SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
และการออกแบบการสอน
201701 เทคโนโลยีการศึกษาและการออกแบบการสอน
1. สรุปองคความรูเกี่ยวกับทฤษฎีพุทธิปญญานิยมและเชื่อมโยง
กับการออกแบบการสอน
ตั้งแต ป ค.ศ.1960 นักทฤษฎีการเรียนรูเริ่มตระหนักวา การที่จะเขาถึงการเรียนรูได
อยางสมบูรณนั้น จะตองผานการพิจารณา ไตรตรอง การคิด (Thinking) เชนเดียวกับพฤติกรรม
และควรเริ่มสรางแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูในทรรศนะของการเปลี่ยนแปลงกระบวนการรูคิด
(Mental Change) ที่เกิดขึ้นภายในของผูเรียนมากกวาการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมที่สามารถ
วัดและสังเกตไดเทานั้นวัดและสังเกตไดเทานั้น
ทฤษฎีการเรียนรูตามแนวพุทธิปญญานิยมนั้น จําแนกยอยเปนหลายทฤษฎี แตที่เปน
ที่ยอมรับกันมากในกลุมนักจิตวิทยาการเรียนรู และนํามาประยุกตใชกันมาก ไดแก การพัฒนา
ทางดานสติปญญาของเพียเจต (Piaget), ทฤษฎีการเรียนรูโดยการคนพบของบรูเนอร (Bruner),
ทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความหมายของออซูเบล (Ausubel), ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ
(Information Processing) และการรูเกี่ยวกับการคิดของตัวเอง (Metacognition)
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
(Theory of Cognitive Development)
เพียเจตเชื่อวาคนเราทุกคนตั้งแตเกิดมาก็พรอมที่จะมีปฏิสัมพันธ
กับสิ่งแวดลอม และโดยธรรมชาติของมนุษยเปนผูพรอมที่จะมี
กริยากรรมหรือเริ่มกระทํากอน (Active) นอกจากนี้เพียเจตเชื่อวา
มนุษยเรามีแนวโนมพื้นฐานที่ติดตัวมาตั้งแตกําเนิด 2 ชนิด คือ
1. การจัดและรวบรวม (Organization) หมายถึง การจัดและ1. การจัดและรวบรวม (Organization) หมายถึง การจัดและ
รวบรวมกระบวนการตางๆภายในเขาเปนระบบอยางตอเนื่อง
เปนระเบียบ และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
2. การปรับตัว (Adaptation) หมายถึง การปรับตัวใหเขากับ
สิ่งแวดลอมเพื่ออยูในสภาพสมดุล การปรับตัวประกอบดวย
สองกระบวนการคือ การซึมซาบหรือดูดซึม (Assimilation)
และการปรับโครงสรางทางปญญา (Accommodation)
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
(Theory of Cognitive Development)
เด็กเห็นสัตวสี่ขา
เด็กเรียกสัตวที่ที่เพิ่งเจอ
เด็กเห็นสัตวสี่ขา
ตัวใหมเปนครั้งแรก เคยเรียกสัตวสี่ขาวาเจาตูบ
เด็กเรียกสัตวที่ที่เพิ่งเจอ
วาเจาตูบ
เด็กเห็นสัตวสี่ขา
อีกตัวเปนครั้งแรก
เคยเรียกสัตวสี่ขาวาเจาตูบ เด็กเรียกสัตวที่เจอวาเจาตูบ แลวแมก็บอก
วามันคือวัว เด็กก็จะปรับโครงสรางทาง
ปญญาวาลักษณะแบบนี้คือวัว
ดัดแปลงจาก http://ms-dizon.blogspot.com/2013/05/assimilation-vs-accommodation.html
ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
(Theory of Cognitive Development)
นอกจากนี้เพียเจตยังไดแบงลําดับขั้นของพัฒนาการเชาวปญญาของมนุษยไว 4 ขั้น ดังนี้
เจอรโรม บรูเนอร (Jerome Bruner) นักจิตวิทยาแนวพุทธิปญญา ไดแบงพัฒนาการทางปญญา
หรือความรูความเขาใจของมนุษยเปน 3 ประเภท คือ
1. Enactive Representation วิธีการเรียนรูในขั้นนี้จะแสดงออกดวย
การกระทํา เรียกวา Enactive Mode เปนวิธีการปฏิสัมพันธกับ
สิ่งแวดลอมโดยการสัมผัสดวยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใชปาก
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
(Discovery Learning)
สิ่งแวดลอมโดยการสัมผัสดวยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใชปาก
กับวัตถุสิ่งของรอบตัว
2. Iconic Representation ขั้นพัฒนาการความคิด เกิดจากการ
มองเห็นและการใชประสาทสัมผัส ถายทอดประสบการณดวย
การสรางภาพในใจใหเกิดเปนมโนภาพ (Imagery)
3. Symbolic Representation ขั้นพัฒนาการทางความคิดที่
ผูเรียนสามารถถายทอดประสบการณ หรือเหตุการณตางๆ
โดยใชสัญลักษณหรือภาษา เปนขั้นสูงสุดของพัฒนาการ
ดานพุทธิปญญา
บรูเนอรเชื่อวา การเรียนรูจะเกิดขึ้นเมื่อผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ซึ่งจะนําไปสูการ
คนพบ และการแกปญหา เรียกวา การเรียนรูโดยการคนพบ (Discovery Approach) ผูเรียนจะ
ประมวลผลขอมูลสารสนเทศจากการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม และจะรับรูสิ่งที่ตนเองเลือก
หรือสิ่งที่ใสใจ การเรียนรูแบบนี้จะชวยใหเกิดการคนพบ เนื่องจากผูเรียนมีความอยากรูอยากเห็น
ซึ่งจะเปนแรงผลักดันที่ทําใหสํารวจสิ่งแวดลอม และทําใหเกิดการเรียนรู โดยมีแนวคิดที่เปน
แนวคิดเกียวกับการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์
(Discovery Learning)
ซึ่งจะเปนแรงผลักดันที่ทําใหสํารวจสิ่งแวดลอม และทําใหเกิดการเรียนรู โดยมีแนวคิดที่เปน
พื้นฐานดังนี้
1. การเรียนรูเปนกระบวนการที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดวยตนเอง
2. ผูเรียนแตละคนจะมีประสบการณและพื้นฐานความรูที่แตกตางกัน
3. การเรียนรูจะเกิดจากการที่ผูเรียนสรางความสัมพันธระหวางสิ่งที่พบใหม กับความรูเดิม
แลวนํามาสรางเปนความหมายใหม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล
(Meaningful Learning)
ออซูเบลไดใหความหมายการเรียนรูอยางมีความหมาย (Meaningful Learning)
วาเปนการเรียนรูที่ผูเรียนไดรับมาจากการที่ผูสอนอธิบายสิ่งที่จะตองเรียนรูให
ทราบ และผูเรียนรับฟงดวยความเขาใจ โดยผูเรียนเห็นความสัมพันธของ
สิ่งที่เรียนรูกับโครงสรางทางปญญาที่ไดเก็บไวในความทรงจํา และจะ
สามารถนํามาใชในอนาคตไดสามารถนํามาใชในอนาคตได
ทฤษฎีของออซูเบลเนนความสําคัญของการเรียนรูอยางมีความหมาย
การเรียนรูแบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผูเรียนไดเชื่อมโยง (Subsumme) สิ่งที่จะ
ตองเรียนรูใหมหรือขอมูลใหม กับความรูเดิมที่มีมากอนที่มีในโครงสราง
สติปญญาของผูเรียนมาแลว
ออซูเบลไดแบงการเรียนรูโดยการรับอยางมีความหมายไวดังนี้
1. Subordinate Learning เปนการเรียนรูโดยการรับอยางมีความหมาย มีวิธีการ 2 ประเภท
1) Derivative Subsumption เปนการเชื่อมโยงสิ่งที่จะตองเรียนรูใหมกับหลักการหรือกฎเกณฑที่เคยเรียนมาแลว โดย
การไดรับขอมูลมาเพิ่มสามารถดูดซึมเขาไปในโครงสรางทางปญญาที่มีอยูแลวอยางมีความหมาย ไมตองทองจํา
2) Correlative Subsumption เปนการเรียนรูที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสรางทางปญญาที่
ประเภทของการเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย
2) Correlative Subsumption เปนการเรียนรูที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสรางทางปญญาที่
มีมากอนใหสัมพันธกับสิ่งที่จะเรียนรูใหม
2. Superordinate Learning เปนการเรียนรูโดยการอนุมาน โดยการจัดกลุมสิ่งที่เรียนใหม
เขากับความคิดรวบยอดที่กวางและครอบคลุมความคิดรวบยอดของสิ่งที่เรียนใหม
3. Combinatorial Learning เปนการเรียนรูหลักการ กฎเกณฑตางๆเชิงผสม ในวิชา
คณิตศาสตร หรือวิทยาศาสตร โดยการใชเหตุผลหรือการสังเกต
ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ จะเปนการอธิบายเกี่ยวกับการไดมาซึ่งความรู (Acquire) สะสม
ความรู (Store) การระลึกได (Recall) ตลอดจนการใชสารสนเทศ หรือกลาวไดวาเปนทฤษฎีที่
พยายามอธิบายใหเขาใจวามนุษยจะมีวิธีการรับขอมูลขาวสาร หรือความรูใหมอยางไร เมื่อรับ
มาแลวจะมีวิธีการประมวลขอมูลขาวสาร และเก็บสะสมในลักษณะใด ตลอดจนจะสามารถเรียก
ความรูนั้นมาใชไดอยางไร ทฤษฎีนี้จัดอยูในกลุมพุทธิปญญา (Cognitivism) โดยใหความสนใจ
แนวคิดกลุ่มทฤษฎีประมวลสารสนเทศ
(Information Processing)
ความรูนั้นมาใชไดอยางไร ทฤษฎีนี้จัดอยูในกลุมพุทธิปญญา (Cognitivism) โดยใหความสนใจ
