะ
ต้องได้รับการอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อน ถ้าผู้บังคับ
บัญชาเข้าใจ และให้การสนับสนุนก็จะเป็นผลดีต่อสังคม
โดยส่วนรวมแต่บางหน่วยงานผู้บังคับบัญชาไม่เห็นความ
สำาคัญหรือไม่อนุญาต วิทยากรเหล่านี้ก็ไม่สามารถออกไป
รับใช้สังคมได้
การเชิญวิทยากรรับเชิญหรือวิทยากรภายนอก
ร่วมให้ความรู้ในการสัมมนามีข้อดีข้อเสียหลายประการ
ข้อดีคือมักจะได้รับการยอมรับ เลื่อมใส ศรัทธาจากผู้เข้า
สัมมนา โดยเฉพาะวิทยากรที่มีชื่อเสียงหรือมาจากสถาน
ศึกษาหรือหน่วยงานระดับแนวหน้าก็จะได้รับการยอมรับ
เชื่อถือศรัทธามากขึ้น นอกจากนี้การนำาเสนอข้อคิดจาก
9
วิทยากรภายนอกจะมีความเป็นกลางไม่อคติต่อคนใดคน
หนึ่งหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง โดยเฉพาะภายในองค์กร
สำาหรับข้อเสียมีหลายประการ เช่น วิทยากรอาจไม่ทราบ
วัตถุประสงค์ของการจัดสัมมนาในเรื่องนั้น ๆ อย่าง
แท้จริง ตัวอย่างไม่ชัดเจนหรือไม่ตรงกับปัญหาที่แท้จริง
และบางครั้งวิทยากรอาจได้รับเชิญมาพูดในเรื่องที่เขาไม่
ถนัด แต่ที่ได้รับเชิญเพราะฝ่ายผู้จัดสัมมนาพิจารณาในแง่
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้และมีชื่อเสียงโด่งดัง
ของวิทยากรเท่านั้น
วิทยากรทั้ง ๓ ประเภทตามที่กล่าวมาข้างต้นต่างมี
ข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน ดังนั้นผู้จัดการสัมมนา
สามารถพิจารณาเปรียบกันได้ แต่ที่สำาคัญสุดไม่ว่าจะเป็น
วิทยากรที่อยู่ในประเภทใด จำาเป็นต้องเป็นผู้มีคุณลักษณะ
ที่ดี ดังต่อไปนี้
๑) เป็นผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับหัวข้อการสัมมนาเป็นอย่างดี
๒) เป็นผู้ที่มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้
ผู้อื่น ๆเข้าใจได้ดี
๓) เป็นผู้ที่มีความคิดก้าวไกล ทันสมัยและใจกว้าง
๔) เป็นผู้ที่มีเหตุผล มีความสามารถในการควบคุม
อารมณ์ได้ดี
๕) เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
๖) เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกว้างขวางในสังคม
หรือแวดวงวิชาชีพ
๒.๓ สมาชิกผู้เข้าสัมมนา ผู้เข้าสัมมนาส่วน
ใหญ่มักเป็นบุคคลที่มีความสนใจร่วมกัน ประสบปัญหา
ร่วมกันหรือต้องการแสดงความคิดเห็นใหม่ร่วมกัน และ
ที่ประสงค์ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถ่ายทอดความรู้
และหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ผู้เข้าสัมมนาส่วนใหญ่
มักเป็นผู้ปฏิบัติงานอยู่ในหน่วยงานต่างๆ ดังนั้นการ
กำาหนดตัวบุคคลส่งเข้าร่วมสัมมนาหน่วยงานต่างๆ สามาร
ถพิจารณาได้หลายรูปแบบ ดังนี้
10
๑) พิจารณาตามสายบังคับบัญชาเป็นการ
พิจารณาบุคคลที่ส่งเข้าร่วมการสัมมนาตั้งแต่ ระดับสาย
ปฏิบัติการ ผู้บริหารระดับต้นหรือหัวหน้างาน ผู้บริหาร
ระดับกลางหัวหน้าฝ่ายและผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อำานวย
การขึ้นไป ซึ่งในแต่ละระดับควรจัดส่งให้เข้ารับการ
สัมมนาในแต่ละหลักสูตรอย่างทั่วถึง
๒) พิจารณาตามนโยบายและความเหมาะสม
ของบุคลากร กำาหนดตัวผู้เข้าร่วมสัมมนาลักษณะนี้ขึ้นอยู่
กับนโยบายของหน่วยงานเป็นสำาคัญ ตลอดจนลักษณะ
งานที่บุคลากรปฏิบัติอยู่ กล่าว คือถ้าหน่ายงานมีนโยบาย
ขยายงานหรือพัฒนางานทางด้านคอมพิวเตอร์การกำาหนด
ตัว ผู้มีความเหมาะสมที่ปฏิบัติงานด้านนี้ก็จะถูกส่งเข้าร่วม
การสัมมนาในหลัก สูตรทางด้านโดยเฉพาะ นอกจากนี้
การกำาหนดตัวผู้ที่มีความเหมาะสมในงานเข้าร่วมสัมมนา
อาจมองลึกลงไปถึงการที่ส่งเข้าไปร่วมสัมมนาแล้ว จะต้อง
กลับมาถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่บุคลากรอื่น
ที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาได้ด้วย ค่าพาหนะสำาหรับ
วิทยากร ค่าอาหารและค่าเครื่องดื่ม ค่าจัดวัสดุจัดทำา
เอกสาร ค่าดอกไม้ธูปเทียนในพิธีเปิด-ปิดการสัมมนา ค่า
ฟิล์มบันทึกภาพพร้อมค่าล้างอัดเป็นต้น
๓) พิจารณาตามปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ด้วย
การสัมมนา ในกรณีภายในหน่วยงานเกิดปัญหาเกี่ยวกับ
การบริหารภายใน เช่น การขาดความร่วมมือประสาน
งานกัน การขาดความเข้าใจซึ่งกันและกันหรือเกิดปัญหา
บางอย่างสามารถแก้ไขด้วยการสัมมนาก็จะกำาหนดตัว ผู้
เข้าสัมมนาในกลุ่มนั้นๆ เพื่อจะได้เปิดโอกาสให้นำาข้อคิด
หรือเทคนิคต่างๆ ที่ได้รับจากการสัมมนามาช่วยแก้ปัญหา
นั้นๆ ให้น้อยลงหรือหมอสิ้นไป
๔) กำาหนดโดยตัวผู้สนใจที่จะเข้ารวมการ
สัมมนา บางครั้งการสัมมนาอาจจะมีหลักสูตรพิเศษที่ทุกคน
สามารถที่จะเข้าร่วมได้ เช่น หลักสูตรการพัฒนา
บุคลิกภาพการสร้างสัมพันธภาพในหน่วยงาน เป็นต้น
11
ในกรณีเช่นนี้การกำาหนดตัวผู้เข้าสัมมนาจึงขึ้นอยู่กับความ
สนใจหรือความปรารถนาส่วนบุคคลของแต่ละคนเป็น
สำาคัญ
๓. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ
ประมาณ สถานที่อุปกรณ์ต่างๆ ที่จำาเป็นในการสัมมนา
ได้แก่
