SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                                  หน้าที่ 1                                              © บอสคุง ฉึกฉึก

                                                   สรุปวิชาประวัติศาสตร์ ม.3
ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์
แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหัว (ร.4)
                                       ่
- พระบรมวงศ์ ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ และพระเถระระดับสูงได้อัญเชิญสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์ ลาดับที่ 4 แห่งราชวงศจักรี
  ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
- ทรงสถาปนาร่วมกับพระอนุชาร่วมพระชนนี คือ สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ขึ้นเป็น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่มี
  อิสริยยศสูงเกือบเสมอกษัตริย์ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว
แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5)
- พระบรมวงศ์ อัครมหาเสนาบดี สมุหพระกลาโหม สมุหนายก ได้คัดเลือกกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้คัดเลือก กรมพระราชวังบวรวิ
  ไชยชาญ พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างวังหน้า
  และวังหลวงขึ้น
- กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สดท้าย ก่อนที่จะสถาปนาตาแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
                                                                      ุ
  สยามมกุฎราชกุมารขึ้นมาแทน (2429) เนื่องจากกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทิวงคต (2428)
- สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเป็นสยามมกุฎราชกุมาร พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์

บทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในการสร้างสรรค์ความเจริญและความมั่นคงของชาติ
รัชกาลที่ 4 (พ.ศ.2394 - พ.ศ.2411)
- พระองค์ทรงมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี จึงทรงปรับปรุงประเทศสู่ความทันสมัยตามแบบตะวันตก
- สนับสนุนให้พระบรมวงศ์และขุนนาง เรียนรู้ภาษาอังกฤษและวิทยาการที่ก้าวหน้า
- รักษาประเทศให้ปลอดภัยจากภัยคุกคามของลัทธิจักรวรรดินยมทีแผ่อานาจเข้าสู่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทรงยอมปรับปรุงสนธิสัญญา
                                                        ิ ่
  ทางการค้า เริ่มจากสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง (2398) ทาให้ไทยเสียเปรียบด้านการค้า แต่การค้ากับชาติตะวันตกเจริญรุ่งเรืองขึ้น
- มีการตัดถนนในกรุงเทพ ขุดคลองเพื่อขยายพื้นที่ทานา
รัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411 - พ.ศ.2453)
- เป็นช่วงเวลาสาคัญของการจัดระบบและสร้างระเบียบของบ้านเมือง เพื่อเสถียรภาพของสถาบันพระมหากษัตริย์ รัฐบาลได้ดาเนินนโยบาย
  ต่างประเทศอย่างรอบคอบ เพื่อปกป้องดินแดนและเอกราชของประเทศ
- ทรงดาเนินการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้ไทยเป็นประเทศที่เจริญและทันสมัยตามแบบตะวันตก
- การปฏิรูประยะแรก = จัดระเบียบด้านการเงิน ปรับปรุงการปกครองและสังคมโดยยกเลิกระบบทาสไพร่ ปฏิรูปการศึกษา