เกี่ยวกับกระบวนการคิด การใหเหตุผลของผูเรียน
กระบวนการรู้คิดในการประมวลสารสนเทศ
คลอสไมเออร (Klausmeier) พยายามอธิบายกระบวนการประมวลผลขาวสารขอมูลที่เกิดขึ้น
ในสมองของมนุษย ออกมาเปนขั้นตอนการบันทึกผัสสะ (Sensory Register) ความจําระยะ
สั้น (Short-Term Memory) และความจําระยะยาว (Long-Term Memory)
การบันทึกผัสสะ
(ประสาทสัมผัสทั้ง 5)
ความจําระยะสั้น ความจําระยะยาวสิ่งเรา
การรูจัก
(Recognition)
การใสใจ
(Attention)
ความรู้เกียวกับการรู้คิดของตนเอง
(Metacognition)
นักจิตวิทยากลุมพุทธิปญญานิยมเชื่อวา ผูเรียนเปนผูที่มีความสําคัญตอ
การเรียนรู คือเปนผูควบคุมกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง
(Self-Regulation) จึงมีผูศึกษาเกี่ยวกับการควบคุม
กิจกรรมทางปญญา (Cognitive Activity)
ฟลาเวล (Flavell, 1979) ไดใหคําวา “Meta Cognitive”ฟลาเวล (Flavell, 1979) ไดใหคําวา “Meta Cognitive”
ซึ่งหมายถึง ความรูสวนตัวของแตละบุคคลตอสิ่งที่ไดเรียนรู
หรือสิ่งที่ตนรู (Knowing) ซึ่งตางกับ Cognitive ที่หมายถึงการ
รูคิดหรือปญญาที่เกิดจากการเรียนรูอะไรก็ตามดวยความเขาใจ
ตัวอยางเชน การเขาใจความหมายของคําวาประชาธิปไตย ถาเปน
Metacognition คือการที่ตนเองรูสึกวาตนมีความรูเกี่ยวกับเรื่อง
ประชาธิปไตยมากนอยเพียงไร ตลอดจนการรูวาตนเองสามารถเรียนรู
เกี่ยวกับประชาธิปไตยไดลึกซึ้งแคไหน
การควบคุมกิจกรรมปัญญาด้วยตนเอง
ฟลาเวลกลาววา การควบคุมกิจกรรมปญญาดวยตนเองเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางความรู
เกี่ยวกับการรูคิดของตนเอง งานหรือภารกิจที่จะตองเรียนรู ประสบการณที่จําเปนตอความรู
เกี่ยวกับการรูคิดของตัวเอง และยุทธศาสตร ดังภาพ
ความรูเกี่ยวกับการรูคิดของตนเอง งานหรือภารกิจที่จะตองเรียนรู
ยุทธศาสตร
ประสบการณจําเปนตอความรู
เกี่ยวกับการรูคิดของตน
การออกแบบการสอนโดยใช้แนวคิดพุทธิปัญญานิยม
การออกแบบการสอนโดยใชแนวคิดทฤษฎีพุทธิปญญานิยมนั้น เริ่มจากขอตกลงเบื้องตนที่วา
“การเรียนรูเปนผลมาจากการจัดระเบียบ หรือจัดหมวดหมูของความจํา (Organization
of memory) ลงสูโครงสรางทางปญญาที่เรียกวา Mental Models” ซึ่งหมายถึงรูปแบบ
การทําความเขาใจที่ผูเรียนสรางขึ้นในขณะที่กําลังเรียนรูการทําความเขาใจที่ผูเรียนสรางขึ้นในขณะที่กําลังเรียนรู
ในการออกแบบการสอน จะนําหลักการตางๆเกี่ยวกับกระบวนการ
เรียนรูจากจิตวิทยากลุมพุทธิปญญามาใช ไดแก
- การจัดระเบียบหรือจัดหมวดหมู (Organization) ในระหวาง
การเรียนรู ซึ่งจะชวยในการเรียกขอมูลกลับมาใชภายหลัง
- การขยายความคิด (Elaboration) ที่สรางขึ้นในระหวางเรียนรู
องค์ประกอบของกลยุทธ์ทางพุทธิปัญญาทีสนับสนุนลําดับขัน
และการประมวลสารสนเทศ
กระบวนการเรียนรู กลยุทธที่ใชในการสนับสนุนการเรียนรู
การเลือกที่จะรับรู
(Selective Perception)
การเนนสวนที่สําคัญ (Highlight), การขีดเสนใต (Underlining), การจัดมโนมติลวงหนา
(Advance Organizers), การใชคําถามลวงหนา (Adjunct Question), การทําโครงราง
(Outlining)
การทองจําหรือทองซ้ําๆ การยอหนา, การจดโนต, การสรางภาพในใจ (Imagery), การทําโครงราง, การจัดกลุมการทองจําหรือทองซ้ําๆ
(Rehearsal)
การยอหนา, การจดโนต, การสรางภาพในใจ (Imagery), การทําโครงราง, การจัดกลุม
(Chunking)
การเขารหัสที่มีความหมาย
(Semantic Encoding)
การจัดทําแผนที่ความคิด (Concept Map), การจําแนกหมวดหมู, อุปมาอุปไมย, กฎเกณฑ/การ
สราง, สกีมา (โครงสรางทางปญญา)
การเรียกกลับมาใช
(Retrieval)
เทคนิคชวยจํา (Mnemonics), การสรางภาพในใจ (Imagery)
การควบคุมบริหารจัดการ
(Executive Control)
กลยุทธการรูเกี่ยวกับการคิดของตนเอง (Meta Cognitive Strategies)
สรุปในภาพรวม สรุปองคความรูเกี่ยวกับทฤษฎีพุทธิปญญานิยมและ
เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน
นักจิตวิทยากลุมนี้เชื่อวา เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน
มนุษยมีความแตกตางกันทั้งในดานความรูสึกนึกคิด
อารมณ ความสนใจ และความถนัดในแตละคน ดังนั้น ใน
การเรียนรูก็ตองมีกระบวนการ และขั้นตอนที่แตกตางกัน
ดวย อีกทั้งยังมีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูวา การเรียนเปน
คือ การใชเทคนิคสรางความสนใจแกผูเรียน
กอนเริ่มเรียน คํานึงถึงความแตกตางของ
ผูเรียน ในแงของการเลือกเนื้อหาการเรียน การ
เลือก กิจกรรมการเรียน การควบคุมดวยตนเอง
การเรียนรูก็ตองมีกระบวนการ และขั้นตอนที่แตกตางกัน
ดวย อีกทั้งยังมีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูวา การเรียนเปน
การผสมผสานขอมูลขาวสารเดิมกับขอมูลขาวสารใหมเขา
ดวยกัน หากผูเรียนมีขอมูลขาวสารเดิมเชื่อมโยงกับขอมูล
ขาวสารใหม การรับรูก็จะงายขึ้น นักทฤษฏีกลุมนี้ใหความ
สนใจศึกษาองคประกอบในการจํา ที่สงผลตอความจําระยะ
สั้น (Short Term Memory) ความจําระยะยาว (Long
Term Memory) และความคงทนในการจํา
ผูเรียน ในแงของการเลือกเนื้อหาการเรียน การ
เลือก กิจกรรมการเรียน การควบคุมดวยตนเอง
กอน-หลัง
การนําหลักการทางพุทธิปัญญานิยมมาใช้ในการออกแบบการสอน
การนําทฤษฎี หลักการทางพุทธิปญญามาใชเปนสวนหนึ่งของการออกแบบการสอนหรือสื่อตางๆ
เพื่อพัฒนากระบวนการทางปญญา (Cognitive Development) ของผูเรียน จะมีหลักการอยู
สองลักษณะดังตอไปนี้
 การพัฒนาความคิดรวบยอด (Concept Development) กระบวนการนี้จะเกี่ยวของกับ
ผูเรียนในการตรวจสอบลักษณะของความคิดรวบยอด และการจัดระเบียบหมวดหมู และมีผูเรียนในการตรวจสอบลักษณะของความคิดรวบยอด และการจัดระเบียบหมวดหมู และมี
การปรับเปลี่ยนการจัดระเบียบ หรือจัดระเบียบใหม (Reorganizing) ความเขาใจอีกครั้ง
จนกระทั่งสามารถเสาะแสวงหาและกําหนดรูปแบบได
 กระตุนความคิดเดิม (Activation of Previous Knowledge) ความรูใหมๆควรมีความ
เกี่ยวของกับโครงสรางทางปญญาที่ผูเรียนมีอยูกอนแลว หรือที่เรียกวาสกีมา (Schema) หรือ
เปนรูปแบบขอมูลสารสนเทศที่สรางจากประสบการณเดิม โดยการกระตุนความรูเดิมจะสงผล
ใหความรูใหมหรือขอมูลใหมที่จะเรียน มีความหมายและงายที่จะเรียนรู
2.วิเคราะห์งานวิจัยทีอาศัยพืนฐานทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
ปรมะ แขวงเมือง. (2556). การพัฒนานวัตกรรมทางปญญาที่สงเสริมการสรางความรูและการบันทึกใน
หนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ปรัศณียา กองอาษา. (2546). ผลของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวทาง
พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
นุชนาจ พลอยพันธ สุมาลี ชัยเจริญ และ ชลิสา โพธิ์นิ่มแดง. (2549). ผลของมัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวทฤษฎี
พุทธิปญญา ที่ใช Keyword Method สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่องสัตว ชั้นประถมศึกษาปที่
5. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ปรมะ แขวงเมือง. (2556). การพัฒนานวัตกรรมทางปญญาที่สงเสริมการสรางความรูและการ
บันทึกในหนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน.
- การออกแบบการสอนที่อาศัย หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการอยางไรในการออกแบบ
เปนการใชกระบวนการ information processing โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงพัฒนา
(Developmental research) แบบ Type I ซึ่งประกอบดวย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ
ออกแบบ กระบวนการพัฒนา และกระบวนการประเมิน วิเคราะหขอมูลโดยดําเนินการดังนี้ 1)
ขอมูลเชิงปริมาณที่เปนคะแนนทดสอบหลังเรียน ใชคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2)
ขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณ ใชการวิเคราะหโปรโตคอล และแบบสอบถามความขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณ ใชการวิเคราะหโปรโตคอล และแบบสอบถามความ
คิดเห็นใชการสรุปตีความ
กระบวนการออกแบบ กระบวนการพัฒนา กระบวนการประเมิน
ในกระบวนการออกแบบ มี จุดมุงหมายเพื่อ ออกแบบ
นวัตกรรมทางปญญาที
สงเสริมการสรางความรู  และ การบันทึกใน
หนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน
กระบวนการออกแบบ ประกอบด วย การวิ จัยเ อกสาร
การศึกษาสภาพบริบทเกี่ยวกับการจัดการ
เรียนการสอน
สรางและพัฒนานวัตกรรมที่เปนนวัตกรรมทาง
ปญญาที่สงเสริมการสรางความรู และการ
บันทึกความจําสําหรับนักเรียน โดยอาศัย
กระบวนการกระบวน การประมวลสารสน
เทศตามหลักการของ Klausmeier ( 1985)
ได  แก คือ 1) ความจําจากประสาทสัมผัส
(2) ความจําระยะสัน3) ความจําระยะยาว
โดยใชคําสําคัญ
(Keyword) ของสื่อ
มัลติมีเดียกับกระบวนการ
ประมวลสารสนเทศเพื่อ
ตรวจสอบความสอดคลอง
ระหวางขอคําถามกับ
กรอบแนวคิด
ปรมะ แขวงเมือง. (2556). การพัฒนานวัตกรรมทางปญญาที่สงเสริมการสรางความรูและการ
บันทึกในหนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน. (ตอ)
- การออกแบบการสอนมีความสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่ 21
อยางไร พรอมทั้งอธิบายเหตุผล
ผลของสื่อที่มีตอการประมวลสารสนเทศของผูเรียนที่เรียนดวยนวัตกรรมทางปญญาที่
สงเสริมการสรางความรูและการบันทึกในหนวยความจํา สําหรับผูเรียน พบวา คุณลักษณะ
ของสื่อมัลติมีเดียและสัญลักษณของสื่อมัลติมีเดียมีผลตอการประมวลสารสนเทศของผูเรียนของสื่อมัลติมีเดียและสัญลักษณของสื่อมัลติมีเดียมีผลตอการประมวลสารสนเทศของผูเรียน
ไดแก ภาพ เสียง และขอความ ถาเกิดขึ้นพรอมกันจะมีผลตอการประมวลสารสนเทศของ
ผูเรียน ชวยใหผูเรียนเกิดความสนใจและใสใจมากยิ่งขึ้น และสงผลใหผูเรียนสามารถบันทึก
ขอมูลในหนวยความจําระยะยาวและสามารถคนคืนขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ
ปรัศณียา กองอาษา. (2546). ผลของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดียที่
พัฒนาตามแนวทาง พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด.
- การออกแบบการสอนที่ศึกษาไดอาศัย หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการอยางไรในการออกแบบ
กระบวนการที่ใชในการออกแบบ แบงออกเปน 3 ชวง ไดแก
ชวงที่ 1 เปนการศึกษานํารอง (Pilot Study) เปนการศึกษาเนื้อหาที่จะใชสรางบทเรียน กําหนดจุดประสงค
เชิงพฤติกรรมและทําการศึกษานํารองเกี่ยวกับรูปแบบการเชื่อมโยงความรู
ของผูเรียนแลวนําผลที่ไดจากการศึกษานํารองมาเปนขอมูลพื้นฐานในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
แบบมัลติมีเดีย
ของผูเรียนแลวนําผลที่ไดจากการศึกษานํารองมาเปนขอมูลพื้นฐานในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
แบบมัลติมีเดีย
ชวงที่ 2 สรางและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย ตามขั้นตอนโดยนําผลที่ไดจาก
การศึกษานํารองมาออกแบบสาร (Message Design) ตามแนวทางการขยายความคิดแลวนําไปหาประสิทธิภาพ
ชวงที่ 3 นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ออกแบบและหาประสิทธิภาพแลวไปทดลองกับกลุมตัวอยาง
บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย เรื่องคําศัพท ภาษาอังกฤษ จะสงเสริมการคิดเชื่อมโยงจาก
ประสบการณเดิมของผูเรียนกับขอมูลใหมในเนื้อหาที่เรียนสงผลใหผูเรียนเขาใจและจดจําความหมายของคําศัพท
ดวยวิธีการที่แตกตางในแตละบุคคล และสามารถทําใหเขาใจและจดจําไดดียิ่งขึ้นดวยวิธีการขยายความคิด คือ
การใหผูเรียนรูคําศัพทโดยการจินตนาการเชื่อมโยงรูปภาพที่เปนเหตุการณที่คุนเคยหรือสอดคลองกับประสบการณ
เดิมของตน
ปรัศณียา กองอาษา. (2546). ผลของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดียที่
พัฒนาตามแนวทาง พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. (ตอ)
- การออกแบบการสอนมีความสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่
21 อยางไร พรอมทั้งอธิบายเหตุผล
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย เรื่องคําศัพท ภาษาอังกฤษ
สอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาคือเปนการสอนที่ สอนนอยลงผูเรียนเรียนรูไดมากขึ้น (Teach
Less, Learn More) และสอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คือสงเสริมใหนักเรียนมีLess, Learn More) และสอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คือสงเสริมใหนักเรียนมี
ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรม ในสวนของการคิดแบบมีวิจารณญาณนักเรียนสามารถ
เชื่อมโยงความสัมพันธของสิ่งตางๆ และเกิดการเรียนรู
นุชนาจ พลอยพันธ สุมาลี ชัยเจริญ และ ชลิสา โพธิ์นิ่มแดง. (2549). ผลของมัลติมีเดียที่พัฒนา
ตามแนวทฤษฎีพุทธิปญญา ที่ใช Keyword Method สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่อง
สัตว ชั้นประถมศึกษาปที่ 5.
- การออกแบบการสอนที่ศึกษาไดอาศัย หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการอยางไรในการออกแบบ
งานวิจัยกลาวถึงเรื่องปญหาในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5 วารูปแบบการเรียน
การสอนนั้นเปนการเรียนที่เปนการทองจํา แตกระบวนการสอนไมมีเทคนิคในการจําที่ดี ไมสามารถสรางรหัสเพื่อให
นักเรียนสามารถจําไดอยางมีความหมาย สงผลใหผูเรียนเรียนโดยไมมีหลักการ ไมเกิดจากความสนใจ
วิธีแกปญหา ผูวิจัยไดนําแนวคิดการใช Keyword Method เขามาชวยในการออกแบบการสอน ซึ่งเปนเทคนิคในวิธีแกปญหา ผูวิจัยไดนําแนวคิดการใช Keyword Method เขามาชวยในการออกแบบการสอน ซึ่งเปนเทคนิคใน
การจําอยางมีความหมาย อาศัยภาพในการเชื่อมโยงเรื่องราว เพื่อใหนักเรียนสามารถเรียนรูคําศัพทไดอยางมี
ความหมาย
ในกระบวนการออกแบบ ผูวิจัยไดศึกษาและพบวาสื่อที่เอื้อตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษคือ
คอมพิวเตอร โดยเฉพาะในรูปแบบของสื่อประสม (มัลติมีเดีย) เนื่องจากเปนสื่อที่สามารถนําเสนอไดทั้งขอความ
ภาพนิ่ง เสียง หรือแมแตภาพเคลื่อนไหว ซึ่งจะชวยเสริมแรงและจูงใจในการเรียนรูของผูเรียน ผูวิจัยจึงไดทําการ
ออกแบบการสอนแบบมัลติมีเดียโดยอาศัยทฤษฎีพุทธิปญญานิยม โดยเนนใหผูเรียนมีกระบวนการพื้นฐานของ
ความจําครบทั้ง 3 กระบวนการ อันไดแก การเขารหัส, การเก็บ และการคนคืนขอมูล
นุชนาจ พลอยพันธ สุมาลี ชัยเจริญ และ ชลิสา โพธิ์นิ่มแดง. (2549). ผลของมัลติมีเดียที่พัฒนา
ตามแนวทฤษฎีพุทธิปญญา ที่ใช Keyword Method สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่อง
สัตว ชั้นประถมศึกษาปที่ 5. (ตอ)
-การออกแบบการสอนมีความสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่
21 อยางไร พรอมทั้งอธิบายเหตุผล
การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษนั้น เปนการเรียนในรูปแบบที่เนนกระบวนการทองจํา แต
เพื่อใหผูเรียนเขาใจไดดียิ่งขึ้นและงายตอการจํา รวมถึงสามารถเรียกขอมูลความจํามาใชเมื่อ
ตองการได จึงตองมีการออกแบบรูปแบบการเรียนรูที่สงเสริมกระบวนการคิดของผูเรียนใหตองการได จึงตองมีการออกแบบรูปแบบการเรียนรูที่สงเสริมกระบวนการคิดของผูเรียนให
สามารถจัดระเบียบความจําเพื่อเชื่อมโยงความรูใหมเขากับความรูเดิมได ซึ่งการออกแบบการ
สอนที่ใชแนวความคิดจากทฤษฎีพุทธิปญญานิยมก็สามารถนํามาใชไดอยางเหมาะสม
สมาชิกในกลุ่ม
 575050027-7 นางสาวปรียานันท อัครวงศ
 575050180-9 นางสาวจิรายุ ศักดาจารุวงศ
 575050191-4 นายวีรวัฒน สุดหา
 575050194-8 นางสาวสุธาทิพย เหวขุนทด
 575050196-4 นางสาวสุนิจฐา พองพรหม