๓.๑ ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้อง
ประชุมรวมที่ใช้พิธีเปิด-ปิดการสัมมนาและใช้การบรรยาย
หรือภิปรายร่วมกัน ผู้จัดสัมมนาจะต้องกำาหนดให้แน่นอน
ว่าจะใช้ห้องใดที่เหมาะสมและเพียงพอแก่จำานวนผู้เข้า
สัมมนา
๓.๒ ห้องประชุมกลุ่มย่อย สำาหรับใช้
ประชุมกลุ่มย่อยของผู้เข้าสัมมนาผู้จัดสัมมนาจะต้องวัดไว้
ให้เพียงพอแก่จำานวนกลุ่มย่อยที่จัดแบ่งไว้ และต้องแจ้ง
ห้องประชุมให้ผู้เข้าสัมมนาได้ทราบอย่างชัดเจน
๓.๓ อุปกรณ์ด้านโสตทัศนศึกษา ได้แก่ เครื่อง
ขยายเสียง ไมโครโฟน
ลำาโพง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เทปบันทึกเสียง
วีดีทัศน์ และอุปกรณ์ด้านแสง-เสียง อื่น ๆ ที่จำาเป็นต้อง
ใช้
๓.๔ เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องโรเนียว หรือ
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และวัสดุที่จำาเป็น
ในการจัดทำาเอกสารประกอบคำาบรรยาย
๓.๕ อุปกรณ์อื่นๆ เช่น ปากกาเขียนแผ่นใส
ไวท์บอร์ด หรือกระดานดำาเป็นต้น
๓.๖ เอกสารประกอบคำาบรรยายของวิทยากร
ซึ่งโดยทั่วไปวิทยากรมักจะส่งไปให้ผู้จัดสัมมนาล่วงหน้า
หรืออาจจะนำามาในวันสัมมนา ซึ่งผู้จัดจะต้องถ่ายเอกสาร
แจกให้ผู้เข้าสัมมนา แต่ในกรณีที่วิทยากรไม่ได้ส่งให้ล่วง
หน้า หรือไม่ได้จัดเตรียมมาให้ในวันสัมมนา ฝ่ายสัมมนา
ก็ควรทำาเอกสารสรุปคำาบรรยายแจกให้ผู้เข้าสัมมนาหลัง
การบรรยายหรืออภิปรายเสร็จสิ้นลง
12
๓.๗ งบประมาณ ในการสัมมนาแต่ละโครงการ
ต้องใช้งบประมาณมากพอสมควรทั้งนี้มักขึ้นอยู่กับจำานวน
ผู้เข้าร่วมสัมมนา ระยะเวลาและสถานที่จัดสัมมนาเป็น
สำาคัญที่มาของงบประมาณดำาเนินการมักได้มาจากแหล่ง
ต่าง ๆ ๓ แหล่งด้วยกันคือ ค่าลงทะเบียนของสมาชิกเข้า
ร่วมสัมมนาเงินหนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด และเงิน
อุดหนุนจากภายนอก เช่น บุคคล บริษัท ห้างร้าน
สมาคม มูลนิธิ เป็นต้นสำาหรับค่าใช้จ่ายในการจัด
สัมมนา โดยทั่วไปจะจ่ายเป็น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่า
พาหนะสำาหรับวิทยากร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าวัสดุ
จัดทำาเอกสาร ค่าดอกไม้ธูปเทียนในพิธีเปิด – ปิด การ
สัมมนา ค่าฟิล์มบันทึกภาพพร้อมค่าล้างอัด เป็นต้น
๔. องค์ประกอบด้านเวลา การกำาหนดเวลา
สำาหรับการสัมมนาจะมากน้อยพียงใดขึ้นอยู่กับหัวข้อหรือ
เรื่องที่จัดสัมมนาเป็นสำาคัญ บางเรื่องมีขอบเขตกว้างขวาง
แต่ใช้เวลาน้อย ก็จะทำาให้การอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ไม่ครอบคลุมตามเรื่องที่สัมมนาเท่าที่ควร หรือบางเรื่องมี
ขอบเขตแคบเป็นเรื่องเฉพาะเจาะจงด้านใดด้านหนึ่งโดย
เฉพาะแต่ใช้เวลายาวนานก็จะทำาให้ผู้เข้าสัมมนาเบื่อหน่าย
ไม่สนใจเท่าที่ควรและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่คุ้มกับ
สาระที่ได้รับ และเมื่อมีเวลาเหลือมากอาจทำาให้สมาชิก
อภิปรายแสดงความคิดเห็นต่างๆ ขยายวงกว้างออกไปจน
ไม่สามารถควบคุมได้ หรือเรื่องที่นำามาอภิปรายไม่
เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นำามาสัมมนาเลย การสัมมนาโดย
ทั่วไปจะใช้เวลา ๒-๕ วัน ซึ่งถือว่าเป็นระยะเวลาที่เหมาะ
สม
นอกจากนี้ สมพร ปันตระสูตร ได้ กล่าว
ถึงองค์ประกอบของการสัมมนาว่าในการจัดการสัมมนา
แต่ละครั้งนั้นจะต้องมี องค์ประกอบสำาคัญเพื่อให้การ
สัมมนาเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ องค์ประกอบที่สำาคัญ
มี ๔ องค์ประกอบ ได้แก่
13
๑. องค์ประกอบด้านเนื้อหา เป็นองค์
ประกอบที่สำาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะสามารถนำามาสัมมนา
บรรลุผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ ส่วนประกอบสำาคัญ คือ
๑.๑ จุดมุ่งหมายของการสัมมนา ซึ่งจะ
ต้องกำาหนดให้แน่นอนว่าการสัมมนาครั้งนั้นมีจุดมุ่งหมาย
อย่างไร
- เพื่อแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง
- เพื่อการเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน
- เพื่อหาแนวทางปฏิบัติ หรือ กำาหนดนโยบาย
อย่างใดอย่างหนึ่ง
๑.๒ หัวข้อในรูปแบบการบรรยายหรือการ
อภิปราย
๑.๓ หัวข้อในการสัมมนา
๑.๔ กำาหนดการต่าง ๆ ในการสัมมนา ตลอด
จน ระบบ ระเบียบ วิธีการสัมมนา
๑.๕ ผลของการสัมมนา
๒. องค์ประกอบด้านบุคลากร หมายถึง คณะ
บุคคลที่จะเป็นผู้ดำาเนินการสัมมนาส่วนหนึ่ง และผู้เข้าร่วม
สัมมนาอีกส่วนหนึ่ง ประกอบด้วย
๒.๑ คณะกรรมการเตรียมการและดำาเนิน
การสัมมนา
๒.๒ คณะกรรมการจัดการสัมมนา (อาจจะ
เป็นชุดเดียวกับ ๒.๑ ก็ได้)
๒.๓ คณะวิทยากร ผู้ให้ความรู้เสริมใน
การสัมมนา
๒.๔ สมาชิกผู้เข้าร่วมสัมมนา
๒.๕ เจ้าหน้าที่ที่จำาเป็นนอกเหนือจากคณะ
กรรมการ เช่น ฝ่ายอาคารสถานที่ ฝ่ายธุรการ ฝ่าย
เอกสาร ฯลฯ
๓. องค์ประกอบด้านอุปกรณ์ อุปกรณ์หลาย
อย่างเป็นความจำาเป็นที่จะช่วยให้การสัมมนาบรรลุผลได้
เป็นอย่างดี อุปกรณ์ที่จำาเป็นควรประกอบด้วย
14