- การปฏิรูประยะสอง = การปกครองส่วนกลางและภูมภาค กฎหมายและศาล การคมนาคม ดาเนินนโยบายทางการทูต การเสด็จประพาส
                                                 ิ
  ต่างประเทศ ยินยอมเสียดินแดนบางส่วนเพื่อแลกกับเอกราช

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง
ระบอบการปกครอง
- สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยดึงอานาจบริหารเข้าสู่ศูนย์กลาง
การจัดระเบียบการปกครอง
รัชกาลที่ 4
- ร.4 เสด็จขึ้นครองราชย์ อิทธิพลของชาติตะวันตกได้คุกคามเข้ามาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พระองค์จงทรงปรับปรุงบ้านเมืองให้ทันสมัย เพื่อ
                                                                                                ึ
  ป้องกันมิให้ชาติตะวันตกดูถูกคนไทย และถือเป็นข้ออ้างในการยึดครองได้
- ทรงเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีที่ล้าสมัย เช่น ให้ขุนนางที่จะเข้าเฝ้าสวมเสื้อให้เรียบร้อย, ให้ราษฎรเข้าเฝ้าถวยพระพรได้อย่าง
  ใกล้ชิด, ให้ราษฎรถวายฎีการ้องทุกข์ได้ทุกวันโกน(ก่อนวันพระ) เดือนละ 4 ครั้ง
- ทรงเปลี่ยนแปลงวิธีการแต่งตั้งพระมหาราชครู (ทาหน้าที่พิจารณาคดีความในศาล)
- ทรงออกหนังสือราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้หนังสือราชการต่างๆมีความถูกต้องชัดเจน จะได้ไม่คลาดเคลื่อนและทบทวนได้
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                                 หน้าที่ 2                                             © บอสคุง ฉึกฉึก

รัชกาลที่ 5
- การบริหารราชการเริ่มก่อปัญหาความไม่คล่องตัวในราชการ ในช่วงเวลาที่ไทยต้องปรับตนเองให้ทันสมัย และเข้มแข็งเมื่อเผชิญหน้ากับการ
  คุกคามของชาติตะวันตก
- ทรงปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่เพื่อสร้างเสถียรภาพแห่งราชบัลลังก์และราชอาณาจักร
การปฏิรูประยะที่ 1 (2411-2430)
  เป็นระยะเวลาที่ ร.5 ทรงมีฐานะการเมืองไม่มั่นคง เพราะมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สาเร็จราชการแทน ร.5
  เริ่มพยายามดึงอานาจการบริหารคืนจากกลุ่มขุนนางเพื่อสร้างความเป็นหนึ่งอันเดียวกันของรัฐ ขจัดความแตกแยกในกลุมชนชั้นปกครอง
                                                                                                                    ่
การปกครองส่วนกลาง
- ร.5 ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน = ขุนนางระดับพระยา 12 คน มีหน้าที่ถวายคาปรึกษาราชการที่สาคัญรวมทั้งพิจารณาคดีพิเศษ
- ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ = พระบรมวงศ์+ขุนนาง 49 นาย มีหน้าที่ถวายคาแนะนาข้อปรึกษาส่วนพระองค์
- ปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ คือ ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นหน่วยงานในการรวบรวมรายได้จากภาษีอากรและจัดระเบียบการรับ-จ่ายที่เป็นรายได้
  ของประเทศ
- ยกเลิกธรรมเนียมหมอบคลาน > ยืนหรือเดิน แทน, การถวายบังคมกราบไหว้ > โค้งศีรษะ
การปกครองหัวเมือง
- ร.5 ทรงปฏิรูปการปกครองหัวเมืองจากเดิมมีลักษณะกินเมือง(เจ้าเมืองมีอานาจมากและมักสืบทอดต่อไปยังลูกหลาน) โดยเฉพาะประเทศราช