More Related Content

What's hot

พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Maesinee Fuguro
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลNusaiMath
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
Adoby Milk Pannida
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Ratchada Rattanapitak
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
immyberry
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
Tum'Tim Chanjira
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
Khorkhuad Jakkritch
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
Mamoss CM
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubelya035
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Supeii Akw
 

What's hot (20)

พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบลทฤษฎีของออซูเบล
ทฤษฎีของออซูเบล
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบลทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
ทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญา ออซูเบล
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิดนวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
David p. ausubel
David p. ausubelDavid p. ausubel
David p. ausubel
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 

Similar to Cognitivism theory (2)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Rathapon Silachan
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Beeby Bicky
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
Chirinee Deeraksa
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
Ptato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
Ptato Ok
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
สรสิช ขันตรีมิตร
 

Similar to Cognitivism theory (2) (20)

Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 

More from Ptato Ok

Tools4 10-14
Tools4 10-14Tools4 10-14
Tools4 10-14
Ptato Ok
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2
Ptato Ok
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
Ptato Ok
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
Ptato Ok
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n
Ptato Ok
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1
Ptato Ok
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
Ptato Ok
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2
Ptato Ok
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Ptato Ok
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
Ptato Ok
 
Chapter1
Chapter1 Chapter1
Chapter1
Ptato Ok
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 new
Ptato Ok
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
Ptato Ok
 
Com exper2
Com exper2Com exper2
Com exper2
Ptato Ok
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
Ptato Ok
 

More from Ptato Ok (16)

Tools4 10-14
Tools4 10-14Tools4 10-14
Tools4 10-14
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
Chapter1
Chapter1 Chapter1
Chapter1
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 new
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Com exper2
Com exper2Com exper2
Com exper2
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 

Cognitivism theory (2)