More Related Content

What's hot

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
Se4.Pptบทบาทหน้าที่
Se4.Pptบทบาทหน้าที่Se4.Pptบทบาทหน้าที่
Se4.Pptบทบาทหน้าที่
sopida
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
Earn Supeerapat
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
JiruttiPommeChuaikho
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
Totsaporn Inthanin
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
wisheskerdsilp
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
Chainarong Maharak
 
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบสื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
Suradet Sriangkoon
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
pupphawittayacom
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 

What's hot (20)

Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
Se4.Pptบทบาทหน้าที่
Se4.Pptบทบาทหน้าที่Se4.Pptบทบาทหน้าที่
Se4.Pptบทบาทหน้าที่
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบสื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
สื่อสารกันด้วยหมวก 6 ใบ
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 

Similar to องค์ประกอบของการสัมมนา๒

Lesson2 the purpose of the seminar
Lesson2  the purpose of the seminarLesson2  the purpose of the seminar
Lesson2 the purpose of the seminar
boonlua12040337
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfSuphol Sutthiyutthasenee
 
Seminar1
Seminar1Seminar1
Seminar1
Kanoomchan Chan
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาAom Sinlapawiwat
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาAom Sinlapawiwat
 
สัมมนาการจัดการ2
สัมมนาการจัดการ2สัมมนาการจัดการ2
สัมมนาการจัดการ2
Ton ครับผม
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกSomchart Phaeumnart
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
wanichaya kingchaikerd
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
สัมมนาการจัดการ
สัมมนาการจัดการสัมมนาการจัดการ
สัมมนาการจัดการ
Ton ครับผม
 
สัมมนาการจัดการ1
สัมมนาการจัดการ1สัมมนาการจัดการ1
สัมมนาการจัดการ1
Ton ครับผม
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
Ford Rpj
 
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนาผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
Ativitt Crystalbell
 

Similar to องค์ประกอบของการสัมมนา๒ (20)

Lesson2 the purpose of the seminar
Lesson2  the purpose of the seminarLesson2  the purpose of the seminar
Lesson2 the purpose of the seminar
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
Seminar1
Seminar1Seminar1
Seminar1
 
ฟอร์มนำเสนอ Present
ฟอร์มนำเสนอ Presentฟอร์มนำเสนอ Present
ฟอร์มนำเสนอ Present
 
ฟอร์มนำเสนอ Present
ฟอร์มนำเสนอ Presentฟอร์มนำเสนอ Present
ฟอร์มนำเสนอ Present
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
 
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนาความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา
 
สัมมนาการจัดการ2
สัมมนาการจัดการ2สัมมนาการจัดการ2
สัมมนาการจัดการ2
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
 
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
07 เสนอจัดตังศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาสพป.สพม. เป็นการภายใน
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.1การนำเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สัมมนาการจัดการ
สัมมนาการจัดการสัมมนาการจัดการ
สัมมนาการจัดการ
 
สัมมนาการจัดการ1
สัมมนาการจัดการ1สัมมนาการจัดการ1
สัมมนาการจัดการ1
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
 
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนาผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
ผลวิเคราะห์การจัดประชุมสัมมนา
 
การบริหารโครงการฝึกอบรม Ppt
การบริหารโครงการฝึกอบรม Pptการบริหารโครงการฝึกอบรม Ppt
การบริหารโครงการฝึกอบรม Ppt
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
K3
K3K3
K3
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

