SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา




                                   Theoretical
                                   Foundation
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา




มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาที ่ เ กี ่ ย ว
        กั บ เทคโนโลยี
      และสื ่ อ การศึ ก ษา
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา




มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการ
เรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละ                         บทที ่
สื ่ อ การศึ ก ษา
                                                          3
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา

โครงร่ า งเนื ้ อ หาของบท                               คำ า สำ า คั ญ
   1. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรูกลุม
                              ้ ่             • พฤติกรรม
      พฤติกรรมนิยม
                                              • การวาง
   2. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรูกลุมพุทธิ
                               ้ ่              เงื่อนไข
      ปัญญานิยม
   3. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรูกลุมคอน
                                ้ ่           • การเสริมแรง
      สตรัคติวสต์
              ิ                               • กระบวนการ
วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้                ทางพุทธิ
                                                ปัญญา
    1. อธิบายความคิดรวบยอดของทฤษฎี            • การประมวล
        การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิ      สารสนเทศ
        ปัญญานิยมและคอนสตรัคติสต์ได้
                                              • โครงสร้าง
    2. วิเคราะห์การออกแบบสื่อและ                ทางปัญญา
        เทคโนโลยีการศึกษาของแต่ละกลุ่ม
        ทฤษฎีการเรียนรู้ได้                   • การสร้าง
                                                ความรู้
    3. อธิบายการนำาหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ • การเสียสมดุล
        ไปใช้ให้สอดคล้องกับการเรียนที่เน้นผู้
        เรียนเป็นสำาคัญได้                      ทางปัญญา
กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้                       • ฐานการช่วย
                                                เหลือ
    1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ • การร่วมมือกัน
        เรื่อง มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้     แก้ปัญหา
        กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา           • การโค้ช
    2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3
        คน ศึกษาจากสิ่งแวดล้อมทางการ
        เรียนรู้บนเครือข่าย
        http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web
        -230301/ โดยนักศึกษาศึกษา
        สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3 วิเคราะห์
        ทำาความเข้าใจค้นหาคำาตอบจาก
        เอกสารประกอบการสอนและแหล่ง
        เรียนรู้บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคำา
        ตอบ และนำาเสนอในรูปแบบ Power
        point
    3. นักศึกษาร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ
        แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้ง
        ประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม



      สถานการณ์ ป ั ญ หา(Problem-based learning)
       หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจำาความรู้
ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้
สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศใน
ปัจจุบัน โดยนำาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรี
ได้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง
เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นำาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มี
รูปภาพประกอบก็นำารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา
และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ
เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรง
ตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการ
สอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมาก
ขึ้น
        แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า
ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็น
อย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความ
สนใจ แต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้
เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครู
สมศรีสร้างขึ้น ทั้งผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไ ม่ แ ตกต่ า ง
กั น จึงทำาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทำาไมจึงเป็นเช่นนี้
ในฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธี
การช่วยเหลือครูสมศรีอย่างไร
ภารกิ จ
      1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำาให้การเรียนรู้จากสื่อของครู
สมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบาย
เหตุผล
      2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการ
สอนและสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
      3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบ
การสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบาย
พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                                41
                                                            การศึ ก ษา



        มุ ม มอง                                             มุ ม มอง
    จิ ต วิ ท ยาการ                                      จิ ต วิ ท ยาการ


  -การเรียนรู้ตาม                                      -การเรียนรู้
                                                                 ตามแนว
  แนวพฤติกรรม                                          พุทธิปัญญานิยม
  นิยม                                                 -เทคโนโลยีและ
  -เทคโนโลยีและ                    สาระ                สื่อการศึกษาตาม
  สื่อการศึกษาตาม                                      แนวพุทธิปัญญา
  แนวพฤติกรรม                     สำ า คั ญ            นิยม
  นิยม
                                  ในบท


                           มุ ม มองจิ ต วิ ท ยา
                           การเรี ย นรู ้ ก ลุ ่ ม
                          -การเรียนรู้ตาม
                          แนวคอนสตรัคติ
                          วิสต์
                          -เทคโนโลยีและสื่อ
                          การศึกษาตามแนว
                          คอนสตรัคติวิสต์

            ทฤษฎีการเรียนรูเป็นกลุมของหลักการทังหลายทีอธิบายวิธี
                             ้            ่                ้          ่
การเรียนรูของมนุษย์ ซึงรวมทังวิธการได้มาซึงความ
                 ้         ่           ้ ี               ่
สามารถ(Abilities) และความรูใหม่ (Knowledge) ดังนันการ
                                     ้                            ้
ทำาความเข้าใจว่าคนเราเรียนรูได้อย่างไรจึงเป็นหัวใจสำาคัญทีจะ
                                        ้                                       ่
นำาไปเป็นพืนฐานในการออกแบบการสอน สือ และนวัตกรรม
                   ้                                   ่
ทางการศึกษาอืนๆ การศึกษาเกียวกับการเรียนรูนนได้เกิดขึนกว่า
                     ่                      ่                ้ ั้         ้
ร้อยปีทผานมา และมีหลายทฤษฎีทอธิบายถึงการเรียนรู้ (Driscoll,
            ี่ ่                              ี่
1994; Gredler, 1997) ซึงทฤษฎีเหล่านันสามารถจัดเป็น 3 กลุม
                               ่                 ้                            ่
ใหญ่ดวยกัน (Newby, T.J. and Others, 2000) คือ ทฤษฎีการ
          ้
เรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธิปญญานิยม
         ้ ่                                         ้ ่            ั
และทฤษฎีการเรียนรูกลุมคอนสตรัคติวสซึม ในแต่ละกลุมทฤษฎีจะ
                         ้ ่                       ิ                    ่
มีแนวคิดหลัก และรูปแบบเกียวกับการเรียนรูทแตกต่างกัน ซึง
                                   ่                  ้ ี่                  ่
นักการศึกษาได้นำาไปเป็นพืนฐานในการออกแบบการจัดการเรียน
                                 ้
รู้ ดังรายละเอียดทีจะได้นำาเสนอต่อไปนี้
                       ่
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา

มุ ม มองจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ลุ ่ ม พฤติ ก รรมนิ ย ม

การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม
       กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorismหรือ S-R
Associationism) มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า
(Stimulus) กับการตอบสนอง (Response) หรือพฤติกรรมที่
แสดงออกมา ซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัดและ
สังเกต จากภายนอกได้และเน้นความสำาคัญของสิ่งแวดล้อม
เพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำาหนดพฤติกรรม ในแนวคิด
ของกลุ่มนี้จะเชื่อว่า การเรียนรู้
จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความ
เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ
ตอบสนอง ซึ่งถ้าหากได้รับการ
เสริมแรงจะทำาให้มีการแสดง
พฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น
(Mayer, 1992; สุมาลี ชัยเจริญ,
2551) แนวคิดการเรียนรู้ตาม
แนวพฤติกรรมนิยมได้ถูก
พัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของ
ศตวรรษที่ 20 และรากฐานของ
หลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษา
วิจัยพฤติกรรมการเรียนรู้ของ
สัตว์ในห้องทดลองที่ถูกกำาหนด
ขึ้นภายใต้เงื่อนไขและการ
ควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆดังเช่น การทดลองของพาฟลอฟ
(Povlov) วัตสัน (Watson) และสกินเนอร์ (Skinner)
       ดั้งนั้นนิยามของการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม จึง
หมายถึง การเปลี ่ ย นแปลงพฤติ ก รรมซึ ่ ง เป็ น ผลเนื ่ อ งมา
จากการเชื ่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ ่ ง เร้ า และการ
ตอบสนอง จะมุ ่ ง เน้ น เพี ย งเฉพาะพฤติ ก รรมที ่ ส ามารถ
วั ด และสั ง เกตได้ เ ท่ า นั ้ น โดยไม่ ศ ึ ก ษาถึ ง กระบวนการ
ภายในของมนุ ษ ย์ (Mental process)
       จากแนวคิดดังกล่าวบทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับ
(Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่เรียนรู้
เช่น รางวัล การลงโทษหรือแม้แต่แรงเสริม เป็นต้น ในขณะที่
บทบาทของครูจะเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน เช่น
การทำาแบบฝึกหัดซำ้าๆ (Drill- and-practice) การเสริมแรง
(Reinforcement) เป็นต้น ส่วนบทบาทของนักเทคโนโลยีการ
ศึกษาคือผู้ที่สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนทำาซำ้าๆ
ในการตอบสนองที่ง่ายๆ ซึ่งจะได้รับผลตอบสนองกลับทันที
ทันใดในขณะที่เรียนรู้ (Mayer, 1996)


เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ การศึ ก ษาตามแนวพฤติ ก รรมนิ ย ม
       การออกแบบสื่อตามพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูก
เรียกว่า การออกแบบการสอนในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการ
ออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำาความรู้ให้ได้ในปริมาณมาก
ที่สุดบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                                           41
                                                            การศึ ก ษา
สอนจะเป็นผู้นำาเสนอข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตำาราเรียน การ
บรรยาย ตามแนวคิดนี้ข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด โดยตรงจาก
ครูผู้สอนไปยังผู้เรียน บทบาทของนักออกแบบการสอน หรือครู
จะเป็นการสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องดูดซับข้อมูล
สารสนเทศจำานวนมาก เช่น บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน และ
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยลักษณะที่สำาคัญของการ
ออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยมเป็นดังนี้ (Newby, T.J. and
O the rs, 2000)
        1 ) ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน โดยกำาหนด
พฤติกรรมเฉพาะที่ต้องการให้เกิดขึ้นหลังจากการเรียนรู้นั้น
ประสบความสำาเร็จ ซึ่งวัตถุประสงค์จะเป็นตัวชี้วัดที่สำาคัญว่าผู้
เรียนเกิดการเรียนรู้
        2) การสอนในแต่ละขั้นตอน นำาไปสู่การเรียนแบบรอบรู้
(Mas te ry le arning) ในหน่วยการสอนรวม
        3) ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง
        4) ดำาเนินการสอนไปตามโปรแกรม หรือลำาดับขั้นที่
กำาหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดยเป็นการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน
ย่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำาได้ง่าย
        5) การออกแบบการเรียนเป็นลักษณะเชิงเส้นที่เป็นลำาดับ
ขั้นตอน
        6) การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผู้เรียนกระทำา
พฤติกรรมนั้นเสร็จจะได้รับผลกลับพร้อมทั้งแรงเสริมทันทีทันใด
ในขณะที่เรียนรู้
 มุ ม ม อ ง จ ิ ต ว ิ ท ย า ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ก ล ุ ่ ม พ ุ ท ธ ิ ป ั ญ ญ า น ิ ย ม

การเรียนรู้ตามแนว พุทธิปัญญ า นิยม
     กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่ง
ที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดย
ให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความ
เข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์
     ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ต า ม แ น ว พ ุ ท ธ ิ ป ั ญ ญ า หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้าน
คุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยัง
สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ
เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถ
ถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบท
และปัญหาใหม่ (Mayer, 1992) อาจกล่าวได้ว่าการเรียนรู้ตาม
แนวคิดนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวางสารสนเทศใหม่ใน
ความจำาระยะยาว (Long-term memory) ซึ่งจะแตกต่างกันการ
เรียนรู้ของพฤติกรรมนิยมที่จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรม
ภายนอกที่แสดงออกมา
                                         ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
                                     นิยมได้พัฒนามาตั้งแต่ปี 1950s, 1960s
                                     และ 1970s เป็นต้นมา และรากฐานของ
                                     หลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการ
                                     เรียนรู้ของมนุษย์ในห้องทดลองที่ที่ถูก
                                     กำาหนดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและการ
                                     ควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น เพียเจต์
                                     บรูเนอร์ และออซูเบล เป็นต้น ตาม
                                     แนวคิดนี้บทบาทของผู้เรียนจะรอรับ
                                     สารสนเทศ ในขณะที่บทบาทของครูจะ
                                     เป็นผู้นำาเสนอสารสนเทศ เช่น หนังสือ
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา
และการบรรยาย ซึ่งการได้มาซึ่งความรู้หรือการเรียนรู้ตาม
แนวคิดนี้ก็คือปริมาณของสารสนเทศที่ได้รับจากการถ่ายทอด
โดยตรงจากครูไปยังผู้เรียน ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้
สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถรับ
สารสนเทศไปเก็บไว้ในหน่วยความจำา (Memory) ได้ในปริมาณ
มาก
เทคโน โ ล ยีแล ะสื่อกา ร ศึก ษ า ต า ม แ น ว พ ุ ท ธิปั ญ ญ า นิ ย ม
        การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวคิดนี้จะอยู่บน
นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้
เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ หรือการเรียนรู้เป็นผล
มาจากการจัดระเบียบ หรือ จัดหมวดหมู่ของความจำาลงสู่
โครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า Mental Models คือ นอกจาก
ผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบ
เรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้น ให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียก
กลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยงความรู้ และ
ทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่"
(Mayer,1996) ซึ่งจะแตกต่างกับการออกแบบเทคโนโลยีและสื่อ
ที่อาศัยพื้นฐานพฤติกรรมนิยมที่มุ่งเน้นพฤติกรรม ที่สังเกตได้
เท่านั้น โดยมิได้สนใจกับกระบวนการรู้คิด หรือกิจกรรมทางสติ
ปัญญาของมนุษย์ (Mental Activities) แต่กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
ให้ความสำาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ "ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า
ภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้
ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด หรือกระบวนการรู้คิด
(Cognitive Process) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ขอบเขตที่เกี่ยวข้อง
กับกระบวนการรู้การคิด (Cognitive Process) ดังจะเห็นได้จาก
การออกแบบการสอน และสื่อที่ได้มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการ
ทางปัญญามากกว่า การเน้นเฉพาะการพัฒนาพฤติกรรม ที่สนอง
ต่อสิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว
        แนวคิดที่สำาคัญของการออกแบบมุ่งเน้นการสนับสนุน
กระบวนการทางพุทธิปัญญาของผู้เรียนโดยเฉพาะบทบาทของ
การใช้หน่วยความจำา (Memory) เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศ
ใหม่ลงไปในรูปแบบที่มีความหมายสำารับผู้เรียนในการบันทึก
ความรู้และการนำาความรู้ที่เก็บไว้กลับมาใช้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยลักษณะที่สำาคัญของการออกแบบเทคโนโลยี
และสื่อตามแนวพุทธิปัญญาเป็นดังนี้
        1) การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้าง
สารสนเทศให้กับผู้เรียน เพราะว่ากิจกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์
จะพยายามค้นหาและเรียงลำาดับสารสนเทศเพื่อใช้ในการ
ทำาความเข้าใจ ดังนั้นหากผู้สอนมีการจัดระเบียบสารสนเทศจะ
ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเข้าใจในหน่วยความจำาได้ง่าย
เช่น การสร้างโครงร่างของเนื้อหา การจัดความคิดรวบยอดที่
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่จะเรียนรู้ (Concept map)
เป็นต้น




        ภ า พ ท ี ่ 3-1 แสดงการจัดระเบียบสารสนเทศตามแนวคิด
                      ของ Ormrod, J.E. (1999)
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                                             41
                                                            การศึ ก ษา
         2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับ
ความรู้เดิม วิธีการนี้จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมาย
และเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (O rm rod , 1 999)
         3) ใช้เทคนิคเพื่อแนะนำาและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เข้า
รหัสและเรียกสารสนเทศกลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งมีเทคนิคที่ผู้สอน
ควรนำาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนดังนี้
                 3.1 การมุ่งเน้นคำาถาม (Focusing question) ซึ่งนำามา
ใช้ในขั้นนำาเข้าสู่บทเรียนเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนใส่ใจในสิ่งที่จะ
เรียนรู้
                 3.2 การเน้นคำาหรือข้อความ (H igh ligh ting) เป็น
เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนใส่ใจสานสนเทศได้โดยตรง โดย
เฉพาะสารสนเทศที่สำาคัญที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ใจเป็นพิเศษ
เช่น ก า ร ใ ช ้ ต ั ว อ ั ก ษ ร ห น า การขีดเส้นใต้ การทำาตัวอักษร
เอียง การใช้เครื่องหมาย “...” เป็นต้น
                 3.3 การใช้ Mnemonic เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียน
สามารถบันทึกสารสนเทศและเรียกกลับมาใช้ได้ง่าย ดังเช่น การ
ใช้คำาคล้องจอง การแต่งเป็นบทเพลงที่ต้องให้ผู้เรียนจดจำาสระไอ
ไม้ม้วนทั้ง 20 ตัว (ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ...)
เป็นต้น
                 3.4 การสร้างภาพ (Imagery) เป็นการสร้างภาพที่
เป็นตัวแทนสารสนเทศใหม่ที่ได้รับ ซึ่งจะมีความถูกต้องและ
สอดคล้องกับสารสนเทศที่เรียนรู้ เช่น การสร้างความคิดรวบยอด
เกี่ยวกับสุนัข การใช้เทคนิคการสร้างภาพก็จะพยายามนึกถึง
คุณลักษณะร่วมและลักษณะเฉพาะที่สุนัขมีออกมาในรูปแบบของ
ภาพ คือ มีสี่ขา มีหนาและเห่าได้ ภาพเหล่านี้ผู้เรียนจะสร้างขึ้น
ภาพในสมอง และนำาไปบันทึกไว้ในหน่วยความจำา และเมื่อ
ต้องการใช้สารสนเทศก็จะถูกเรียกกลับมาในลักษณะที่เป็นภาพที่
แทนสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 มุ ม ม อ ง จ ิ ต ว ิ ท ย า ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ก ล ุ ่ ม ค อ น ส ต ร ั ค ต ิ ว ิ ส ต ์