  • 2. 1. สรุปองคความรูเกี่ยวกับทฤษฎีพุทธิปญญานิยมและเชื่อมโยง กับการออกแบบการสอน ตั้งแต ป ค.ศ.1960 นักทฤษฎีการเรียนรูเริ่มตระหนักวา การที่จะเขาถึงการเรียนรูได อยางสมบูรณนั้น จะตองผานการพิจารณา ไตรตรอง การคิด (Thinking) เชนเดียวกับพฤติกรรม และควรเริ่มสรางแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูในทรรศนะของการเปลี่ยนแปลงกระบวนการรูคิด (Mental Change) ที่เกิดขึ้นภายในของผูเรียนมากกวาการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมที่สามารถ วัดและสังเกตไดเทานั้นวัดและสังเกตไดเทานั้น ทฤษฎีการเรียนรูตามแนวพุทธิปญญานิยมนั้น จําแนกยอยเปนหลายทฤษฎี แตที่เปน ที่ยอมรับกันมากในกลุมนักจิตวิทยาการเรียนรู และนํามาประยุกตใชกันมาก ไดแก การพัฒนา ทางดานสติปญญาของเพียเจต (Piaget), ทฤษฎีการเรียนรูโดยการคนพบของบรูเนอร (Bruner), ทฤษฎีการเรียนรูอยางมีความหมายของออซูเบล (Ausubel), ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ (Information Processing) และการรูเกี่ยวกับการคิดของตัวเอง (Metacognition)
  • 3. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Theory of Cognitive Development) เพียเจตเชื่อวาคนเราทุกคนตั้งแตเกิดมาก็พรอมที่จะมีปฏิสัมพันธ กับสิ่งแวดลอม และโดยธรรมชาติของมนุษยเปนผูพรอมที่จะมี กริยากรรมหรือเริ่มกระทํากอน (Active) นอกจากนี้เพียเจตเชื่อวา มนุษยเรามีแนวโนมพื้นฐานที่ติดตัวมาตั้งแตกําเนิด 2 ชนิด คือ 1. การจัดและรวบรวม (Organization) หมายถึง การจัดและ1. การจัดและรวบรวม (Organization) หมายถึง การจัดและ รวบรวมกระบวนการตางๆภายในเขาเปนระบบอยางตอเนื่อง เปนระเบียบ และมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2. การปรับตัว (Adaptation) หมายถึง การปรับตัวใหเขากับ สิ่งแวดลอมเพื่ออยูในสภาพสมดุล การปรับตัวประกอบดวย สองกระบวนการคือ การซึมซาบหรือดูดซึม (Assimilation) และการปรับโครงสรางทางปญญา (Accommodation)
  • 4. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Theory of Cognitive Development) เด็กเห็นสัตวสี่ขา เด็กเรียกสัตวที่ที่เพิ่งเจอ เด็กเห็นสัตวสี่ขา ตัวใหมเปนครั้งแรก เคยเรียกสัตวสี่ขาวาเจาตูบ เด็กเรียกสัตวที่ที่เพิ่งเจอ วาเจาตูบ เด็กเห็นสัตวสี่ขา อีกตัวเปนครั้งแรก เคยเรียกสัตวสี่ขาวาเจาตูบ เด็กเรียกสัตวที่เจอวาเจาตูบ แลวแมก็บอก วามันคือวัว เด็กก็จะปรับโครงสรางทาง ปญญาวาลักษณะแบบนี้คือวัว ดัดแปลงจาก http://ms-dizon.blogspot.com/2013/05/assimilation-vs-accommodation.html
  • 5. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ (Theory of Cognitive Development) นอกจากนี้เพียเจตยังไดแบงลําดับขั้นของพัฒนาการเชาวปญญาของมนุษยไว 4 ขั้น ดังนี้
  • 6. เจอรโรม บรูเนอร (Jerome Bruner) นักจิตวิทยาแนวพุทธิปญญา ไดแบงพัฒนาการทางปญญา หรือความรูความเขาใจของมนุษยเปน 3 ประเภท คือ 1. Enactive Representation วิธีการเรียนรูในขั้นนี้จะแสดงออกดวย การกระทํา เรียกวา Enactive Mode เปนวิธีการปฏิสัมพันธกับ สิ่งแวดลอมโดยการสัมผัสดวยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใชปาก ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์ (Discovery Learning) สิ่งแวดลอมโดยการสัมผัสดวยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใชปาก กับวัตถุสิ่งของรอบตัว 2. Iconic Representation ขั้นพัฒนาการความคิด เกิดจากการ มองเห็นและการใชประสาทสัมผัส ถายทอดประสบการณดวย การสรางภาพในใจใหเกิดเปนมโนภาพ (Imagery) 3. Symbolic Representation ขั้นพัฒนาการทางความคิดที่ ผูเรียนสามารถถายทอดประสบการณ หรือเหตุการณตางๆ โดยใชสัญลักษณหรือภาษา เปนขั้นสูงสุดของพัฒนาการ ดานพุทธิปญญา
  • 7. บรูเนอรเชื่อวา การเรียนรูจะเกิดขึ้นเมื่อผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม ซึ่งจะนําไปสูการ คนพบ และการแกปญหา เรียกวา การเรียนรูโดยการคนพบ (Discovery Approach) ผูเรียนจะ ประมวลผลขอมูลสารสนเทศจากการมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม และจะรับรูสิ่งที่ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใสใจ การเรียนรูแบบนี้จะชวยใหเกิดการคนพบ เนื่องจากผูเรียนมีความอยากรูอยากเห็น ซึ่งจะเปนแรงผลักดันที่ทําใหสํารวจสิ่งแวดลอม และทําใหเกิดการเรียนรู โดยมีแนวคิดที่เปน แนวคิดเกียวกับการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรูเนอร์ (Discovery Learning) ซึ่งจะเปนแรงผลักดันที่ทําใหสํารวจสิ่งแวดลอม และทําใหเกิดการเรียนรู โดยมีแนวคิดที่เปน พื้นฐานดังนี้ 1. การเรียนรูเปนกระบวนการที่ผูเรียนมีปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอมดวยตนเอง 2. ผูเรียนแตละคนจะมีประสบการณและพื้นฐานความรูที่แตกตางกัน 3. การเรียนรูจะเกิดจากการที่ผูเรียนสรางความสัมพันธระหวางสิ่งที่พบใหม กับความรูเดิม แลวนํามาสรางเปนความหมายใหม
  • 8. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล (Meaningful Learning) ออซูเบลไดใหความหมายการเรียนรูอยางมีความหมาย (Meaningful Learning) วาเปนการเรียนรูที่ผูเรียนไดรับมาจากการที่ผูสอนอธิบายสิ่งที่จะตองเรียนรูให ทราบ และผูเรียนรับฟงดวยความเขาใจ โดยผูเรียนเห็นความสัมพันธของ สิ่งที่เรียนรูกับโครงสรางทางปญญาที่ไดเก็บไวในความทรงจํา และจะ สามารถนํามาใชในอนาคตไดสามารถนํามาใชในอนาคตได ทฤษฎีของออซูเบลเนนความสําคัญของการเรียนรูอยางมีความหมาย การเรียนรูแบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผูเรียนไดเชื่อมโยง (Subsumme) สิ่งที่จะ ตองเรียนรูใหมหรือขอมูลใหม กับความรูเดิมที่มีมากอนที่มีในโครงสราง สติปญญาของผูเรียนมาแลว