องค์ประกอบของการสัมมนา๒

  • 1. องค์ประกอบของการสัมมนา นิรันดร์ จุลทรัพย์ ได้กล่าวไว้ว่าการจัดสัมมนา แต่ละครั้ง ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำาคัญ ๔ ประการ ดังนี้ ๑. องค์ประกอบด้านเนื้อหา ได้แก่ ๑.๑ หัวข้อหรือเรื่องที่จัดสัมมนา ๑.๒ จุดมุ่งหมายสำาคัญของการสัมมนา ๑.๓ หัวข้อให้ความรู้ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่ จัดสัมมนาโดยวิธีการบรรยายหรืออภิปราย ๑.๔ กำาหนดการสัมมนา ๑.๕ ผลที่ได้จากการสัมมนา ๒. องค์ประกอบด้านบุคลากร คือผู้ที่เกี่ยวข้อง กับการสัมมนา ซึ่งประกอบด้วย ๒.๑ ผู้จัดการสัมมนา ได้แก่ บุคคลหรือ คณะกรรมการ ซึ่งมีหน้าที่จัดสัมมนาให้บรรลุตามจุดมุ่ง หมายที่กำาหนดไว้ คณะกรรมการจัดสัมมนาอาจแบ่งออก เป็นฝ่ายๆ แต่ละฝ่ายมีหน้าที่ดังนี้ ๒.๑.๑ คณะกรรมการอำานวยการ ประกอบด้วยผู้บริหารในหน่วยงานเป็นผู้ทำาหน้าที่อำานวย การจัดการสัมมนาให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆดังนี้ - กำาหนดนโยบายจัด สัมมนา - ตรวจสอบดูแลการดำาเนิน งานให้เป็นไปตามนโยบายและแก้ปัญหาที่มีความกระทบ กระเทือนถึงนโยบาย - ให้คำาปรึกษาแก่คณะ กรรมการดำาเนินการฝ่ายต่างๆ ๒.๑.๒ คณะกรรมการดำาเนินการจัด สัมมนา เป็นคณะกรรมการทำาหน้าที่ปฏิบัติการจัดสัมมนา
  • 2. ให้เป็นไปตามนโยบายซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการฝ่าย ต่างๆ ดังนี้ ๑) ประธานและรองประธานจัด สัมมนา เป็นผู้ทำาหน้าที่ดำาเนินการจัดสัมมนาร่วมกับคณะ กรรมการฝ่ายต่างๆ ดังนี้ - วางแผนและดำาเนินการจัดทำา โครงการสัมมนา - จัดหาคณะกรรมการและแบ่งคณะ กรรมการเป็นฝ่ายต่างๆ - ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่าย ต่างๆตลอดจนการจัดประชุมคณะกรรมการฝ่ายต่างๆ - ตัดสินใจและแก้ปัญหาการดำาเนิน การให้แก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆรองประธานมีหนน้าที่ ช่วยเหลือตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติหน้าที่แทน ประธานในกรณีที่ประธานไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้หรือ ลาออก ๒) คณะกรรมการฝ่ายเลขานุการ ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - ดำาเนินงานด้านธุรการทั่วไป - เตรียมวาระการประชุมร่วมกับ ประธานในการจัดสัมมนาออกหนังสือเชิญประชุม กรรมการฝ่ายต่างๆ ในนามประธานจัดสัมมนาและบันทึก การประชุมพร้อมทั้งอำานวยความสะดวกให้แก่ผู้เข้าประชุม - บันทึกการบันยายอภิปรายและ รายงานผลการประชุมกลุ่มย่อยต่อที่ประชุมใหญ่ ในขณะ สัมมนาและส่งมอบให้แก่ฝ่ายเอกสารเพื่อจัดพิมพ์และเผย แพร่ต่อไป - อำานวยความสะดวกต่างๆ ตลอด โครงการสัมมนา - ติดต่อประสานงานกับคณะ กรรมการฝ่ายต่างๆ ตามที่ประธานจัดสัมมนามอบหมาย 2
  • 3. - จัดทำาหนังสือเชิญวิทยากร หนังสือ ตอบขอบคุณและหนังสือเชิญแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมในพิธี เปิดและปิดการสัมมนา - จัดทำาหนังสือกล่าวรายงานของประธาน จัดสัมมนาต่อประธานในพิธีเปิดและปิดการสัมมนาและ หนังสือคำากล่าวเปิดและคำากล่าวปิดของประธานในพิธี ๓) คณะกรรมการฝ่ายทะเบียน ประกอบด้วย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - รวบรวมรายชื่อและจำานวน สมาชิกที่จะเข้าร่วมสัมมนา - เตรียมการลงทะเบียน จัดทำา รายชื่อและป้ายชื่อสมาชิกที่จะเข้าสัมมนา - รับลงทะเบียน - สำารวจจำานวนของสมาชิกที่ลง ทะเบียนจริง และแจกเอกสารสัมมนาโดยประธานงานกับ ฝ่ายเอกสารฝ่ายเลขานุการ - แบ่งกลุ่มย่อยผู้เข้าสัมมนาในการ ประชุมกลุ่มย่อย ๔) คณะกรรมการฝ่ายเอกสาร ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - จัดเตรียมเอกสาร และจัดทำา แฟ้มการสัมมนา - ร่วมกับฝ่ายทะเบียน แจก เอกสารและแฟ้มแก่ผู้เข้าสัมมนาและแขกผู้มีเกียรติ - ประสานงานกับฝายเลขานุการ และฝ่ายทะเบียนเกี่ยวกับเอกสารการสัมมนาที่จะต้องนำามา จัดพิมพ์ - จัดพิมพ์เอกสารสรุปผลการสัมมนา และเผยแพร่ 3