  ที่เป็นที่ยอมรับอานาจของอาณาจักรเข้มแข็งกว่าหลายอาณาจักรพร้อมๆกัน ทาให้จักกรวรรดินิยมตะวันตกใช้เป็นข้ออ้างในการยึดครองได้
- โปรดเกล้าแต่งตั้งข้าหลวงไปประจาหัวเมือง (เริ่มที่เชียงใหม่) นับเป็นการเริมต้นควบคุมหัวเมืองจากส่วนกลางและลดอานาจเจ้าเมืองลง
                                                                           ่
การปฏิรูประยะที่ 2 (2431-2453)
  ระยะนี้ ร.5 ทรงมีพระราชอานาจโดยสมบูรณ์ จึงนามาตรการต่างๆมาปฏิรูปการปกครองอย่างเร่งด่วน
การปกครองส่วนกลาง
- 2430 เพิ่มกรมราชการอีก 6 กรม จาก 6 กรม บริหารร่วมกันในรูปของเสนาบดีสภา ประกอบด้วยเสนาบดีเจ้ากระทรวง 12 กระทรวง
- 2435 ยกฐานะของกรมเหล่านี้ขนเป็นกระทรวง รวม 12 กระทรวง คือ มหาดไทย กลาโหม ต่างประเทศ วัง นครบาล พระคลังมหาสมบัติ
                                 ึ้
  เกษตรพานิชการ โยธาธิการ ธรรมการ ยุทธนาธิการ ยุติธรรม และมุรธาธร
- แบ่งกิจการพลเรือนและทหารออกจากกันโดยเด็ดขาด
- ยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดี และ จตุสดมภ์
- ปรับปรุง สภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ > องคมนตรีสภา (สอบสวนงานราชการ เช่น ชาระความฎีกา)
- ปรับปรุงลูกขุน ณ ศาลหลวง > รัฐมนตรีสภา (เป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เกี่ยวกับกฎหมายและตีความราชประเพณี)
การปกครองหัวเมืองเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล
- 2437 จัดระบบเทศาภิบาลอย่างเป็นทางการ รวมหัวเมืองหลายหัวเมือง > มณฑล มีสมุหเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย
- เป็นการปกครองแบบรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยยกเลิกระบบกินเมือง
- แต่ละมณฑลแยกออกเป็น เมือง อาเภอ ตาบล และหมูบ้าน ทาให้เป็นเอกภาพและมีขอบเขตที่ชัดเจน
                                                        ่
การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล
- ในสมัย ร.5 โปรดเกล้าให้จัดตั้งการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล ตามพรบ.การปกครองท้องถิ่น ร.ศ.116
- ให้สิทธิแก่ราษฎรที่จะเลือกผู้ปกครองตนเองในระดับหมู่บ้านและตาบล เพื่อให้ดูแลท้องถิ่นของตนเอง
- การปกครองสุขาภิบาลแห่งแรก คือ สุขาภิบาลท่าฉลอม
- ตามพรบ.สุขาภิบาล ร.ศ.127 กาหนดให้มสุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตาบล
                                        ี
กฎหมายและการศาล                                                                                        นับเป็นอุปสรรคต่ออานาจ
รัชกาลที่ 4                                                                                               อธิปไตยของประเทศ
- ไทยทาสนธิสญญาเบาว์ริ่งกับอังกฤษ (2398) และทากับชาติตะวันตกอื่นๆในเวลาต่อมา เป็นผลให้ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตหรือ
                ั
  อานาจทางการศาล เนื่องจากชาติตะวันตกอ้างว่ากฎหมายไทยไม่ยุตธรรม ไม่ยอมรับการลงโทษรุนแรงแบบไทย
                                                                     ิ
- หากเกิดคดีความกับชาวต่างชาติและคนในบังคับ จะไม่ขึ้นศาลไทย แต่จะโอนไปพิจารณาคดีในศาลกงสุลของชาติตน