การเรียนรู้ตามแนวค อ น ส ต รัคติวิสต์
           ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้
เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความ
เข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการ
สร้างสิ่งแทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการ
เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง (Jonassen, 1991)
แนวคิดนี้เกิดขึ้นมาใช้ช่วง คศ.1980s และ 1990s และรากฐาน
ของหลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการเรียนรู้ของมนุษย์ใน
สภาพจริง (Realistic) ตามแนวคิดนี้บทบาทของผู้เรียนคือผู้สร้าง
ความรู้ ในขณะที่ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้แนะนำาทางพุทธิปัญญา
(Cognitive guide) ที่ให้คำาแนะนำาและรูปแบบเกี่ยวกับภารกิจการ
เรียนรู้ตามสภาพจริง บทบาทของผู้เรียนคือลงมือกระทำาการ
เรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้สร้างสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ
เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน
(Meyer, 1996) ในงานทางเทคโนโลยีการศึกษาได้นำาทฤษฎีคอน
สตรัคติวิสต์ที่สำาคัญ 2 กลุ่มแนวคิดมาใช้เป็นพื้นฐาน คือ ทฤษฎี
คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive Constructivism) และ
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
            ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา มีรากฐานมาจาก
แนวคิดของเพียเจต์ โดยมีหลักสำาคัญว่ามนุษย์เราต้อง "ส ร ้ า ง "
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา

(Construct) ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่ง
ประสบการณ์เหล่านี้ จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้าง โครงสร้ า งทาง
ปั ญ ญา หรื อ เรี ย กว่ า สกี ม า (S chemas) รู ป แบบการ
ทำ า ความเข้ า ใจ ( Mental Model) ในสมอง โครงสร้างทาง
ปัญญาเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (C hange) ขยาย
(En large ) และซับซ้อนขึ้นได้ โดยผ่านทางกระบวนการการดูด
ซึม (Assim ilation) และการปรับเปลี่ยน (Accom m odation) ดังนั้น
บทบาทของครูผู้สอนในห้องเรียน ตามแนวคิดของเพียเจต์
บทบาทที่สำาคัญคือ การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้
สำารวจ ค้นหา ตามธรรมชาติห้องเรียนควรเติม สิ่งที่น่าสนใจที่จะ
กระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง อย่างตื่นตัวโดย
การขยาย สกีมาผ่านทางประสบการณ์ด้วยวิธีการดูดซึม
(Assim ilation) และ การปรับเปลี่ยน (Accom m odation) ซึ่งเชื่อ
ว่าการเรียนรู้เกิดจากการปรับเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilib rium )




 ภาพที ่ 3-2 แสดงกระบวนการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอน
                     สตรัคติวิสต์เชิงปัญญา
                 ตามแนวคิดของเพียเจต์
        พื้นฐานแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม มาจาก
แนวคิดของ Vygotsky ที่มีแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างความรู้ของ
มนุษย์ใน 2 แนวคิดที่ว่า บริ บ ทการเรี ย นรู ้ ท างสั ง คม (Social
Context Learning) วัฒนธรรม ภาษาจะเป็นเครื่องมือทาง
ปัญญาที่จำาเป็นสำาหรับการสร้างความรู้และ Vygotsky เชื่อว่า
มนุษย์เรามีระดับพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาที่เรียกว่า Zone of
Proximal Development ถ้าใครที่อยู่เหนือโซนนี้สามารถที่ จะ
เรียนรู้และสร้างความรู้เองได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องได้รับการ
ช่วยเหลือ แต่ถ้าใครที่อยู่ใต้โซนนี้จะเป็นผู้ที่ไม่สามารถเรียนรู้
หรือแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จึงจำาเป็นที่จะต้องมีฐานความช่วย
เหลือ (Scaffolding) ไว้คอยช่วยให้สามารถข้ามไปอยู่เหนือโซน
ได้และ Vygotsky ยังเชื่อว่ามนุษย์เราไม่ได้อยู่เหนือโซนในทุก
เรื่อง ดังนั้นในการออกแบบการเรียนการสอนจึงต้องมีการจัด
ฐานความช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียน
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา




ภ า พ ท ี ่ 3-3 แสดงกระบวนการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอน
                สตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky
เทคโน โ ล ยีแล ะสื่อกา ร ศึก ษ า ต า ม แ น ว ค อ น ส ต รั ค ติวิสต์
        การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ จะมีพื้น
ฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ให้นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้
ว่าเป็นการสร้างความรู้ (KnowledgeConstruction) ซึ่งมาจากพื้น
ฐานที่ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้
ใน ความจำาในระยะทำางาน (Working Memory) อย่างตื่นตัว
แนวคิดดังกล่าวข้างต้นเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ 1980s และ 1990s เป็น
ตันมาโดยทำาการศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ในสภาพจริง วิธีการ
เรียนรู้ภายใต้แนวคิดการสร้างความรู้นี้ บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้
ทีลงมือกระทำาอย่างตื่นตัว ในขณะที่ ครูผู้สอนเป็นผู้แนะแนวทาง
  ่
พุทธิปัญญา ซึ่งจะจัดแนะแนวและเป็นโมเดลในภารกิจการเรียน
ตาม สภาพจริง บทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษาหรือครูจะ
เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมาย
กับเนื้อหาบทเรียน รวมทั้งการทำาให้เกิดกระบวนการเลือกข้อมูล
จัดหมวดหมู่ข้อมูล และการบูรณาการข้อมูล ซึ่งคุณลักษณะของ
การเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคตวิสต์ มีดังนี้
    1) นำาเสนอและส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นมุมมองและตัวแทน
        ความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่หลากหลาย
    2) เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการเรียนได้มาจากผู้เรียน
        หรือการเจรจาร่วมกับผู้สอน
    3) ผู้สอนให้บริการในบทบาทของผู้แนะนำา ผู้กำากับ โค้ช และ
        ผู้อำานวยความสะดวกในการเรียน
    4) กิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดล้อมต่างๆจัดมาเพื่อ
        ส่งเสริมการกำากับวิธีการเรียนรู้โดยอาศัยความคิดของ
        ตนเอง (metacognition) ดังเช่น การวิเคราะห์ตนเอง (self-
        analysis) การควบคุมการเรียนด้วยตนเอง (self-
        regulation) การสะท้อนความคิดของตนเอง(self-
        reflection) และการตระหนักรู้ด้วยตนเอง (self-
        awareness)
    5) ผู้เรียนต้องมีบทบาทสำาคัญในการใช้สื่อและควบคุมการ
        เรียนรู้ด้วยตนเอง
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                                         41
                                                            การศึ ก ษา
    6) สถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ
        จะเกี่ยวข้องกับสภาพจริง และสอดคล้องกับบริบทจริงที่มี
        ความซับซ้อน
    7) ข้อมูลแหล่งเรียนจะถูกใช้เพื่อที่จะทำาให้มั่นใจในสภาพ
        จริง
    8) การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่มุ่งเน้นในการเรียนรู้ไม่ใช่การคัด
        ลอกความรู้
    9) การสร้างความรู้จะเกิดขึ้นในบริบทของแต่ละบุคคลที่ผ่าน
        การต่อรองทางสังคม             การร่วมมือการเรียนรู้และการมี
        ประสบการณ์ร่วมกัน
    10)การสร้างความรู้เดิมของผู้เรียน ความเชื่อ และเจตคติ จะ
        เป็นสิ่งสำาคัญที่นำามาพิจารณาในกระบวนการสร้างความรู้
        ใหม่
    11)เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหา ทักษะการคิดขั้น
        สูง และความเข้าใจที่ลึกซึ้ง
    12)ความผิดพลาดเป็นสิ่งที่ทำาให้เกิดโอกาสในการหยั่งรู้ที่นำา
        ไปสู่การสร้างความรู้ของผู้เรียน
    13)การสำารวจเป็นวิธีการที่นิยมเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียน
        ค้นหาความรู้ด้วยตนเองและจัดการเกี่ยวกับตนเองเพื่อให้
        บรรลุเป้าหมาย
    14)ผู้เรียนจะได้รับการจัดหาโอกาสสำาหรับการฝึกหัดทาง
        ปัญญา ซึ่งจะอยู่ในภารกิจการเรียนรู้ตามสภาพจริง ทักษะ
        และการได้มาซึ่งความรู้
    15)ความซับซ้อนของความรู้จะถูกสะท้อนออกมาโดยมุ่งเน้น
        ความเชื่อมโยงกับความคิดรวบยอดที่หลากหลายและการ
        เรียนรู้ที่ต้องเชื่อมโยงหลายศาสตร์
    16)การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการเรียนแบบร่วมมือเป็นที่
        นิยมเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนมุมมองที่
        หลากหลาย
    17)ฐานการช่วยเหลือถูกจัดไปเอื้ออำานวยเพื่อช่วยผู้เรียนให้
        สามารถข้ามข้อจำากัดทางการเรียนรู้
    18)การประเมินเป็นการประเมินตามสภาพจริง
        จากแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ตามพื้นฐานทางทฤษฎีการ
เรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ ดังกล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า งานที่
สำาคัญของครูก็คือ ช่วยนักเรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้ โดยมี
ครูทำาหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียน
รู้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ตอบสนองกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็นศูนย์กลาง
        จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง
เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนา
กระบวนการคิดอย่างอิสระสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ตลอดจน
เรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเองโดยใช้วิธีการเรียนรู้ที่ หลาก
หลาย เพื่อนำาไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคมไทย คือ
สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและทำางานเป็นทีมเพื่อ
ประโยชน์ของสังคมไทยโดยมีเป้าหมายให้คนไทยมีศักยภาพ ใน
การแข่งขัน และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ ซึ่งจะเรียกว่า ก า ร จ ั ด
สิ่ง แ ว ด ล ้ อ ม ท า ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู้ ต า ม แ น ว ค อ น ส ต ร ั ค ต ิ วิ ส ต ์
(Constructivist Learning Environ ments) เป็นรูปแบบการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง "สื่อ"
(Media) กับ "วิธีการ" (Methods) โดยการนำาทฤษฎีคอนสตรัคติ
วิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะ
ของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้
ของผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการสำาคัญที่ใช้ในการ
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา
ออกแบบดังนี้ (1) สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3)
ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ(5) การโค้ช
สำาหรับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้น การพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระและ
สร้างความรู้ได้ด้วยตนเองของผู้เรียน เช่น สิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ มัลติมีเดีย
ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ชุดการสร้างความรู้ตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2547) ดังรายละเอียดใน
ตาราง
  ต า ร า ง ท ี ่ 3.1 เปรียบเทียบมุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ทั้งสาม
                               กลุ่มแนวคิด
                   พฤติกรรม             พุทธิปั ญ ญ า        คอนสตรัค
                     นิยม                  นิยม               ติวิสต์
การเรียนรู้      การ                   การ                   การ
คืออะไร          เปลี่ยนแปลง           เปลี่ยนแปลง           เปลี่ยนแปลง
                 พฤติกรรมที่เกิด       ของความรู้ที่ถูก      อย่างมีความ
                 ขึ้น                  เก็บไว้ในหน่วย        หมายเกี่ยว
                                       ความจำา               กับรู้ที่สร้าง
                                                             ขึ้น
กระบวนการ        Antecedent           การใส่ใจก การ         การร่วมมือ
เรียนรู้คือ      behavior             เข้ารหัสเ การ         กันแก้ปัญหา
อะไร             consequence           เรียกกลับของ
                                       สารสนเทศใน
                                       หน่วยความจำา
บทบาทของ         บริหารจัดการ          นำาเสนอ               แนะนำาและ
ผู้สอนคือ        สิ่งเร้าที่จะให้ผู้   สารสนเทศ              ให้รูปแบบ
อะไร             เรียน
บทบาทของ         รับสิ่งเร้าที่ครู     รอรับ                 สร้างความรู้
ผู้เรียน         จัดให้                สารสนเทศ              อย่างตื่นตัว
สรุป
        ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา กระบวนทัศน์ใหม่
ทางการเรียนรู้ คือ คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ได้เข้ามามี
อิทธิพลต่อการศึกษา และงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งมี
ความเชื่อว่า การรู้จักและตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของ
แต่ละบุคคลนั้น เกิดจากการสร้างแนวคิดของ ตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่
เป็นวัตถุจริง (Real World) ดังนั้น นักการศึกษาที่เชื่อในกระบวน
ทัศน์ เดิมคือทั้งพฤติกรรมนิยมและพุทธิปัญญานิยม จะพยาม
จัดการสอนโดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือ
เติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ตำารา สื่อการสอนต่าง ๆ
แต่ในทางตรงข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เรียนจะ
เป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระทำา และอธิบายความ
หมายโลกรอบ ๆ ตัวผู้เรียน
        และแนวโน้มต่อไปเกี่ยวกับการนำาทฤษฎีมาสู่งานทางด้าน
เทคโนโลยีการศึกษานั้นจะผสมผสาน หลักการต่างๆ ทั้ง 3 มาใช้
เป็นวิธีการใหม่ ดังนั้น ผู้เขียนมีความเห็นว่า ครูผู้สอน นัก
ออกแบบการสอน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำาเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับ
หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ทั้ง 3 ดังกล่าวให้เกิดความเข้าใจ
อย่างลึกซึ้ง และสามารถ นำามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ของผู้
เรียนได้อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสาน
แนวคิด หลักการดังกล่าวให้ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้และ
สภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา


คำ า ถามสะท้ อ นความคิ ด

    ท่านคิดว่าจิตวิทยาการเรียนรู้มีความ
     สำาคัญในทางเทคโนโลยีการศึกษาอย่างไร
    ท่านคิดว่าในระบบการศึกษาไทยส่วนใหญ่
     อาศัยพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ใดเป็นหลัก เพราะเหตุใด
    ท่านคิดว่าพื้นฐานจิตวิทยาการเรียนรู้แต่ละกลุ่มมีจุดอ่อน
     และจุดแข็งอย่างไรบ้าง

กิ จ กรรมเสนอแนะ

ให้ท่านลองวิเคราะห์พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ.2542 ว่ามีความสอดคล้องกับพื้น
ฐานจิตวิทยาการเรียนรู้ใด เพราะเหตุใด
บรรณานุ ก รม

สุมาลี ชัยเจริญ. (2547). การพั ฒ นารู ป แบบการสร้ า งความ
     รู ้ โ ดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ. คณะศึกษาศาสตร์
     มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2551).เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา: หลั ก การ
     ทฤษฎี สู ่ ก ารปฏิ บ ั ต ิ .ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for
     instruction. Boston: Allyn and Bacon.
Gredler, M. E. (1997). Learning and instruction: Theory
     into practice (3rd ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice-
     Hall.
Jonassen, D. (1991). Objectivism vs constructivism: Do we need
     a new philosophical paradigm? Educational
     Technology, Research and Development,
     39(3), 5-13.
Jonassen, David H. (1991). Evaluating constructivistic
     learning. Educational Technology, 31, 28-33.
Jonassen,D.H. and Reeves,T.C.(1996). Learning with
     technology: Using Computer as cognitive tools. In D.H.
     Jonassen (Ed.), Handbook of research for
     educational communication and technology. New
     York:Macmillan.
Mayer, R. E. (1992). Thinking, problem solving,
     cognition. Second edition. New York: W. H.
บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ
                                                                            41
                                                           การศึ ก ษา
Mayer,R.E. (1996). Designing Instruction for Constructivist
    Learning. Instructional Design Theories And Models:
    A New Paradigm of Instructional Theory.Volume II .
    Newjersy: Lawrence ErlbaumAssociates.
Meyer .(1997). Multimedia learning: Are we asking the right
    question. Educational Psychologist, 32, 1-19.
Newby, T. J., Stepich, D. A., Lehman, J. D., & Russell, J. D.
    (2000). Instructional technology for teaching and
     learning Designing instruction, integrating
     computers, and using media (secondedition).
    EnglewoodCliffs, NJ: Prentice-Hall.
Ormrod, J.E. (1999). Hu man learning . New Jersey: Prentice
    Hall.