  • 4. ๕) คณะกรรมการฝ่ายเหรัญญิก ประกอบด้วยประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ - เตรียมเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณและ ใบสำาคัญทางการเงิน - จัดเตรียมของที่ระลึกสำาหรับ วิทยากรและผู้มีอุปการระคุณหรือเงินค่าตอบแทนสำาหรับ วิทยากร - ยืมเงินทดรองจ่ายสัมมนา จาก หน่วยงานเจ้าของโครงการ - จัดทำาบัญชีเบิกจ่ายเงินและ วัสดุ ตลอดการสัมมนา - ติดต่อและประสานงานกับคณะ กรรมการฝ่ายต่างๆ ในเรื่องการเงินและวัสดุ - ให้คำาปรึกษาในเรื่องการเงิน และวัสดุแก่คณะกรรมการฝ่ายต่างๆ - รับเงินค่าลงทะเบียนจากผู้เข้า สัมมนา และเก็บรักษาเงินด้วยความรอบคอบ - จัดทำารายงานสรุปผลการใช้ จ่ายเงิน เสนอต่อประธานและที่ประชุมตลอดจนการจัดเก็บ หลักฐานต่างๆ เกี่ยวกับการเงิน ๖) คณะกรรมการฝ่ายพิธีการ ประกอบด้วยประธาน กรรมการรองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการเลขานุการ มีหน้าที่ดังนี้ ประสานงานกับฝ่ายสถานที่ จัดโต๊ะหมู่บูชาและเครื่องพิธี ต่างๆ ในวันเปิดและปิดการสัมมนา - จัดเตรียมบุคคลจัดส่งเทียนชนวน ให้ประธานในพิธีเปิด เชิญพานแฟ้มกล่าวรายงานของ ประธานจัดสัมมนา และประธานในพิธีเปิดและปิดสัมมนา และเชิญพานของที่ระลึกในพิธีมอบของที่ระลึกแก่วิทยากร และผู้มีอุปการคุณ 4
  • 5. - ทำำหน้ำที่เป็นพิธีกร เพื่อเป็นสื่อ กลำงสำำหรับทุกฝ่ำยตลอดกำรสัมมนำ - ติดต่อขอประวัติละผลงำนจำก วิทยำกร - กำำกับรำยกำรให้เป็นไปตำม กำำหนดกำรสัมมนำ ๗) คณะกรรมกำรฝ่ำยสถำนที่ และวัสดุ อุปกรณ์ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร รองประธำน กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ ดังนี้ - เตรียมสถำนที่ และวัสดุ อุปกรณ์ในกำรสัมมนำ - ประสำนกับฝ่ำยที่เกี่ยวข้องใน กำรจัดสถำนที่รับลงทะเบียน ห้องประชุมใหญ่ ห้องประชุม กลุ่มย่อย โต๊ะหมู่บูชำ โต๊ะหรือแท่นบรรยำย(podium) สำำหรับประธำนในพิธี ประธำนกล่ำวรำยงำนและวิทยำกร กำรจัดชุมรับแขก กำรจัดสถำนที่รับประทำนอำหำร - ควบคุมด้ำนแสงเสียง กำรบันทึก เสียง บันทึกภำพ - จัดสถำนที่พัก และอำำนวยควำม สะดวกต่ำงๆ แก่ผู้เข้ำสัมมนำ ๘) คณะกรรมกำรฝ่ำยอำหำรและ เครื่องดื่ม ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร รองประธำน กรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ ดังนี้ - ประสำนงำนกับฝ่ำย เลขำนุกำร และฝ่ำยทะเบียน เรื่อง จำำนวนผู้เข้ำสัมมนำ วิทยำกรและแขกผู้มีเกียรติ - ประสำนงำนกับฝ่ำยสถำนที่ เรื่อง สถำนที่สำำหรับบริกำรอำหำรและเครื่องดื่ม - เตรียมรำยกำรในเรื่องอำหำรและ เครื่องดื่ม 5
  • 6. - จัดบริกำรอำหำรและเครื่องดื่ม ให้แก่วิทยำกร แขกผู้มีเกียรติ และผู้เข้ำสัมมนำ ตลอด กำรสัมมนำ ๙) คณะกรรมกำรฝ่ำยประชำสัมพันธ์ ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำรมีหน้ำที่ดังนี้ - ประชำสัมพันธ์กำรสัมมนำ โดยผ่ำนทำงสื่อสำรมวลชน โปสเตอร์ แผ่นผ้ำโฆษณำ หรือส่งเอกสำรถึงผู้สนใจโดยตรง - ประสำนงำนกับคณะกรรมกำรฝ่ำย ต่ำงๆ เพื่อนำำข้อมูลมำประชำสัมพันธ์ - ประชำสัมพันธ์เรื่องที่น่ำสนใจ ให้ ผู้เข้ำสัมมนำทรำบในช่วงระหว่ำงกำรสัมมนำ - จัดกิจกรรมสันทนำกำรหรือสังสรรค์ ในระหว่ำงกำรสัมมนำ (ถ้ำมี) ๑๐) คณะกรรมกำรฝ่ำย ปฏิคม ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร รองประธำน กรรมกำร กรรม กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้ - ต้อนรับประธำนในพิธี แขกผู้มี เกียรติ วิทยำกร และผู้เข้ำสัมมนำ - อำำนวยควำมสะดวกให้แก่ ประธำนในพิธี แขกผู้มีเกียรติ วิทยำกรและผู้เข้ำสัมมนำ - ประสำนงำนกับคณะกรรมกำรฝ่ำย เลขำนุกำร ฝ่ำยทะเบียน ฝ่ำยสถำนที่ ฝ่ำยยำนพำหนะ ฝ่ำยอำหำรและเครื่องดื่ม ๑๑) คณะกรรมกำรฝ่ำยยำนพำหนะ ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้ - จัดยำนพำหนะและพนักงำน ขับรถยนต์ เพื่อให้บริกำรแก่ฝ่ำยต่ำงๆ ตั้งแต่ระยะเตรียม งำนจนเสร็จสิ้นกำรสัมมนำ 6
  • 7. - จัดให้มีรถสำำรองไว้เป็นประจำำใน ภำวะฉุกเฉินตลอดกำรสัมมนำ ๑๒) คณะกรรมกำรฝ่ำยพยำบำล ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้ - เตรียมวัสดุอุปกรณ์กำรปฐมพยำบำลและ ยำไว้บริกำรแก่ผู้เข้ำสัมมนำ และผู้จัดกำรสัมมนำตลอด กำรจัดสัมมนำ - ประสำนงำนกับฝ่ำยยำนพำหนะ และฝ่ำยอื่นๆ ๑๓) คณะกรรมกำรฝ่ำยประเมินผล ประกอบด้วย ประธำนกรรมกำร รองประธำนกรรมกำร กรรมกำร กรรมกำรและเลขำนุกำร มีหน้ำที่ดังนี้ - ออกแบบประเมินผล - ดำำเนินกำรรวบรวมข้อมูล - นำำข้อมูลมำวิเครำะห์ - สรุปและรำยงำนผล ต่อคณะ กรรมกำรดำำเนินกำรและคณะกรรมกำรอำำนวยกำรสัมมนำ จำำนวนคณะกรรมกำรดำำเนินกำรจัดสัมมนำ แต่ละฝ่ำยจะมีมำกน้อยเพียงใดนั้นให้พิจำรณำตำมควำม เหมำะสมของงำน และกำำลังบุคลำกรซึ่งคณะกรรมกำร บำงคนอำจทำำหน้ำที่หลำยฝ่ำยก็ย่อมเป็นไปได้ ซึ่งกำร แต่งตั้งให้บุคลำกรให้ปฏิบัติหน้ำที่ในคณะกรรมกำร ทั้งหมดจะต้องลงนำมคำำสั่งแต่งตั้งโดยผู้บริหำรสูงสุดของ หน่วยงำนนั้นๆ ๒.๒ วิทยำกร ได้แก่ บุคคลผู้ที่มำให้ควำม รู้และประสบกำรณ์แก่ผู้เข้ำสัมมนำ โดยทั่วไปวิทยำกรจะ เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญในเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับกำรสัมมนำ และเป็นผู้ที่มีทักษะทำงกำรพูด หรือกำรบรรยำย ตลอดจนกำรใช้เทคนิคต่ำงๆ ในเรื่อง นั้นๆ อันจะทำำให้ผู้เข้ำสัมมนำเกิดควำมรู้ควำมเข้ำใจ 7