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                                 หน้าที่ 3                                            © บอสคุง ฉึกฉึก

รัชกาลที่ 5
- ทรงพยายามที่จะดึงอานาจกฎหมายและการศาลกลับคืนมา โดยปฏิรูปไปเป็นแบบสากล
- จัดตั้งกระทรวงยุติธรรมเพื่องควบคุมงานศาลให้มารวมอยู่ที่ศาลสถิตยุติธรรม ตั้งศาลระหว่างประเทศพิจารณาร่วมกับศาลกงสุล
- ก่อตั้งโรงเรียนกฎหมาย มีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ และ นายโรลัง ยัคแมงส์ (นักกฎหมาย
  ชาวเบลเยียม) เป็นกาลังสาคัญ พร้อมกับเจรจาแก้ไขสนธิสญญาทีไม่เป็นธรรมกับนานาประเทศ โดยเฉพาะปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
                                                       ั      ่
- จัดร่างประมวลกฎหมายตามแบบชาติตะวันตกแต่ให้เข้ากับธรรมเนียมประเพณีไทย
- ว่าจ้างนักกฎหมายต่างชาติมาช่วยจัดร่างจนสาเร็จ
- ประมวลกฎหมายอาญา ประกาศใช้ครั้งแรก พ.ศ.2441 หลังจากนั้นจึงเริ่มการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สาเร็จประกาศใช้
  พ.ศ.2478 ไทยสามารถเรียกร้องเอกราชทางกฎหมายและศาลกลับคืนมาได้สมบูรณ์ใน พ.ศ.2481

พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจในสมัยปฏิรูปประเทศ
- สนธิสัญญากับชาติตะวันในสมัยรัชกาลที่ 4 ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของไทย คือ ไทยต้องยกเลิกการค้าผูกขาดโยกรมพระคลังสินค้า
  และการเก็บภาษีการค้าที่ซ้าซ้อน เปลี่ยนเป็นการเก็บภาษีขาเข้าเพียงร้อยละ 3 ส่วนภาษีขาออกจะทาการตกลงเป็นกรณี
- ในรัชกาลที่ 5 ทรงจัดระเบียบการคลังให้เป็นระบบเพื่อสอดคล้องกับนโยบายหลักในการปฏิรูปประเทศ
การจัดระเบียบด้านการเงินการคลัง
นโยบายด้านการเงิน
- สมัยรัชกาลที่ 5 มีการปรับปรุงระบบเงินตราและการผลิตเหรียญให้เป็นสากล, แก้ไขปัญหาเงินปลอม, ประกาศใช้มาตรฐานทองคาและตั้ง
  เงินทุนสารองเพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทไทย
- ธนบัตรได้เข้ามามีบทบาทในระบบการเงินของประเทศมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5
- ธนาคารพาณิชย์แห่งแรกในไทย คือ ธนาคาร HSBC
- ธนาคารแห่งแรกของไทย คือ บุคคลัภย์ (Book club) ต่อมาขยายเป็นธนาคารชื่อ แบงค์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปัจจุบัน
นโยบายการคลัง
- การปฏิรูปเศรษฐกิจที่สาคัญอีกด้านคือ การวางมาตรฐานด้านการคลังให้เป็นระบบ วางแนวทางการปฏิบัติที่เป็นแบบเดียวกันทั่วประเทศ
- การตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นหน่วยงานที่รวบรวมรายได้ภาษีอากรของแผ่นดิน เร่งรัดการจัดเก็บภาษีและวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เกิด
  ประโยชน์ต่อแผ่นดิน ต่อมายกฐานะเป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ มีหน้าที่จัดระเบียบควบคุมการรับ-จ่ายของกระทรวงต่างๆ
- การจัดตั้งหน่วยงานกรมสรรพากรในและกรมสรรพากรนอก มีหน้าที่ในการจัดเก็บภาษีอากรในกรุงเทพฯและหัวเมืองต่างๆ
- การจัดตั้งกรมศุลกากร มีหน้าที่ในการเก็บภาษีสินค้าขาเข้า-ขาออก และภาษีอากรทั่วๆไป
- กรมทะเบียนที่ดิน มีหน้าที่จัดเก็บอากรที่ดิน
- กรมสรรพสามิต มีหน้าที่จดเก็บภาษีสุรา
                           ั
การเปลี่ยนแปลงลักษณะการผลิต
  การผลิตในยุคปฏิรูปเริ่มเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก ส่วนใหญ่ยังคงเป็นผลิตผลด้านการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนาไปแปรรูปใช้