More Related Content

What's hot

การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11Tum'Tim Chanjira
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาEye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้April1904
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมNut Kung
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 

What's hot (20)

การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
instructional design
instructional design instructional design
instructional design
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
พุทธิปัญญา
พุทธิปัญญาพุทธิปัญญา
พุทธิปัญญา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
กลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยมกลุ่ม ปัญญานิยม
กลุ่ม ปัญญานิยม
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Story board
Story boardStory board
Story board
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
Constructivist theories
Constructivist  theoriesConstructivist  theories
Constructivist theories
 
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
ทฤษฎีการเรียนรู้010-015-030-036
 

Similar to บทที่ 3

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Natcha Wannakot
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาTong Bebow
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาTong Bebow
 

Similar to บทที่ 3 (20)

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
Vision
VisionVision
Vision
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 

More from Rathapon Silachan

More from Rathapon Silachan (6)

งานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไขงานนำเสนอ1 แก้ไข
งานนำเสนอ1 แก้ไข
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 3

  • 1. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา Theoretical Foundation
  • 2. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาที ่ เ กี ่ ย ว กั บ เทคโนโลยี และสื ่ อ การศึ ก ษา
  • 3. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการ เรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละ บทที ่ สื ่ อ การศึ ก ษา 3
  • 4. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา โครงร่ า งเนื ้ อ หาของบท คำ า สำ า คั ญ 1. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรูกลุม ้ ่ • พฤติกรรม พฤติกรรมนิยม • การวาง 2. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรูกลุมพุทธิ ้ ่ เงื่อนไข ปัญญานิยม 3. มุมมองจิตวิทยาการเรียนรูกลุมคอน ้ ่ • การเสริมแรง สตรัคติวสต์ ิ • กระบวนการ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย นรู ้ ทางพุทธิ ปัญญา 1. อธิบายความคิดรวบยอดของทฤษฎี • การประมวล การเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม พุทธิ สารสนเทศ ปัญญานิยมและคอนสตรัคติสต์ได้ • โครงสร้าง 2. วิเคราะห์การออกแบบสื่อและ ทางปัญญา เทคโนโลยีการศึกษาของแต่ละกลุ่ม ทฤษฎีการเรียนรู้ได้ • การสร้าง ความรู้ 3. อธิบายการนำาหลักจิตวิทยาการเรียนรู้ • การเสียสมดุล ไปใช้ให้สอดคล้องกับการเรียนที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำาคัญได้ ทางปัญญา กิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ • ฐานการช่วย เหลือ 1. ผู้สอนให้มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลักการ • การร่วมมือกัน เรื่อง มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้ แก้ปัญหา กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา • การโค้ช 2. นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจากสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่าย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web -230301/ โดยนักศึกษาศึกษา สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3 วิเคราะห์ ทำาความเข้าใจค้นหาคำาตอบจาก เอกสารประกอบการสอนและแหล่ง เรียนรู้บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคำา ตอบ และนำาเสนอในรูปแบบ Power point 3. นักศึกษาร่วมกันสรุปองค์ความรู้และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยผู้สอนตั้ง ประเด็น และอธิบายเพิ่มเติม สถานการณ์ ป ั ญ หา(Problem-based learning) หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจำาความรู้ ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยน วิธีการสอนใหม่เพื่อให้ สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศใน ปัจจุบัน โดยนำาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรี ได้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นำาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มี รูปภาพประกอบก็นำารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู
  • 5. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรง ตามแนวคิดของตน และส่งเสริมการ สอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมาก ขึ้น แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็น อย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความ สนใจ แต่พอหลังจากนั้นไปสักระยะผู้ เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครู สมศรีสร้างขึ้น ทั้งผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไ ม่ แ ตกต่ า ง กั น จึงทำาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทำาไมจึงเป็นเช่นนี้ ในฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธี การช่วยเหลือครูสมศรีอย่างไร ภารกิ จ 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำาให้การเรียนรู้จากสื่อของครู สมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบาย เหตุผล 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการ สอนและสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร 3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบ การสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้าง อธิบาย พร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 6. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา มุ ม มอง มุ ม มอง จิ ต วิ ท ยาการ จิ ต วิ ท ยาการ -การเรียนรู้ตาม -การเรียนรู้ ตามแนว แนวพฤติกรรม พุทธิปัญญานิยม นิยม -เทคโนโลยีและ -เทคโนโลยีและ สาระ สื่อการศึกษาตาม สื่อการศึกษาตาม แนวพุทธิปัญญา แนวพฤติกรรม สำ า คั ญ นิยม นิยม ในบท มุ ม มองจิ ต วิ ท ยา การเรี ย นรู ้ ก ลุ ่ ม -การเรียนรู้ตาม แนวคอนสตรัคติ วิสต์ -เทคโนโลยีและสื่อ การศึกษาตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีการเรียนรูเป็นกลุมของหลักการทังหลายทีอธิบายวิธี ้ ่ ้ ่ การเรียนรูของมนุษย์ ซึงรวมทังวิธการได้มาซึงความ ้ ่ ้ ี ่ สามารถ(Abilities) และความรูใหม่ (Knowledge) ดังนันการ ้ ้ ทำาความเข้าใจว่าคนเราเรียนรูได้อย่างไรจึงเป็นหัวใจสำาคัญทีจะ ้ ่ นำาไปเป็นพืนฐานในการออกแบบการสอน สือ และนวัตกรรม ้ ่ ทางการศึกษาอืนๆ การศึกษาเกียวกับการเรียนรูนนได้เกิดขึนกว่า ่ ่ ้ ั้ ้ ร้อยปีทผานมา และมีหลายทฤษฎีทอธิบายถึงการเรียนรู้ (Driscoll, ี่ ่ ี่ 1994; Gredler, 1997) ซึงทฤษฎีเหล่านันสามารถจัดเป็น 3 กลุม ่ ้ ่ ใหญ่ดวยกัน (Newby, T.J. and Others, 2000) คือ ทฤษฎีการ ้ เรียนรูกลุมพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรียนรูกลุมพุทธิปญญานิยม ้ ่ ้ ่ ั และทฤษฎีการเรียนรูกลุมคอนสตรัคติวสซึม ในแต่ละกลุมทฤษฎีจะ ้ ่ ิ ่ มีแนวคิดหลัก และรูปแบบเกียวกับการเรียนรูทแตกต่างกัน ซึง ่ ้ ี่ ่ นักการศึกษาได้นำาไปเป็นพืนฐานในการออกแบบการจัดการเรียน ้ รู้ ดังรายละเอียดทีจะได้นำาเสนอต่อไปนี้ ่