  • 8. เจตคติ ควำมชำำนำญ จนสำมำรถที่จะเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตำมวัตถุประสงค์ที่ต้องกำรได้ วิทยำกรถือว่ำเป็นผู้ที่มีบทบำทสำำคัญต่อกำร สัมมนำให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ที่กำำหนดไว้ แบ่งออก เป็น ๓ ประเภท คือ ๑) วิทยำกรอำชีพ หมำยถึง บุคลำกรที่ ดำำรงตำำแหน่งเป็นวิทยำกรโดยตรง สังกัดอยู่ในหน่วยงำน ฝึกอบรมหรืองำนบุคคล วิทยำกรอำชีพเหล่ำนี้จะมีควำมรู้ ทำงด้ำน กำรฝึกอบรม กำรสัมมนำ และเนื้อหำที่จะ บรรยำยเป็นอย่ำงดี มักจะมีวุฒิทำงกำรศึกษำระดับปริญญำ โทขึ้นไป วิทยำกรอำชีพนี้จะเรียกอีกอย่ำงหนึ่งว่ำ “วิทยำ กรภำยใน” เพรำะปฏิบัติหน้ำที่อยู่ภำยในหน่วยงำน นั้นๆ ซึ่งจะมีควำมรู้ควำมเข้ำใจ ตลอดจนเข้ำใจถึงปัญหำ ต่ำงๆ ที่เกิดขึ้นภำยในองค์กำรเป็นอย่ำงดี และสำมำรถยก ตัวอย่ำงประกอบกำรบรรยำยได้อย่ำงชัดเจน แต่อำจจะมี ปัญหำในเรื่องควำมเลื่อมใสศรัทธำในตัววิทยำกรอยู่บ้ำง ทั้งนี้เพรำะผู้เข้ำสัมมนำมักรู้จักวิทยำกรหรือบำงคนอำจมี ควำมคุ้นเคยกันเป็นอย่ำงดี ทำำให้ทรำบภูมิหลังของ วิทยำกร ดังนั้นวิทยำกรภำยในจึงจำำเป็นต้องรู้จักวำงตัว ตลอดจนบุคลิกและควำมสำมำรถของวิทยำกรแต่ละคนจะ ต้องปฏิบัติให้ดีที่สุด ๒) วิทยำกรเฉพำะกิจ หมำยถึง วิทยำกรที่เป็น บุคลำกรที่มีควำมชำำนำญงำนด้ำนใดด้ำนหนึ่งที่มีตำำแหน่ง หน้ำที่ตำมสำยงำนนั้นๆ เช่น ควำมชำำนำญทำงด้ำน คอมพิวเตอร์ ด้ำนตรวจสอบบัญชี ด้ำนกฎหมำย ด้ำน สำยกำรเงิน ด้ำนสุขภำพ เป็นต้น ข้อดีของวิทยำกร เฉพำะกิจ คือเป็นผู้ที่มีควำมรู้ควำมชำำนำญเฉพำะในเรื่องที่ บรรยำยเป็นอย่ำงดี และเข้ำใจสภำพที่เป็นปัญหำต่ำงๆ ภำยในองค์กำรได้ดี แต่ข้อเสียก็มีมำกเช่นเดียวกันก็คือ อำจจะขำดทักษะบรรยำยหรือกำรถ่ำยทอดควำมรู้ และ อำจทำำให้งำนประจำำที่ทำำอยู่เสียหำยได้ เพรำะต้องขำด งำนมำทำำหน้ำที่วิทยำกร นอกจำกนี้กำรนำำเสนอแนวคิด 8
  • 9. ใหม่ๆ อาจจะน้อยหรือมองปัญหาในมุมแคบ คือจะมุงนำา เสนองานที่ตนปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำาวัน หรือบางท่านที่ เป็นผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อาวุโสของหน่วยงานมา บรรยายก็จะออกมาในรูปของคำาสั่ง หรือคำาสั่งสอน หรือ พูดถึงประวัติในความสำาเร็จของตนมากเกินไป ทำาให้ผิด วัตถุประสงค์เรื่องที่บรรยาย ๓) วิทยากรรับเชิญ หรือเรียกว่า “วิทยากร ภายนอก” ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ ลักษณะคือ (๑) วิทยากรอาชีพที่ยึดอาชีพการเป็นวิทยากร โดยตรงหลายท่านตั้งเป็นสำานักงานของตนเองขึ้นมาอย่าง เป็นทางการ (๒) วิยากรที่มีงานประจำาอาจสังกัดอยู่ในสถาบัน การศึกษา โรงพยาบาล ส่วนราชการต่างๆ บริษัทห้าง ร้านหรือประกอบธุรกิจส่วนตัว ซึ่งมีตำาแหน่งหน้าที่การงาน เป็นหลักอยู่แล้ว แต่มีความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์การเป็นวิทยากรที่ดี จึงมักได้รับเชิญให้ไป เป็นวิทยากรให้แก่หน่วยงานต่างๆ ตลลอดเวลา การ ติดต่อกับวิทยากรที่มีงานประจำาทำาอยู่นี้ อาจตามตัวได้ ยากหรือมีปัญหาเรื่องเวลาเพราะแต่ละท่านมีภารกิจต้อง ปฏิบัติหน้าที่ในงานประจำาที่ตนทำาอยู่ ซึ่งการที่วิทยากร ลักษณะนี้จะออกไปเป็นวิทยาให้แก่หน่วยงานภายนอก จะ ต้องได้รับการอนุญาตจากผู้บังคับบัญชาก่อน ถ้าผู้บังคับ บัญชาเข้าใจ และให้การสนับสนุนก็จะเป็นผลดีต่อสังคม โดยส่วนรวมแต่บางหน่วยงานผู้บังคับบัญชาไม่เห็นความ สำาคัญหรือไม่อนุญาต วิทยากรเหล่านี้ก็ไม่สามารถออกไป รับใช้สังคมได้ การเชิญวิทยากรรับเชิญหรือวิทยากรภายนอก ร่วมให้ความรู้ในการสัมมนามีข้อดีข้อเสียหลายประการ ข้อดีคือมักจะได้รับการยอมรับ เลื่อมใส ศรัทธาจากผู้เข้า สัมมนา โดยเฉพาะวิทยากรที่มีชื่อเสียงหรือมาจากสถาน ศึกษาหรือหน่วยงานระดับแนวหน้าก็จะได้รับการยอมรับ เชื่อถือศรัทธามากขึ้น นอกจากนี้การนำาเสนอข้อคิดจาก 9