  ในอุตสาหกรรรม ส่งผลให้มีรายได้เข้าประเทศเพิ่มขึ้น
การเพิ่มผลผลิตด้านเกษตรกรรม
- ภายหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง สินค้าส่งออกที่สาคัญคือข้าว (เริ่มส่งออกในสมัย ร.4)
- เมื่อข้าวไทยจาหน่ายได้ราคาดี และ ร.5 ยกเลิกทาสและระบบไพร่ ประชาชนจึงหันมาทานาเพื่อการส่งออกกันมากขึ้น
- มีการบุกเบิกขยายพื้นที่เพาะปลูกในภาคกลาง ขุดคลองใหม่ และขุดลอกคลองเก่า สร้างประตูกั้นน้า เพื่อประโยชน์ต่อการเพาะปลูกและ
  การคมนาคม เช่น คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น จัดตั้งกรมชลประทาน เพื่อควบคุมการขุดคลองและบารุงรักษาการใช้น้าของเกษตรกร เป็นผล
  ทาให้การค้าข้าวขยายตัวเพิ่มขึ้น
** คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองที่ขุดขึ้นในสมัย ร.4 เพื่อขยายเขตพระนครให้กว้างขวาง และใช้เป็นปราการป้องกันพระนครชั้นนอก **
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                                  หน้าที่ 4                                              © บอสคุง ฉึกฉึก

การส่งเสริมด้านอุตสาหกรรม
  ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขึ้นพื้นฐาน คือ การนาทรัพยากรในประเทศมาผลิตเพื่อการส่งออก (เจ้าของกิจการส่วนใหญ่เป็นชาวจีน) เช่น
- โรงสีข้าว ที่เกิดขึ้นเป็นจานวนมากในเขตพระนคร เป็นผลมาจากการส่งข้าวเป็นสินค้าการส่งออก
- โรงเลื่อยจักร ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาในเขตกรุงเทพฯ
- อู่ต่อเรือสมัยใหม่ มีทั้งของหลวงและเอกชน เป็นเรือกลไฟและเรือเหล็ก อยู่บริเวณริมลาน้าเจ้าพระยาทางด้านใต้
- เหมืองแร่ ส่วนใหญ่เป็นเหมืองดีบุกบริเวณทางภาคใต้ ราชการจัดตั้งกรมราชโลหกิจและภูมิพิทยาขึน มีหน้าที่ในการควบคุมทาเหมืองแร่
                                                                                             ้
การส่งเสริมด้านการค้าและพาณิชยกรรม
  รายได้จากการค้า เป็นรายได้หลักของประเทศ ไทยก้าวสู่ยุคการปรับตัวให้ทันสมัย จึงมีการสั่งสินค้าเข้ามากกว่าส่งออก เป็นผลให้ไทยเริ่มเสีย
  ดุลการค้า นโยบายการค้าเปลียนไปจากสมัยก่อน โดยไทยได้ทาสนธิสัญญาการค้ากับประเทศต่างๆ มีการตั้งกงสุลประจาต่างประเทศ เพื่อ
                              ่
  ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ท่าเรือสาคัญของไทยที่ส่งสินค้าไปจาหน่ายต่างประเทศ คือ ท่าเรือคลองเตย
การค้าภายใน
- ตลาดและร้านค้าจะอยูตามเส้นทางการค้าทางบกเป็นส่วนใหญ่ พ่อค้าชาวจีนและชาติอื่นๆ ได้ตั้งร้านค้าตามตึกแถวริมถนนตัดใหม่ ย่าน
                       ่
  การค้าจึงกระจายไปทางบกแทนที่ตลาดน้า
การค้าภายนอก
- สมัยนี้การค้าทางสาเภากับจีนซบเซาลง การค้ากับชาติตะวันตกรุ่งเรือง โดยมีการนาสินค้าใหม่จากยุโรปและเอเชียเข้ามาจาหน่าย ทาให้พ่อค้า
  ชาวจีนบางส่วนได้เปลี่ยนไปเป็นตัวแทนจาหน่ายสินค้ายุโรปแทนพ่อค้าชาวตะวันตก
การสร้างสาธารณูปโภค
- เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
รัชกาลที่ 4
- ทรงให้สร้างถนน ตามวิทยาการของตะวันตกเป็นทางสัญจร ได้แก่ ถนนเจริญกรุง ถนนบารุงเมือง และถนนเฟื่องนคร
รัชกาลที่ 5