  • 7. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา มุ ม มองจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ลุ ่ ม พฤติ ก รรมนิ ย ม การเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorismหรือ S-R Associationism) มุ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง (Response) หรือพฤติกรรมที่ แสดงออกมา ซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัดและ สังเกต จากภายนอกได้และเน้นความสำาคัญของสิ่งแวดล้อม เพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำาหนดพฤติกรรม ในแนวคิด ของกลุ่มนี้จะเชื่อว่า การเรียนรู้ จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนอง ซึ่งถ้าหากได้รับการ เสริมแรงจะทำาให้มีการแสดง พฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น (Mayer, 1992; สุมาลี ชัยเจริญ, 2551) แนวคิดการเรียนรู้ตาม แนวพฤติกรรมนิยมได้ถูก พัฒนาขึ้นในช่วงครึ่งแรกของ ศตวรรษที่ 20 และรากฐานของ หลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษา วิจัยพฤติกรรมการเรียนรู้ของ สัตว์ในห้องทดลองที่ถูกกำาหนด ขึ้นภายใต้เงื่อนไขและการ ควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆดังเช่น การทดลองของพาฟลอฟ (Povlov) วัตสัน (Watson) และสกินเนอร์ (Skinner) ดั้งนั้นนิยามของการเรียนรู้ตามแนวพฤติกรรมนิยม จึง หมายถึง การเปลี ่ ย นแปลงพฤติ ก รรมซึ ่ ง เป็ น ผลเนื ่ อ งมา จากการเชื ่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ ่ ง เร้ า และการ ตอบสนอง จะมุ ่ ง เน้ น เพี ย งเฉพาะพฤติ ก รรมที ่ ส ามารถ วั ด และสั ง เกตได้ เ ท่ า นั ้ น โดยไม่ ศ ึ ก ษาถึ ง กระบวนการ ภายในของมนุ ษ ย์ (Mental process) จากแนวคิดดังกล่าวบทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้ที่รอรับ (Passively) ความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆที่จัดให้ในขณะที่เรียนรู้ เช่น รางวัล การลงโทษหรือแม้แต่แรงเสริม เป็นต้น ในขณะที่ บทบาทของครูจะเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน เช่น การทำาแบบฝึกหัดซำ้าๆ (Drill- and-practice) การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นต้น ส่วนบทบาทของนักเทคโนโลยีการ ศึกษาคือผู้ที่สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนทำาซำ้าๆ ในการตอบสนองที่ง่ายๆ ซึ่งจะได้รับผลตอบสนองกลับทันที ทันใดในขณะที่เรียนรู้ (Mayer, 1996) เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ การศึ ก ษาตามแนวพฤติ ก รรมนิ ย ม การออกแบบสื่อตามพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูก เรียกว่า การออกแบบการสอนในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการ ออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำาความรู้ให้ได้ในปริมาณมาก ที่สุดบทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้
  • 8. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา สอนจะเป็นผู้นำาเสนอข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตำาราเรียน การ บรรยาย ตามแนวคิดนี้ข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด โดยตรงจาก ครูผู้สอนไปยังผู้เรียน บทบาทของนักออกแบบการสอน หรือครู จะเป็นการสร้าง สิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนจะต้องดูดซับข้อมูล สารสนเทศจำานวนมาก เช่น บทเรียนโปรแกรม ชุดการสอน และ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยลักษณะที่สำาคัญของการ ออกแบบสื่อตามแนวพฤติกรรมนิยมเป็นดังนี้ (Newby, T.J. and O the rs, 2000) 1 ) ระบุวัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน โดยกำาหนด พฤติกรรมเฉพาะที่ต้องการให้เกิดขึ้นหลังจากการเรียนรู้นั้น ประสบความสำาเร็จ ซึ่งวัตถุประสงค์จะเป็นตัวชี้วัดที่สำาคัญว่าผู้ เรียนเกิดการเรียนรู้ 2) การสอนในแต่ละขั้นตอน นำาไปสู่การเรียนแบบรอบรู้ (Mas te ry le arning) ในหน่วยการสอนรวม 3) ให้ผู้เรียนได้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง 4) ดำาเนินการสอนไปตามโปรแกรม หรือลำาดับขั้นที่ กำาหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดยเป็นการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน ย่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำาได้ง่าย 5) การออกแบบการเรียนเป็นลักษณะเชิงเส้นที่เป็นลำาดับ ขั้นตอน 6) การให้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผู้เรียนกระทำา พฤติกรรมนั้นเสร็จจะได้รับผลกลับพร้อมทั้งแรงเสริมทันทีทันใด ในขณะที่เรียนรู้  มุ ม ม อ ง จ ิ ต ว ิ ท ย า ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ก ล ุ ่ ม พ ุ ท ธ ิ ป ั ญ ญ า น ิ ย ม การเรียนรู้ตามแนว พุทธิปัญญ า นิยม กลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่ง ที่มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดย ให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความ เข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ต า ม แ น ว พ ุ ท ธ ิ ป ั ญ ญ า หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้าน คุณภาพ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยัง สามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถ ถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบท และปัญหาใหม่ (Mayer, 1992) อาจกล่าวได้ว่าการเรียนรู้ตาม แนวคิดนี้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวางสารสนเทศใหม่ใน ความจำาระยะยาว (Long-term memory) ซึ่งจะแตกต่างกันการ เรียนรู้ของพฤติกรรมนิยมที่จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรม ภายนอกที่แสดงออกมา ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา นิยมได้พัฒนามาตั้งแต่ปี 1950s, 1960s และ 1970s เป็นต้นมา และรากฐานของ หลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการ เรียนรู้ของมนุษย์ในห้องทดลองที่ที่ถูก กำาหนดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและการ ควบคุมสิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่น เพียเจต์ บรูเนอร์ และออซูเบล เป็นต้น ตาม แนวคิดนี้บทบาทของผู้เรียนจะรอรับ สารสนเทศ ในขณะที่บทบาทของครูจะ เป็นผู้นำาเสนอสารสนเทศ เช่น หนังสือ
  • 9. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา และการบรรยาย ซึ่งการได้มาซึ่งความรู้หรือการเรียนรู้ตาม แนวคิดนี้ก็คือปริมาณของสารสนเทศที่ได้รับจากการถ่ายทอด โดยตรงจากครูไปยังผู้เรียน ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้ สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนสามารถรับ สารสนเทศไปเก็บไว้ในหน่วยความจำา (Memory) ได้ในปริมาณ มาก เทคโน โ ล ยีแล ะสื่อกา ร ศึก ษ า ต า ม แ น ว พ ุ ท ธิปั ญ ญ า นิ ย ม การออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวคิดนี้จะอยู่บน นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ว่า เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้ เรียน ทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ หรือการเรียนรู้เป็นผล มาจากการจัดระเบียบ หรือ จัดหมวดหมู่ของความจำาลงสู่ โครงสร้างทางปัญญา หรือเรียกว่า Mental Models คือ นอกจาก ผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวมเรียบ เรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้น ให้เป็นระเบียบ เพื่อให้สามารถเรียก กลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการและสามารถถ่ายโยงความรู้ และ ทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่" (Mayer,1996) ซึ่งจะแตกต่างกับการออกแบบเทคโนโลยีและสื่อ ที่อาศัยพื้นฐานพฤติกรรมนิยมที่มุ่งเน้นพฤติกรรม ที่สังเกตได้ เท่านั้น โดยมิได้สนใจกับกระบวนการรู้คิด หรือกิจกรรมทางสติ ปัญญาของมนุษย์ (Mental Activities) แต่กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ให้ความสำาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ "ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้า ภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ ความเข้าใจ หรือ กระบวนการรู้คิด หรือกระบวนการรู้คิด (Cognitive Process) ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ขอบเขตที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการรู้การคิด (Cognitive Process) ดังจะเห็นได้จาก การออกแบบการสอน และสื่อที่ได้มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการ ทางปัญญามากกว่า การเน้นเฉพาะการพัฒนาพฤติกรรม ที่สนอง ต่อสิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว แนวคิดที่สำาคัญของการออกแบบมุ่งเน้นการสนับสนุน กระบวนการทางพุทธิปัญญาของผู้เรียนโดยเฉพาะบทบาทของ การใช้หน่วยความจำา (Memory) เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศ ใหม่ลงไปในรูปแบบที่มีความหมายสำารับผู้เรียนในการบันทึก ความรู้และการนำาความรู้ที่เก็บไว้กลับมาใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยลักษณะที่สำาคัญของการออกแบบเทคโนโลยี และสื่อตามแนวพุทธิปัญญาเป็นดังนี้ 1) การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้าง สารสนเทศให้กับผู้เรียน เพราะว่ากิจกรรมการเรียนรู้ของมนุษย์ จะพยายามค้นหาและเรียงลำาดับสารสนเทศเพื่อใช้ในการ ทำาความเข้าใจ ดังนั้นหากผู้สอนมีการจัดระเบียบสารสนเทศจะ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความเข้าใจในหน่วยความจำาได้ง่าย เช่น การสร้างโครงร่างของเนื้อหา การจัดความคิดรวบยอดที่ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่จะเรียนรู้ (Concept map) เป็นต้น ภ า พ ท ี ่ 3-1 แสดงการจัดระเบียบสารสนเทศตามแนวคิด ของ Ormrod, J.E. (1999)