  • 10. วิทยากรภายนอกจะมีความเป็นกลางไม่อคติต่อคนใดคน หนึ่งหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง โดยเฉพาะภายในองค์กร สำาหรับข้อเสียมีหลายประการ เช่น วิทยากรอาจไม่ทราบ วัตถุประสงค์ของการจัดสัมมนาในเรื่องนั้น ๆ อย่าง แท้จริง ตัวอย่างไม่ชัดเจนหรือไม่ตรงกับปัญหาที่แท้จริง และบางครั้งวิทยากรอาจได้รับเชิญมาพูดในเรื่องที่เขาไม่ ถนัด แต่ที่ได้รับเชิญเพราะฝ่ายผู้จัดสัมมนาพิจารณาในแง่ ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้และมีชื่อเสียงโด่งดัง ของวิทยากรเท่านั้น วิทยากรทั้ง ๓ ประเภทตามที่กล่าวมาข้างต้นต่างมี ข้อดีและข้อเสียแตกต่างกัน ดังนั้นผู้จัดการสัมมนา สามารถพิจารณาเปรียบกันได้ แต่ที่สำาคัญสุดไม่ว่าจะเป็น วิทยากรที่อยู่ในประเภทใด จำาเป็นต้องเป็นผู้มีคุณลักษณะ ที่ดี ดังต่อไปนี้ ๑) เป็นผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับหัวข้อการสัมมนาเป็นอย่างดี ๒) เป็นผู้ที่มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ให้ ผู้อื่น ๆเข้าใจได้ดี ๓) เป็นผู้ที่มีความคิดก้าวไกล ทันสมัยและใจกว้าง ๔) เป็นผู้ที่มีเหตุผล มีความสามารถในการควบคุม อารมณ์ได้ดี ๕) เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ๖) เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกว้างขวางในสังคม หรือแวดวงวิชาชีพ ๒.๓ สมาชิกผู้เข้าสัมมนา ผู้เข้าสัมมนาส่วน ใหญ่มักเป็นบุคคลที่มีความสนใจร่วมกัน ประสบปัญหา ร่วมกันหรือต้องการแสดงความคิดเห็นใหม่ร่วมกัน และ ที่ประสงค์ที่จะแลกเปลี่ยนความคิดเห็นถ่ายทอดความรู้ และหาแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน ผู้เข้าสัมมนาส่วนใหญ่ มักเป็นผู้ปฏิบัติงานอยู่ในหน่วยงานต่างๆ ดังนั้นการ กำาหนดตัวบุคคลส่งเข้าร่วมสัมมนาหน่วยงานต่างๆ สามาร ถพิจารณาได้หลายรูปแบบ ดังนี้ 10
  • 11. ๑) พิจารณาตามสายบังคับบัญชาเป็นการ พิจารณาบุคคลที่ส่งเข้าร่วมการสัมมนาตั้งแต่ ระดับสาย ปฏิบัติการ ผู้บริหารระดับต้นหรือหัวหน้างาน ผู้บริหาร ระดับกลางหัวหน้าฝ่ายและผู้บริหารระดับสูงหรือผู้อำานวย การขึ้นไป ซึ่งในแต่ละระดับควรจัดส่งให้เข้ารับการ สัมมนาในแต่ละหลักสูตรอย่างทั่วถึง ๒) พิจารณาตามนโยบายและความเหมาะสม ของบุคลากร กำาหนดตัวผู้เข้าร่วมสัมมนาลักษณะนี้ขึ้นอยู่ กับนโยบายของหน่วยงานเป็นสำาคัญ ตลอดจนลักษณะ งานที่บุคลากรปฏิบัติอยู่ กล่าว คือถ้าหน่ายงานมีนโยบาย ขยายงานหรือพัฒนางานทางด้านคอมพิวเตอร์การกำาหนด ตัว ผู้มีความเหมาะสมที่ปฏิบัติงานด้านนี้ก็จะถูกส่งเข้าร่วม การสัมมนาในหลัก สูตรทางด้านโดยเฉพาะ นอกจากนี้ การกำาหนดตัวผู้ที่มีความเหมาะสมในงานเข้าร่วมสัมมนา อาจมองลึกลงไปถึงการที่ส่งเข้าไปร่วมสัมมนาแล้ว จะต้อง กลับมาถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้แก่บุคลากรอื่น ที่ไม่มีโอกาสเข้าร่วมสัมมนาได้ด้วย ค่าพาหนะสำาหรับ วิทยากร ค่าอาหารและค่าเครื่องดื่ม ค่าจัดวัสดุจัดทำา เอกสาร ค่าดอกไม้ธูปเทียนในพิธีเปิด-ปิดการสัมมนา ค่า ฟิล์มบันทึกภาพพร้อมค่าล้างอัดเป็นต้น ๓) พิจารณาตามปัญหาที่สามารถแก้ไขได้ด้วย การสัมมนา ในกรณีภายในหน่วยงานเกิดปัญหาเกี่ยวกับ การบริหารภายใน เช่น การขาดความร่วมมือประสาน งานกัน การขาดความเข้าใจซึ่งกันและกันหรือเกิดปัญหา บางอย่างสามารถแก้ไขด้วยการสัมมนาก็จะกำาหนดตัว ผู้ เข้าสัมมนาในกลุ่มนั้นๆ เพื่อจะได้เปิดโอกาสให้นำาข้อคิด หรือเทคนิคต่างๆ ที่ได้รับจากการสัมมนามาช่วยแก้ปัญหา นั้นๆ ให้น้อยลงหรือหมอสิ้นไป ๔) กำาหนดโดยตัวผู้สนใจที่จะเข้ารวมการ สัมมนา บางครั้งการสัมมนาอาจจะมีหลักสูตรพิเศษที่ทุกคน สามารถที่จะเข้าร่วมได้ เช่น หลักสูตรการพัฒนา บุคลิกภาพการสร้างสัมพันธภาพในหน่วยงาน เป็นต้น 11
  • 12. ในกรณีเช่นนี้การกำาหนดตัวผู้เข้าสัมมนาจึงขึ้นอยู่กับความ สนใจหรือความปรารถนาส่วนบุคคลของแต่ละคนเป็น สำาคัญ ๓. องค์ประกอบด้านสถานที่อุปกรณ์และงบ ประมาณ สถานที่อุปกรณ์ต่างๆ ที่จำาเป็นในการสัมมนา ได้แก่ ๓.๑ ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้อง ประชุมรวมที่ใช้พิธีเปิด-ปิดการสัมมนาและใช้การบรรยาย หรือภิปรายร่วมกัน ผู้จัดสัมมนาจะต้องกำาหนดให้แน่นอน ว่าจะใช้ห้องใดที่เหมาะสมและเพียงพอแก่จำานวนผู้เข้า สัมมนา ๓.๒ ห้องประชุมกลุ่มย่อย สำาหรับใช้ ประชุมกลุ่มย่อยของผู้เข้าสัมมนาผู้จัดสัมมนาจะต้องวัดไว้ ให้เพียงพอแก่จำานวนกลุ่มย่อยที่จัดแบ่งไว้ และต้องแจ้ง ห้องประชุมให้ผู้เข้าสัมมนาได้ทราบอย่างชัดเจน ๓.