- ได้มีการสร้างถนนเพิมอีกหลายสายในเขตพระนคร เพื่อการคมนาคมที่รวดเร็ว เช่น ถนนราชดาเนิน ถนนเยาวราช ถนนพาหุรัด ถนนสามเสน
                     ่
  ถนนพญาไท
- มีการสร้างสะพานถาวรข้ามคลองเชื่อมถนนตัดใหม่ เช่น สะพานผ่านพิภพลีลา สะพานผ่านฟ้าลีลาศ สะพานมัฆวานรังสรรค์
- การติดต่อกับหัวเมือง มีการสร้างรถไฟทั้งสายตะวันออกเฉียงเหนือ สายเหนือ และสายใต้ โดยมีกรมรถไฟหลวงควบคุมดูแลในการสร้างทาง
  รถไฟ
- มีการตั้งกรมไฟฟ้าและประปา ซึงให้ประโยชน์แก่พ่อค้าและประชาชน
                                  ่
- หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ มีการตังกรมไปรษณีย์และโทรเลข ดูแลด้านการสื่อสารของประเทศ ทาให้การติดต่อค้าขายในยุโรปและเอเชีย
                                ้
  สะดวกขึ้น
- กรมแผนที่ ดูแลรับผิดชอบในการระบุบริเวณป่าไม้ เหมืองแร่ และการออกโฉนดที่ดิน

พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ
  สังคมไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีและปรับปรุงบ้านเมืองในสมัยรัชกาลที่ 4 เพื่อให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก ส่วน
  พระราโชบายของรัชกาลที่ 5 คือ การพัฒนาสังคมไทยไปพร้อมกับปฏิรูปประเทศ

พัฒนาการด้านคุณภาพของราษฎร
การส่งเสริมการศึกษา
  การศึกษาของไทยแต่เดิมมักอยู่ที่ บ้าน-วัง-วัด ผู้ที่ได้รับการศึกษาส่วนใหญ่เป็นชนชั้นสูง ส่วนสามัญชนบิดามารดาจะนาบุตรชายไปฝากตัวที่
  วัด เพื่อเรียนภาษาไทยและการคานวณ หลังจากนั้นจึงเรียนวิชาชีพกับครอบครัว ส่วนเด็กหญิงไม่ค่อยมีโอกาสในการเรียน มักฝึกฝนวิชางาน
  บ้านงานเรือนอยู่ที่บ้าน หากมีโอกาสจึงได้เข้ารับการอบรมกิริยามารยาทและวิชาสาหรับกุลสตรีในวัง
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                                  หน้าที่ 5                                             © บอสคุง ฉึกฉึก

ตั้งโรงเรียนการศึกษาพื้นฐานแบบตะวันตก
- ร.4 โปรดเกล้าให้มิชชันนารีหญิงมาสอนภาษาอังกฤษแก่พระโอรส-ธิดา
- ร.5 โปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนหลวงสอนวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษในวัง เพราะทรงตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาคนไทยให้มี
   ความรู้ทั้งแบบไทยและวิทยาการตะวันตก
- ทรงตั้งโรงเรียนลักษณะเดียวกับราษฎรขึ้นเป็นโรงเรียนหลวงอาศัยตามวัดต่างๆ โดยเริมจากวัดมหรรณพาราม
                                                                                     ่
- มีโรงเรียนของพวกมิชชันนารีเข้ามาในประเทศ ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เช่น โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน
- ร.5 ทรงสนับสนุนให้ตั้งโรงเรียนสาหรับสตรี คือ โรงเรียนสุนันทาลัย แต่ตั้งได้ไม่นานก็เลิกล้มไป ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี
   โปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนเสาวภา และพ.ศ.2447 ได้ขอพระราชทานที่ดินของโรงเรียนสุนันทาลัยตั้งเป็นโรงเรียนราชินี
- ร.5 ยังโปรดให้จัดตั้งโรงเรียนสาหรับเด็กชาย โดยจัดหาครูชาวต่างประเทศมาดาเนินการ เช่น โรงเรียนสวนกุหลาบ
ตั้งโรงเรียนฝึกหัดคนเข้ารับราชการ
- ร.5 ทรงโปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนในบริเวณพระตาหนักสวนกุหลาบ สาหรับฝึกสอนทหารมหาดเล็ก เรียกว่า โรงเรียนมหาดเล็ก ต่อมา