  • 10. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา 2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับ ความรู้เดิม วิธีการนี้จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมาย และเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (O rm rod , 1 999) 3) ใช้เทคนิคเพื่อแนะนำาและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เข้า รหัสและเรียกสารสนเทศกลับมาใช้ใหม่ได้ ซึ่งมีเทคนิคที่ผู้สอน ควรนำาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนดังนี้ 3.1 การมุ่งเน้นคำาถาม (Focusing question) ซึ่งนำามา ใช้ในขั้นนำาเข้าสู่บทเรียนเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนใส่ใจในสิ่งที่จะ เรียนรู้ 3.2 การเน้นคำาหรือข้อความ (H igh ligh ting) เป็น เทคนิคที่ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนใส่ใจสานสนเทศได้โดยตรง โดย เฉพาะสารสนเทศที่สำาคัญที่ต้องการให้ผู้เรียนใส่ใจเป็นพิเศษ เช่น ก า ร ใ ช ้ ต ั ว อ ั ก ษ ร ห น า การขีดเส้นใต้ การทำาตัวอักษร เอียง การใช้เครื่องหมาย “...” เป็นต้น 3.3 การใช้ Mnemonic เป็นวิธีการที่ช่วยให้ผู้เรียน สามารถบันทึกสารสนเทศและเรียกกลับมาใช้ได้ง่าย ดังเช่น การ ใช้คำาคล้องจอง การแต่งเป็นบทเพลงที่ต้องให้ผู้เรียนจดจำาสระไอ ไม้ม้วนทั้ง 20 ตัว (ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ให้สะใภ้ใช้คล้องคอ...) เป็นต้น 3.4 การสร้างภาพ (Imagery) เป็นการสร้างภาพที่ เป็นตัวแทนสารสนเทศใหม่ที่ได้รับ ซึ่งจะมีความถูกต้องและ สอดคล้องกับสารสนเทศที่เรียนรู้ เช่น การสร้างความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสุนัข การใช้เทคนิคการสร้างภาพก็จะพยายามนึกถึง คุณลักษณะร่วมและลักษณะเฉพาะที่สุนัขมีออกมาในรูปแบบของ ภาพ คือ มีสี่ขา มีหนาและเห่าได้ ภาพเหล่านี้ผู้เรียนจะสร้างขึ้น ภาพในสมอง และนำาไปบันทึกไว้ในหน่วยความจำา และเมื่อ ต้องการใช้สารสนเทศก็จะถูกเรียกกลับมาในลักษณะที่เป็นภาพที่ แทนสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ  มุ ม ม อ ง จ ิ ต ว ิ ท ย า ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ก ล ุ ่ ม ค อ น ส ต ร ั ค ต ิ ว ิ ส ต ์ การเรียนรู้ตามแนวค อ น ส ต รัคติวิสต์ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์อธิบายว่าการเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้ เรียนสร้างความรู้อย่างตื่นตัวด้วยตนเองโดยพยายามสร้างความ เข้าใจ (Understanding) นอกเหนือเนื้อหาความรู้ที่ได้รับ โดยการ สร้างสิ่งแทนความรู้ (Representation) ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการ เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของตนเอง (Jonassen, 1991) แนวคิดนี้เกิดขึ้นมาใช้ช่วง คศ.1980s และ 1990s และรากฐาน ของหลักทฤษฎีนั้นมาจากการศึกษาวิจัยการเรียนรู้ของมนุษย์ใน สภาพจริง (Realistic) ตามแนวคิดนี้บทบาทของผู้เรียนคือผู้สร้าง ความรู้ ในขณะที่ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้แนะนำาทางพุทธิปัญญา (Cognitive guide) ที่ให้คำาแนะนำาและรูปแบบเกี่ยวกับภารกิจการ เรียนรู้ตามสภาพจริง บทบาทของผู้เรียนคือลงมือกระทำาการ เรียนรู้ ส่วนบทบาทของนักออกแบบสื่อคือผู้สร้างสิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน (Meyer, 1996) ในงานทางเทคโนโลยีการศึกษาได้นำาทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์ที่สำาคัญ 2 กลุ่มแนวคิดมาใช้เป็นพื้นฐาน คือ ทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา (Cognitive Constructivism) และ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา มีรากฐานมาจาก แนวคิดของเพียเจต์ โดยมีหลักสำาคัญว่ามนุษย์เราต้อง "ส ร ้ า ง "
  • 11. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา (Construct) ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่านทางประสบการณ์ ซึ่ง ประสบการณ์เหล่านี้ จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้าง โครงสร้ า งทาง ปั ญ ญา หรื อ เรี ย กว่ า สกี ม า (S chemas) รู ป แบบการ ทำ า ความเข้ า ใจ ( Mental Model) ในสมอง โครงสร้างทาง ปัญญาเหล่านี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (C hange) ขยาย (En large ) และซับซ้อนขึ้นได้ โดยผ่านทางกระบวนการการดูด ซึม (Assim ilation) และการปรับเปลี่ยน (Accom m odation) ดังนั้น บทบาทของครูผู้สอนในห้องเรียน ตามแนวคิดของเพียเจต์ บทบาทที่สำาคัญคือ การจัดเตรียมสิ่งแวดล้อมที่ให้ผู้เรียนได้ สำารวจ ค้นหา ตามธรรมชาติห้องเรียนควรเติม สิ่งที่น่าสนใจที่จะ กระตุ้นให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง อย่างตื่นตัวโดย การขยาย สกีมาผ่านทางประสบการณ์ด้วยวิธีการดูดซึม (Assim ilation) และ การปรับเปลี่ยน (Accom m odation) ซึ่งเชื่อ ว่าการเรียนรู้เกิดจากการปรับเข้าสู่สภาวะสมดุล (Equilib rium ) ภาพที ่ 3-2 แสดงกระบวนการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์เชิงปัญญา ตามแนวคิดของเพียเจต์ พื้นฐานแนวคิดทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม มาจาก แนวคิดของ Vygotsky ที่มีแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างความรู้ของ มนุษย์ใน 2 แนวคิดที่ว่า บริ บ ทการเรี ย นรู ้ ท างสั ง คม (Social Context Learning) วัฒนธรรม ภาษาจะเป็นเครื่องมือทาง ปัญญาที่จำาเป็นสำาหรับการสร้างความรู้และ Vygotsky เชื่อว่า มนุษย์เรามีระดับพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาที่เรียกว่า Zone of Proximal Development ถ้าใครที่อยู่เหนือโซนนี้สามารถที่ จะ เรียนรู้และสร้างความรู้เองได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องได้รับการ ช่วยเหลือ แต่ถ้าใครที่อยู่ใต้โซนนี้จะเป็นผู้ที่ไม่สามารถเรียนรู้ หรือแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จึงจำาเป็นที่จะต้องมีฐานความช่วย เหลือ (Scaffolding) ไว้คอยช่วยให้สามารถข้ามไปอยู่เหนือโซน ได้และ Vygotsky ยังเชื่อว่ามนุษย์เราไม่ได้อยู่เหนือโซนในทุก เรื่อง ดังนั้นในการออกแบบการเรียนการสอนจึงต้องมีการจัด ฐานความช่วยเหลือไว้คอยสนับสนุนผู้เรียน
  • 12. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา ภ า พ ท ี ่ 3-3 แสดงกระบวนการสร้างความรู้ตามแนวทฤษฎีคอน สตรัคติวิสต์เชิงสังคมของ Vygotsky เทคโน โ ล ยีแล ะสื่อกา ร ศึก ษ า ต า ม แ น ว ค อ น ส ต รั ค ติวิสต์ การออกแบบการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ จะมีพื้น ฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ที่ให้นิยามเกี่ยวกับการเรียนรู้ไว้ ว่าเป็นการสร้างความรู้ (KnowledgeConstruction) ซึ่งมาจากพื้น ฐานที่ว่าการเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้สร้างสิ่งที่แทนความรู้ ใน ความจำาในระยะทำางาน (Working Memory) อย่างตื่นตัว แนวคิดดังกล่าวข้างต้นเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ 1980s และ 1990s เป็น ตันมาโดยทำาการศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ในสภาพจริง วิธีการ เรียนรู้ภายใต้แนวคิดการสร้างความรู้นี้ บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้ ทีลงมือกระทำาอย่างตื่นตัว ในขณะที่ ครูผู้สอนเป็นผู้แนะแนวทาง ่ พุทธิปัญญา ซึ่งจะจัดแนะแนวและเป็นโมเดลในภารกิจการเรียน ตาม สภาพจริง บทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษาหรือครูจะ เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียนมี ปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมาย กับเนื้อหาบทเรียน รวมทั้งการทำาให้เกิดกระบวนการเลือกข้อมูล จัดหมวดหมู่ข้อมูล และการบูรณาการข้อมูล ซึ่งคุณลักษณะของ การเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคตวิสต์ มีดังนี้ 1) นำาเสนอและส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นมุมมองและตัวแทน ความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่หลากหลาย 2) เป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการเรียนได้มาจากผู้เรียน หรือการเจรจาร่วมกับผู้สอน 3) ผู้สอนให้บริการในบทบาทของผู้แนะนำา ผู้กำากับ โค้ช และ ผู้อำานวยความสะดวกในการเรียน 4) กิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดล้อมต่างๆจัดมาเพื่อ ส่งเสริมการกำากับวิธีการเรียนรู้โดยอาศัยความคิดของ ตนเอง (metacognition) ดังเช่น การวิเคราะห์ตนเอง (self- analysis) การควบคุมการเรียนด้วยตนเอง (self- regulation) การสะท้อนความคิดของตนเอง(self- reflection) และการตระหนักรู้ด้วยตนเอง (self- awareness) 5) ผู้เรียนต้องมีบทบาทสำาคัญในการใช้สื่อและควบคุมการ เรียนรู้ด้วยตนเอง