  • 9. ออซูเบลไดแบงการเรียนรูโดยการรับอยางมีความหมายไวดังนี้ 1. Subordinate Learning เปนการเรียนรูโดยการรับอยางมีความหมาย มีวิธีการ 2 ประเภท 1) Derivative Subsumption เปนการเชื่อมโยงสิ่งที่จะตองเรียนรูใหมกับหลักการหรือกฎเกณฑที่เคยเรียนมาแลว โดย การไดรับขอมูลมาเพิ่มสามารถดูดซึมเขาไปในโครงสรางทางปญญาที่มีอยูแลวอยางมีความหมาย ไมตองทองจํา 2) Correlative Subsumption เปนการเรียนรูที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสรางทางปญญาที่ ประเภทของการเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย 2) Correlative Subsumption เปนการเรียนรูที่มีความหมายเกิดจากการขยายความ หรือปรับโครงสรางทางปญญาที่ มีมากอนใหสัมพันธกับสิ่งที่จะเรียนรูใหม 2. Superordinate Learning เปนการเรียนรูโดยการอนุมาน โดยการจัดกลุมสิ่งที่เรียนใหม เขากับความคิดรวบยอดที่กวางและครอบคลุมความคิดรวบยอดของสิ่งที่เรียนใหม 3. Combinatorial Learning เปนการเรียนรูหลักการ กฎเกณฑตางๆเชิงผสม ในวิชา คณิตศาสตร หรือวิทยาศาสตร โดยการใชเหตุผลหรือการสังเกต
  • 10. ทฤษฎีประมวลสารสนเทศ จะเปนการอธิบายเกี่ยวกับการไดมาซึ่งความรู (Acquire) สะสม ความรู (Store) การระลึกได (Recall) ตลอดจนการใชสารสนเทศ หรือกลาวไดวาเปนทฤษฎีที่ พยายามอธิบายใหเขาใจวามนุษยจะมีวิธีการรับขอมูลขาวสาร หรือความรูใหมอยางไร เมื่อรับ มาแลวจะมีวิธีการประมวลขอมูลขาวสาร และเก็บสะสมในลักษณะใด ตลอดจนจะสามารถเรียก ความรูนั้นมาใชไดอยางไร ทฤษฎีนี้จัดอยูในกลุมพุทธิปญญา (Cognitivism) โดยใหความสนใจ แนวคิดกลุ่มทฤษฎีประมวลสารสนเทศ (Information Processing) ความรูนั้นมาใชไดอยางไร ทฤษฎีนี้จัดอยูในกลุมพุทธิปญญา (Cognitivism) โดยใหความสนใจ เกี่ยวกับกระบวนการคิด การใหเหตุผลของผูเรียน
  • 11. กระบวนการรู้คิดในการประมวลสารสนเทศ คลอสไมเออร (Klausmeier) พยายามอธิบายกระบวนการประมวลผลขาวสารขอมูลที่เกิดขึ้น ในสมองของมนุษย ออกมาเปนขั้นตอนการบันทึกผัสสะ (Sensory Register) ความจําระยะ สั้น (Short-Term Memory) และความจําระยะยาว (Long-Term Memory) การบันทึกผัสสะ (ประสาทสัมผัสทั้ง 5) ความจําระยะสั้น ความจําระยะยาวสิ่งเรา การรูจัก (Recognition) การใสใจ (Attention)
  • 12. ความรู้เกียวกับการรู้คิดของตนเอง (Metacognition) นักจิตวิทยากลุมพุทธิปญญานิยมเชื่อวา ผูเรียนเปนผูที่มีความสําคัญตอ การเรียนรู คือเปนผูควบคุมกิจกรรมการเรียนรูของตนเอง (Self-Regulation) จึงมีผูศึกษาเกี่ยวกับการควบคุม กิจกรรมทางปญญา (Cognitive Activity) ฟลาเวล (Flavell, 1979) ไดใหคําวา “Meta Cognitive”ฟลาเวล (Flavell, 1979) ไดใหคําวา “Meta Cognitive” ซึ่งหมายถึง ความรูสวนตัวของแตละบุคคลตอสิ่งที่ไดเรียนรู หรือสิ่งที่ตนรู (Knowing) ซึ่งตางกับ Cognitive ที่หมายถึงการ รูคิดหรือปญญาที่เกิดจากการเรียนรูอะไรก็ตามดวยความเขาใจ ตัวอยางเชน การเขาใจความหมายของคําวาประชาธิปไตย ถาเปน Metacognition คือการที่ตนเองรูสึกวาตนมีความรูเกี่ยวกับเรื่อง ประชาธิปไตยมากนอยเพียงไร ตลอดจนการรูวาตนเองสามารถเรียนรู เกี่ยวกับประชาธิปไตยไดลึกซึ้งแคไหน
  • 13. การควบคุมกิจกรรมปัญญาด้วยตนเอง ฟลาเวลกลาววา การควบคุมกิจกรรมปญญาดวยตนเองเกิดจากปฏิสัมพันธระหวางความรู เกี่ยวกับการรูคิดของตนเอง งานหรือภารกิจที่จะตองเรียนรู ประสบการณที่จําเปนตอความรู เกี่ยวกับการรูคิดของตัวเอง และยุทธศาสตร ดังภาพ ความรูเกี่ยวกับการรูคิดของตนเอง งานหรือภารกิจที่จะตองเรียนรู ยุทธศาสตร ประสบการณจําเปนตอความรู เกี่ยวกับการรูคิดของตน
  • 14. การออกแบบการสอนโดยใช้แนวคิดพุทธิปัญญานิยม การออกแบบการสอนโดยใชแนวคิดทฤษฎีพุทธิปญญานิยมนั้น เริ่มจากขอตกลงเบื้องตนที่วา “การเรียนรูเปนผลมาจากการจัดระเบียบ หรือจัดหมวดหมูของความจํา (Organization of memory) ลงสูโครงสรางทางปญญาที่เรียกวา Mental Models” ซึ่งหมายถึงรูปแบบ การทําความเขาใจที่ผูเรียนสรางขึ้นในขณะที่กําลังเรียนรูการทําความเขาใจที่ผูเรียนสรางขึ้นในขณะที่กําลังเรียนรู ในการออกแบบการสอน จะนําหลักการตางๆเกี่ยวกับกระบวนการ เรียนรูจากจิตวิทยากลุมพุทธิปญญามาใช ไดแก - การจัดระเบียบหรือจัดหมวดหมู (Organization) ในระหวาง การเรียนรู ซึ่งจะชวยในการเรียกขอมูลกลับมาใชภายหลัง - การขยายความคิด (Elaboration) ที่สรางขึ้นในระหวางเรียนรู
  • 15. องค์ประกอบของกลยุทธ์ทางพุทธิปัญญาทีสนับสนุนลําดับขัน และการประมวลสารสนเทศ กระบวนการเรียนรู กลยุทธที่ใชในการสนับสนุนการเรียนรู การเลือกที่จะรับรู (Selective Perception) การเนนสวนที่สําคัญ (Highlight), การขีดเสนใต (Underlining), การจัดมโนมติลวงหนา (Advance Organizers), การใชคําถามลวงหนา (Adjunct Question), การทําโครงราง (Outlining) การทองจําหรือทองซ้ําๆ การยอหนา, การจดโนต, การสรางภาพในใจ (Imagery), การทําโครงราง, การจัดกลุมการทองจําหรือทองซ้ําๆ (Rehearsal) การยอหนา, การจดโนต, การสรางภาพในใจ (Imagery), การทําโครงราง, การจัดกลุม (Chunking) การเขารหัสที่มีความหมาย (Semantic Encoding) การจัดทําแผนที่ความคิด (Concept Map), การจําแนกหมวดหมู, อุปมาอุปไมย, กฎเกณฑ/การ สราง, สกีมา (โครงสรางทางปญญา) การเรียกกลับมาใช (Retrieval) เทคนิคชวยจํา (Mnemonics), การสรางภาพในใจ (Imagery) การควบคุมบริหารจัดการ (Executive Control) กลยุทธการรูเกี่ยวกับการคิดของตนเอง (Meta Cognitive Strategies)