๓ อุปกรณ์ด้านโสตทัศนศึกษา ได้แก่ เครื่อง ขยายเสียง ไมโครโฟน ลำาโพง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เทปบันทึกเสียง วีดีทัศน์ และอุปกรณ์ด้านแสง-เสียง อื่น ๆ ที่จำาเป็นต้อง ใช้ ๓.๔ เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องโรเนียว หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องถ่ายเอกสาร และวัสดุที่จำาเป็น ในการจัดทำาเอกสารประกอบคำาบรรยาย ๓.๕ อุปกรณ์อื่นๆ เช่น ปากกาเขียนแผ่นใส ไวท์บอร์ด หรือกระดานดำาเป็นต้น ๓.๖ เอกสารประกอบคำาบรรยายของวิทยากร ซึ่งโดยทั่วไปวิทยากรมักจะส่งไปให้ผู้จัดสัมมนาล่วงหน้า หรืออาจจะนำามาในวันสัมมนา ซึ่งผู้จัดจะต้องถ่ายเอกสาร แจกให้ผู้เข้าสัมมนา แต่ในกรณีที่วิทยากรไม่ได้ส่งให้ล่วง หน้า หรือไม่ได้จัดเตรียมมาให้ในวันสัมมนา ฝ่ายสัมมนา ก็ควรทำาเอกสารสรุปคำาบรรยายแจกให้ผู้เข้าสัมมนาหลัง การบรรยายหรืออภิปรายเสร็จสิ้นลง 12
  • 13. ๓.๗ งบประมาณ ในการสัมมนาแต่ละโครงการ ต้องใช้งบประมาณมากพอสมควรทั้งนี้มักขึ้นอยู่กับจำานวน ผู้เข้าร่วมสัมมนา ระยะเวลาและสถานที่จัดสัมมนาเป็น สำาคัญที่มาของงบประมาณดำาเนินการมักได้มาจากแหล่ง ต่าง ๆ ๓ แหล่งด้วยกันคือ ค่าลงทะเบียนของสมาชิกเข้า ร่วมสัมมนาเงินหนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด และเงิน อุดหนุนจากภายนอก เช่น บุคคล บริษัท ห้างร้าน สมาคม มูลนิธิ เป็นต้นสำาหรับค่าใช้จ่ายในการจัด สัมมนา โดยทั่วไปจะจ่ายเป็น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่า พาหนะสำาหรับวิทยากร ค่าอาหารและเครื่องดื่ม ค่าวัสดุ จัดทำาเอกสาร ค่าดอกไม้ธูปเทียนในพิธีเปิด – ปิด การ สัมมนา ค่าฟิล์มบันทึกภาพพร้อมค่าล้างอัด เป็นต้น ๔. องค์ประกอบด้านเวลา การกำาหนดเวลา สำาหรับการสัมมนาจะมากน้อยพียงใดขึ้นอยู่กับหัวข้อหรือ เรื่องที่จัดสัมมนาเป็นสำาคัญ บางเรื่องมีขอบเขตกว้างขวาง แต่ใช้เวลาน้อย ก็จะทำาให้การอภิปรายแสดงความคิดเห็น ไม่ครอบคลุมตามเรื่องที่สัมมนาเท่าที่ควร หรือบางเรื่องมี ขอบเขตแคบเป็นเรื่องเฉพาะเจาะจงด้านใดด้านหนึ่งโดย เฉพาะแต่ใช้เวลายาวนานก็จะทำาให้ผู้เข้าสัมมนาเบื่อหน่าย ไม่สนใจเท่าที่ควรและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่คุ้มกับ สาระที่ได้รับ และเมื่อมีเวลาเหลือมากอาจทำาให้สมาชิก อภิปรายแสดงความคิดเห็นต่างๆ ขยายวงกว้างออกไปจน ไม่สามารถควบคุมได้ หรือเรื่องที่นำามาอภิปรายไม่ เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นำามาสัมมนาเลย การสัมมนาโดย ทั่วไปจะใช้เวลา ๒-๕ วัน ซึ่งถือว่าเป็นระยะเวลาที่เหมาะ สม นอกจากนี้ สมพร ปันตระสูตร ได้ กล่าว ถึงองค์ประกอบของการสัมมนาว่าในการจัดการสัมมนา แต่ละครั้งนั้นจะต้องมี องค์ประกอบสำาคัญเพื่อให้การ สัมมนาเป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ องค์ประกอบที่สำาคัญ มี ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ 13
  • 14. ๑. องค์ประกอบด้านเนื้อหา เป็นองค์ ประกอบที่สำาคัญอีกอย่างหนึ่งที่จะสามารถนำามาสัมมนา บรรลุผลตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ ส่วนประกอบสำาคัญ คือ ๑.๑ จุดมุ่งหมายของการสัมมนา ซึ่งจะ ต้องกำาหนดให้แน่นอนว่าการสัมมนาครั้งนั้นมีจุดมุ่งหมาย อย่างไร - เพื่อแก้ปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง - เพื่อการเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาร่วมกัน - เพื่อหาแนวทางปฏิบัติ หรือ กำาหนดนโยบาย อย่างใดอย่างหนึ่ง ๑.๒ หัวข้อในรูปแบบการบรรยายหรือการ อภิปราย ๑.๓ หัวข้อในการสัมมนา ๑.๔ กำาหนดการต่าง ๆ ในการสัมมนา ตลอด จน ระบบ ระเบียบ วิธีการสัมมนา ๑.๕ ผลของการสัมมนา ๒. องค์ประกอบด้านบุคลากร หมายถึง คณะ บุคคลที่จะเป็นผู้ดำาเนินการสัมมนาส่วนหนึ่ง และผู้เข้าร่วม สัมมนาอีกส่วนหนึ่ง ประกอบด้วย ๒.๑ คณะกรรมการเตรียมการและดำาเนิน การสัมมนา ๒.๒ คณะกรรมการจัดการสัมมนา (อาจจะ เป็นชุดเดียวกับ ๒.๑ ก็ได้) ๒.๓ คณะวิทยากร ผู้ให้ความรู้เสริมใน การสัมมนา ๒.๔ สมาชิกผู้เข้าร่วมสัมมนา ๒.๕ เจ้าหน้าที่ที่จำาเป็นนอกเหนือจากคณะ กรรมการ เช่น ฝ่ายอาคารสถานที่ ฝ่ายธุรการ ฝ่าย เอกสาร ฯลฯ ๓. องค์ประกอบด้านอุปกรณ์ อุปกรณ์หลาย อย่างเป็นความจำาเป็นที่จะช่วยให้การสัมมนาบรรลุผลได้ เป็นอย่างดี อุปกรณ์ที่จำาเป็นควรประกอบด้วย 14