  • 13. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา 6) สถานการณ์เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม ทักษะ เนื้อหาและภารกิจ จะเกี่ยวข้องกับสภาพจริง และสอดคล้องกับบริบทจริงที่มี ความซับซ้อน 7) ข้อมูลแหล่งเรียนจะถูกใช้เพื่อที่จะทำาให้มั่นใจในสภาพ จริง 8) การสร้างความรู้เป็นสิ่งที่มุ่งเน้นในการเรียนรู้ไม่ใช่การคัด ลอกความรู้ 9) การสร้างความรู้จะเกิดขึ้นในบริบทของแต่ละบุคคลที่ผ่าน การต่อรองทางสังคม การร่วมมือการเรียนรู้และการมี ประสบการณ์ร่วมกัน 10)การสร้างความรู้เดิมของผู้เรียน ความเชื่อ และเจตคติ จะ เป็นสิ่งสำาคัญที่นำามาพิจารณาในกระบวนการสร้างความรู้ ใหม่ 11)เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นการแก้ปัญหา ทักษะการคิดขั้น สูง และความเข้าใจที่ลึกซึ้ง 12)ความผิดพลาดเป็นสิ่งที่ทำาให้เกิดโอกาสในการหยั่งรู้ที่นำา ไปสู่การสร้างความรู้ของผู้เรียน 13)การสำารวจเป็นวิธีการที่นิยมเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียน ค้นหาความรู้ด้วยตนเองและจัดการเกี่ยวกับตนเองเพื่อให้ บรรลุเป้าหมาย 14)ผู้เรียนจะได้รับการจัดหาโอกาสสำาหรับการฝึกหัดทาง ปัญญา ซึ่งจะอยู่ในภารกิจการเรียนรู้ตามสภาพจริง ทักษะ และการได้มาซึ่งความรู้ 15)ความซับซ้อนของความรู้จะถูกสะท้อนออกมาโดยมุ่งเน้น ความเชื่อมโยงกับความคิดรวบยอดที่หลากหลายและการ เรียนรู้ที่ต้องเชื่อมโยงหลายศาสตร์ 16)การร่วมมือกันแก้ปัญหาและการเรียนแบบร่วมมือเป็นที่ นิยมเพื่อที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนมุมมองที่ หลากหลาย 17)ฐานการช่วยเหลือถูกจัดไปเอื้ออำานวยเพื่อช่วยผู้เรียนให้ สามารถข้ามข้อจำากัดทางการเรียนรู้ 18)การประเมินเป็นการประเมินตามสภาพจริง จากแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ตามพื้นฐานทางทฤษฎีการ เรียนรู้คอนสตรัคติวิสต์ ดังกล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า งานที่ สำาคัญของครูก็คือ ช่วยนักเรียนแต่ละคนให้เกิดการเรียนรู้ โดยมี ครูทำาหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียน รู้อย่างมีประสิทธิภาพ ที่ตอบสนองกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้ เรียนเป็นศูนย์กลาง จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนา กระบวนการคิดอย่างอิสระสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ตลอดจน เรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเองโดยใช้วิธีการเรียนรู้ที่ หลาก หลาย เพื่อนำาไปสู่คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสังคมไทย คือ สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและทำางานเป็นทีมเพื่อ ประโยชน์ของสังคมไทยโดยมีเป้าหมายให้คนไทยมีศักยภาพ ใน การแข่งขัน และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ ซึ่งจะเรียกว่า ก า ร จ ั ด สิ่ง แ ว ด ล ้ อ ม ท า ง ก า ร เ ร ี ย น ร ู้ ต า ม แ น ว ค อ น ส ต ร ั ค ต ิ วิ ส ต ์ (Constructivist Learning Environ ments) เป็นรูปแบบการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง "สื่อ" (Media) กับ "วิธีการ" (Methods) โดยการนำาทฤษฎีคอนสตรัคติ วิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะ ของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ ของผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการสำาคัญที่ใช้ในการ
  • 14. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา ออกแบบดังนี้ (1) สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ(5) การโค้ช สำาหรับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอน สตรัคติวิสต์จะมุ่งเน้น การพัฒนากระบวนการคิดอย่างอิสระและ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเองของผู้เรียน เช่น สิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้บนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ มัลติมีเดีย ที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ชุดการสร้างความรู้ตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ (สุมาลี ชัยเจริญ, 2547) ดังรายละเอียดใน ตาราง ต า ร า ง ท ี ่ 3.1 เปรียบเทียบมุมมองจิตวิทยาการเรียนรู้ทั้งสาม กลุ่มแนวคิด พฤติกรรม พุทธิปั ญ ญ า คอนสตรัค นิยม นิยม ติวิสต์ การเรียนรู้ การ การ การ คืออะไร เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่เกิด ของความรู้ที่ถูก อย่างมีความ ขึ้น เก็บไว้ในหน่วย หมายเกี่ยว ความจำา กับรู้ที่สร้าง ขึ้น กระบวนการ Antecedent การใส่ใจก การ การร่วมมือ เรียนรู้คือ behavior เข้ารหัสเ การ กันแก้ปัญหา อะไร consequence เรียกกลับของ สารสนเทศใน หน่วยความจำา บทบาทของ บริหารจัดการ นำาเสนอ แนะนำาและ ผู้สอนคือ สิ่งเร้าที่จะให้ผู้ สารสนเทศ ให้รูปแบบ อะไร เรียน บทบาทของ รับสิ่งเร้าที่ครู รอรับ สร้างความรู้ ผู้เรียน จัดให้ สารสนเทศ อย่างตื่นตัว สรุป ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา กระบวนทัศน์ใหม่ ทางการเรียนรู้ คือ คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) ได้เข้ามามี อิทธิพลต่อการศึกษา และงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งมี ความเชื่อว่า การรู้จักและตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของ แต่ละบุคคลนั้น เกิดจากการสร้างแนวคิดของ ตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ เป็นวัตถุจริง (Real World) ดังนั้น นักการศึกษาที่เชื่อในกระบวน ทัศน์ เดิมคือทั้งพฤติกรรมนิยมและพุทธิปัญญานิยม จะพยาม จัดการสอนโดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือ เติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ตำารา สื่อการสอนต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เรียนจะ เป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระทำา และอธิบายความ หมายโลกรอบ ๆ ตัวผู้เรียน และแนวโน้มต่อไปเกี่ยวกับการนำาทฤษฎีมาสู่งานทางด้าน เทคโนโลยีการศึกษานั้นจะผสมผสาน หลักการต่างๆ ทั้ง 3 มาใช้ เป็นวิธีการใหม่ ดังนั้น ผู้เขียนมีความเห็นว่า ครูผู้สอน นัก ออกแบบการสอน และผู้ที่เกี่ยวข้อง จำาเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับ หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ทั้ง 3 ดังกล่าวให้เกิดความเข้าใจ อย่างลึกซึ้ง และสามารถ นำามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ของผู้ เรียนได้อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสาน แนวคิด หลักการดังกล่าวให้ สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้และ สภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย
  • 15. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา คำ า ถามสะท้ อ นความคิ ด  ท่านคิดว่าจิตวิทยาการเรียนรู้มีความ สำาคัญในทางเทคโนโลยีการศึกษาอย่างไร  ท่านคิดว่าในระบบการศึกษาไทยส่วนใหญ่ อาศัยพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ใดเป็นหลัก เพราะเหตุใด  ท่านคิดว่าพื้นฐานจิตวิทยาการเรียนรู้แต่ละกลุ่มมีจุดอ่อน และจุดแข็งอย่างไรบ้าง กิ จ กรรมเสนอแนะ ให้ท่านลองวิเคราะห์พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542 ว่ามีความสอดคล้องกับพื้น ฐานจิตวิทยาการเรียนรู้ใด เพราะเหตุใด บรรณานุ ก รม สุมาลี ชัยเจริญ. (2547). การพั ฒ นารู ป แบบการสร้ า งความ รู ้ โ ดยใช้ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศ. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สุมาลี ชัยเจริญ. (2551).เทคโนโลยี ก ารศึ ก ษา: หลั ก การ ทฤษฎี สู ่ ก ารปฏิ บ ั ต ิ .ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา. Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for instruction. Boston: Allyn and Bacon. Gredler, M. E. (1997). Learning and instruction: Theory into practice (3rd ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice- Hall. Jonassen, D. (1991). Objectivism vs constructivism: Do we need a new philosophical paradigm? Educational Technology, Research and Development, 39(3), 5-13. Jonassen, David H. (1991). Evaluating constructivistic learning. Educational Technology, 31, 28-33. Jonassen,D.H. and Reeves,T.C.(1996). Learning with technology: Using Computer as cognitive tools. In D.H. Jonassen (Ed.), Handbook of research for educational communication and technology. New York:Macmillan. Mayer, R. E. (1992). Thinking, problem solving, cognition. Second edition. New York: W. H.
  • 16. บทที ่ 3 มุ ม มองทางจิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู ้ ก ั บ เทคโนโลยี แ ละสื ่ อ 41 การศึ ก ษา Mayer,R.E. (1996). Designing Instruction for Constructivist Learning. Instructional Design Theories And Models: A New Paradigm of Instructional Theory.Volume II . Newjersy: Lawrence ErlbaumAssociates. Meyer .(1997). Multimedia learning: Are we asking the right question. Educational Psychologist, 32, 1-19. Newby, T. J., Stepich, D. A., Lehman, J. D., & Russell, J. D. (2000). Instructional technology for teaching and learning Designing instruction, integrating computers, and using media (secondedition). EnglewoodCliffs, NJ: Prentice-Hall. Ormrod, J.E. (1999). Hu man learning . New Jersey: Prentice Hall.