  • 16. สรุปในภาพรวม สรุปองคความรูเกี่ยวกับทฤษฎีพุทธิปญญานิยมและ เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน นักจิตวิทยากลุมนี้เชื่อวา เชื่อมโยงกับการออกแบบการสอน มนุษยมีความแตกตางกันทั้งในดานความรูสึกนึกคิด อารมณ ความสนใจ และความถนัดในแตละคน ดังนั้น ใน การเรียนรูก็ตองมีกระบวนการ และขั้นตอนที่แตกตางกัน ดวย อีกทั้งยังมีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูวา การเรียนเปน คือ การใชเทคนิคสรางความสนใจแกผูเรียน กอนเริ่มเรียน คํานึงถึงความแตกตางของ ผูเรียน ในแงของการเลือกเนื้อหาการเรียน การ เลือก กิจกรรมการเรียน การควบคุมดวยตนเอง การเรียนรูก็ตองมีกระบวนการ และขั้นตอนที่แตกตางกัน ดวย อีกทั้งยังมีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรูวา การเรียนเปน การผสมผสานขอมูลขาวสารเดิมกับขอมูลขาวสารใหมเขา ดวยกัน หากผูเรียนมีขอมูลขาวสารเดิมเชื่อมโยงกับขอมูล ขาวสารใหม การรับรูก็จะงายขึ้น นักทฤษฏีกลุมนี้ใหความ สนใจศึกษาองคประกอบในการจํา ที่สงผลตอความจําระยะ สั้น (Short Term Memory) ความจําระยะยาว (Long Term Memory) และความคงทนในการจํา ผูเรียน ในแงของการเลือกเนื้อหาการเรียน การ เลือก กิจกรรมการเรียน การควบคุมดวยตนเอง กอน-หลัง
  • 17. การนําหลักการทางพุทธิปัญญานิยมมาใช้ในการออกแบบการสอน การนําทฤษฎี หลักการทางพุทธิปญญามาใชเปนสวนหนึ่งของการออกแบบการสอนหรือสื่อตางๆ เพื่อพัฒนากระบวนการทางปญญา (Cognitive Development) ของผูเรียน จะมีหลักการอยู สองลักษณะดังตอไปนี้  การพัฒนาความคิดรวบยอด (Concept Development) กระบวนการนี้จะเกี่ยวของกับ ผูเรียนในการตรวจสอบลักษณะของความคิดรวบยอด และการจัดระเบียบหมวดหมู และมีผูเรียนในการตรวจสอบลักษณะของความคิดรวบยอด และการจัดระเบียบหมวดหมู และมี การปรับเปลี่ยนการจัดระเบียบ หรือจัดระเบียบใหม (Reorganizing) ความเขาใจอีกครั้ง จนกระทั่งสามารถเสาะแสวงหาและกําหนดรูปแบบได  กระตุนความคิดเดิม (Activation of Previous Knowledge) ความรูใหมๆควรมีความ เกี่ยวของกับโครงสรางทางปญญาที่ผูเรียนมีอยูกอนแลว หรือที่เรียกวาสกีมา (Schema) หรือ เปนรูปแบบขอมูลสารสนเทศที่สรางจากประสบการณเดิม โดยการกระตุนความรูเดิมจะสงผล ใหความรูใหมหรือขอมูลใหมที่จะเรียน มีความหมายและงายที่จะเรียนรู
  • 18. 2.วิเคราะห์งานวิจัยทีอาศัยพืนฐานทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม ปรมะ แขวงเมือง. (2556). การพัฒนานวัตกรรมทางปญญาที่สงเสริมการสรางความรูและการบันทึกใน หนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. ปรัศณียา กองอาษา. (2546). ผลของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวทาง พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน. นุชนาจ พลอยพันธ สุมาลี ชัยเจริญ และ ชลิสา โพธิ์นิ่มแดง. (2549). ผลของมัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวทฤษฎี พุทธิปญญา ที่ใช Keyword Method สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่องสัตว ชั้นประถมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแกน.
  • 19. ปรมะ แขวงเมือง. (2556). การพัฒนานวัตกรรมทางปญญาที่สงเสริมการสรางความรูและการ บันทึกในหนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน. - การออกแบบการสอนที่อาศัย หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการอยางไรในการออกแบบ เปนการใชกระบวนการ information processing โดยใชรูปแบบการวิจัยเชิงพัฒนา (Developmental research) แบบ Type I ซึ่งประกอบดวย 3 กระบวนการ คือ กระบวนการ ออกแบบ กระบวนการพัฒนา และกระบวนการประเมิน วิเคราะหขอมูลโดยดําเนินการดังนี้ 1) ขอมูลเชิงปริมาณที่เปนคะแนนทดสอบหลังเรียน ใชคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2) ขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณ ใชการวิเคราะหโปรโตคอล และแบบสอบถามความขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสัมภาษณ ใชการวิเคราะหโปรโตคอล และแบบสอบถามความ คิดเห็นใชการสรุปตีความ กระบวนการออกแบบ กระบวนการพัฒนา กระบวนการประเมิน ในกระบวนการออกแบบ มี จุดมุงหมายเพื่อ ออกแบบ นวัตกรรมทางปญญาที สงเสริมการสรางความรู  และ การบันทึกใน หนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน กระบวนการออกแบบ ประกอบด วย การวิ จัยเ อกสาร การศึกษาสภาพบริบทเกี่ยวกับการจัดการ เรียนการสอน สรางและพัฒนานวัตกรรมที่เปนนวัตกรรมทาง ปญญาที่สงเสริมการสรางความรู และการ บันทึกความจําสําหรับนักเรียน โดยอาศัย กระบวนการกระบวน การประมวลสารสน เทศตามหลักการของ Klausmeier ( 1985) ได  แก คือ 1) ความจําจากประสาทสัมผัส (2) ความจําระยะสัน3) ความจําระยะยาว โดยใชคําสําคัญ (Keyword) ของสื่อ มัลติมีเดียกับกระบวนการ ประมวลสารสนเทศเพื่อ ตรวจสอบความสอดคลอง ระหวางขอคําถามกับ กรอบแนวคิด
  • 20. ปรมะ แขวงเมือง. (2556). การพัฒนานวัตกรรมทางปญญาที่สงเสริมการสรางความรูและการ บันทึกในหนวยความจํา (Memory Process) สําหรับผูเรียน. (ตอ) - การออกแบบการสอนมีความสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 อยางไร พรอมทั้งอธิบายเหตุผล ผลของสื่อที่มีตอการประมวลสารสนเทศของผูเรียนที่เรียนดวยนวัตกรรมทางปญญาที่ สงเสริมการสรางความรูและการบันทึกในหนวยความจํา สําหรับผูเรียน พบวา คุณลักษณะ ของสื่อมัลติมีเดียและสัญลักษณของสื่อมัลติมีเดียมีผลตอการประมวลสารสนเทศของผูเรียนของสื่อมัลติมีเดียและสัญลักษณของสื่อมัลติมีเดียมีผลตอการประมวลสารสนเทศของผูเรียน ไดแก ภาพ เสียง และขอความ ถาเกิดขึ้นพรอมกันจะมีผลตอการประมวลสารสนเทศของ ผูเรียน ชวยใหผูเรียนเกิดความสนใจและใสใจมากยิ่งขึ้น และสงผลใหผูเรียนสามารถบันทึก ขอมูลในหนวยความจําระยะยาวและสามารถคนคืนขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ
  • 21. ปรัศณียา กองอาษา. (2546). ผลของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดียที่ พัฒนาตามแนวทาง พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. - การออกแบบการสอนที่ศึกษาไดอาศัย หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการอยางไรในการออกแบบ กระบวนการที่ใชในการออกแบบ แบงออกเปน 3 ชวง ไดแก ชวงที่ 1 เปนการศึกษานํารอง (Pilot Study) เปนการศึกษาเนื้อหาที่จะใชสรางบทเรียน กําหนดจุดประสงค เชิงพฤติกรรมและทําการศึกษานํารองเกี่ยวกับรูปแบบการเชื่อมโยงความรู ของผูเรียนแลวนําผลที่ไดจากการศึกษานํารองมาเปนขอมูลพื้นฐานในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน แบบมัลติมีเดีย ของผูเรียนแลวนําผลที่ไดจากการศึกษานํารองมาเปนขอมูลพื้นฐานในการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน แบบมัลติมีเดีย ชวงที่ 2 สรางและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย ตามขั้นตอนโดยนําผลที่ไดจาก การศึกษานํารองมาออกแบบสาร (Message Design) ตามแนวทางการขยายความคิดแลวนําไปหาประสิทธิภาพ ชวงที่ 3 นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่ออกแบบและหาประสิทธิภาพแลวไปทดลองกับกลุมตัวอยาง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย เรื่องคําศัพท ภาษาอังกฤษ จะสงเสริมการคิดเชื่อมโยงจาก ประสบการณเดิมของผูเรียนกับขอมูลใหมในเนื้อหาที่เรียนสงผลใหผูเรียนเขาใจและจดจําความหมายของคําศัพท ดวยวิธีการที่แตกตางในแตละบุคคล และสามารถทําใหเขาใจและจดจําไดดียิ่งขึ้นดวยวิธีการขยายความคิด คือ การใหผูเรียนรูคําศัพทโดยการจินตนาการเชื่อมโยงรูปภาพที่เปนเหตุการณที่คุนเคยหรือสอดคลองกับประสบการณ เดิมของตน
  • 22. ปรัศณียา กองอาษา. (2546). ผลของการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดียที่ พัฒนาตามแนวทาง พุทธิปญญานิยมบนพื้นฐานการขยายความคิด. (ตอ) - การออกแบบการสอนมีความสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 อยางไร พรอมทั้งอธิบายเหตุผล การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบมัลติมีเดีย เรื่องคําศัพท ภาษาอังกฤษ สอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาคือเปนการสอนที่ สอนนอยลงผูเรียนเรียนรูไดมากขึ้น (Teach Less, Learn More) และสอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คือสงเสริมใหนักเรียนมีLess, Learn More) และสอดคลองกับการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คือสงเสริมใหนักเรียนมี ทักษะดานการเรียนรูและนวัตกรรม ในสวนของการคิดแบบมีวิจารณญาณนักเรียนสามารถ เชื่อมโยงความสัมพันธของสิ่งตางๆ และเกิดการเรียนรู
  • 23. นุชนาจ พลอยพันธ สุมาลี ชัยเจริญ และ ชลิสา โพธิ์นิ่มแดง. (2549). ผลของมัลติมีเดียที่พัฒนา ตามแนวทฤษฎีพุทธิปญญา ที่ใช Keyword Method สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่อง สัตว ชั้นประถมศึกษาปที่ 5. - การออกแบบการสอนที่ศึกษาไดอาศัย หลักการ ทฤษฎี และกระบวนการอยางไรในการออกแบบ งานวิจัยกลาวถึงเรื่องปญหาในชั้นเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับประถมศึกษาปที่ 5 วารูปแบบการเรียน การสอนนั้นเปนการเรียนที่เปนการทองจํา แตกระบวนการสอนไมมีเทคนิคในการจําที่ดี ไมสามารถสรางรหัสเพื่อให นักเรียนสามารถจําไดอยางมีความหมาย สงผลใหผูเรียนเรียนโดยไมมีหลักการ ไมเกิดจากความสนใจ วิธีแกปญหา ผูวิจัยไดนําแนวคิดการใช Keyword Method เขามาชวยในการออกแบบการสอน ซึ่งเปนเทคนิคในวิธีแกปญหา ผูวิจัยไดนําแนวคิดการใช Keyword Method เขามาชวยในการออกแบบการสอน ซึ่งเปนเทคนิคใน การจําอยางมีความหมาย อาศัยภาพในการเชื่อมโยงเรื่องราว เพื่อใหนักเรียนสามารถเรียนรูคําศัพทไดอยางมี ความหมาย ในกระบวนการออกแบบ ผูวิจัยไดศึกษาและพบวาสื่อที่เอื้อตอการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาภาษาอังกฤษคือ คอมพิวเตอร โดยเฉพาะในรูปแบบของสื่อประสม (มัลติมีเดีย) เนื่องจากเปนสื่อที่สามารถนําเสนอไดทั้งขอความ ภาพนิ่ง เสียง หรือแมแตภาพเคลื่อนไหว ซึ่งจะชวยเสริมแรงและจูงใจในการเรียนรูของผูเรียน ผูวิจัยจึงไดทําการ ออกแบบการสอนแบบมัลติมีเดียโดยอาศัยทฤษฎีพุทธิปญญานิยม โดยเนนใหผูเรียนมีกระบวนการพื้นฐานของ ความจําครบทั้ง 3 กระบวนการ อันไดแก การเขารหัส, การเก็บ และการคนคืนขอมูล
  • 24. นุชนาจ พลอยพันธ สุมาลี ชัยเจริญ และ ชลิสา โพธิ์นิ่มแดง. (2549). ผลของมัลติมีเดียที่พัฒนา ตามแนวทฤษฎีพุทธิปญญา ที่ใช Keyword Method สาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ เรื่อง สัตว ชั้นประถมศึกษาปที่ 5. (ตอ) -การออกแบบการสอนมีความสอดคลองกับยุคปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 อยางไร พรอมทั้งอธิบายเหตุผล การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษนั้น เปนการเรียนในรูปแบบที่เนนกระบวนการทองจํา แต เพื่อใหผูเรียนเขาใจไดดียิ่งขึ้นและงายตอการจํา รวมถึงสามารถเรียกขอมูลความจํามาใชเมื่อ ตองการได จึงตองมีการออกแบบรูปแบบการเรียนรูที่สงเสริมกระบวนการคิดของผูเรียนใหตองการได จึงตองมีการออกแบบรูปแบบการเรียนรูที่สงเสริมกระบวนการคิดของผูเรียนให สามารถจัดระเบียบความจําเพื่อเชื่อมโยงความรูใหมเขากับความรูเดิมได ซึ่งการออกแบบการ สอนที่ใชแนวความคิดจากทฤษฎีพุทธิปญญานิยมก็สามารถนํามาใชไดอยางเหมาะสม
  • 25. สมาชิกในกลุ่ม  575050027-7 นางสาวปรียานันท อัครวงศ  575050180-9 นางสาวจิรายุ ศักดาจารุวงศ  575050191-4 นายวีรวัฒน สุดหา  575050194-8 นางสาวสุธาทิพย เหวขุนทด  575050196-4 นางสาวสุนิจฐา พองพรหม