   เปลี่ยนเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และพัฒนาไปเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตั้งกรมศึกษาธิการ
- ทาหน้าที่ดูแลการศึกษาทั้งจัดทาหลักสูตรแบบเรียนวัดผลการศึกษา จัดหาและผลิตครูโดยได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นกระทรวงธรรมการ
- ร.5 ทรงริเริ่มส่งพระโอรสและเจ้านายไปศึกษาในยุโรป รวมทั้งพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงแก่สามัญชนด้วย
การปรับปรุงด้านแพทย์และสาธารณสุข
  รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราโชบายปรับปรุงการสาธารณสุข โดยนาวิธีการของตะวันตกมาเป็นแบบอย่างในการปรับปรุง
การตั้งโรงพยาบาล โรงเรียนแพทย์ โอสถศาลา และสภากาชาด
- ร.5 ทรงมีพระราชประสงค์จะสร้างสถานรักษาพยาบาลแก่ราษฎร จึงได้สร้างโรงพยาบาลที่บริเวณวังหลัง ในพ.ศ.2431ซึ่งได้รับพระราชทาน
  นามว่า ศิริราชพยาบาล
- จัดตั้งโอสถศาลาและสภาอุณาโลมแดง ซึ่งเริ่มจากช่วงวิกฤตการณ์ ร.ศ.112
- ผู้ริเริมก่อตั้งสภาอุณาโลมแดง คือ ท่านเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ปัจจุบนสภาอุณาโลมแดง คือ สภากาชาดไทย
          ่                                                          ั
การป้องกันโรคระบาด
- ร.5 เกิดอหิวาตกโรคระบาดครั้งใหญ่(2424) ทรงโปรดให้จัดการรักษาพยาบาลแบบตะวันตกแทนการทาพิธีทางศาสนา โดยการปรุงยารักษา
  โรค และจัดหาน้าสะอาดมาดื่มกิน เป็นที่มาของโครงการจัดทาน้าประปาในเวลาต่อมา
- ร.5 ทรงว่าจ้างนายแพทย์ต่างประเทศให้มาบาบัดโรคกาฬโรค และหาวิธีป้องกันไม่ให้ราษฎรเสียชีวิต และพยายามกาจัดพาหะของโรคอีกด้วย
- ร.5 พยายามตั้งโรงผลิตหนองฝีในเมืองไทย แต่ประสบความสาเร็จในรัชกาลต่อมา
การตั้งกรมสุขาภิบาล
- ร.5 โปรดเกล้าให้ตั้งสุขาภิบาล (มีหน้าที่ขจัดบ่อเกิดของโรคระบาด)
การห้ามสูบฝิ่น
- ในสมัย ร.4 ไทยต้องยอมผ่อนผันตามข้อเรียกร้องของอังกฤษ อนุญาตให้จาหน่ายฝิ่นได้อีก
- แต่ในสมัย ร.5 พระองค์ทรงเห็นโทษที่รุนแรงจากการสูบฝิ่น รวมทังเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลจึงตัดสินใจออก
                                                                       ้
  ประกาศห้ามสูบฝิ่นและผสมฝิ่นเป็นยา
การเปลียนแปลงสภาพชีวิต
            ่
- ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพ่อค้าชาวยุโรปและชาวจีนเปิดห้างร้านจาหน่ายสินค้าตะวันตกเพิ่มมากขึ้นเป็นจานวนมาก ชาวไทยจึงได้ปรับรสนิยมและ
  วิถีชีวิตเป็นแบบสากลนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะในเขตพระนครและหัวเมืองสาคัญ
- ร.5 ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมบางอย่างของไทย เช่น ธรรมเนียมการเข้าเฝ้า ให้ยืนเฝ้าและถวายคานับ และถ้า
  โปรดเกล้าให้นั่งก็นั่งเก้าอี้ด้วยกัน การแต่งกายให้สวมเสื้อ ใส่ถุงน่อง รองเท้า นุ่งโจงกระเบน
- การเปลี่ยนแปลงทรงผม เปลี่ยนทรงมหาดไทย > รองทรง สตรีปรับเป็นทรงดอกกระทุมหรือผมตัด เด็กหญิงไว้จุกแล้วจึงเริมไว้ผมยาวประบ่า
                                                                                         ่                               ่
- การแต่งกายบุรุษ แต่งแบบฝรั่ง ใช้เสื้อฝรั่ง นุ่งโจงกระเบน ใส่ถุงน่อง รองเท้า // สตรี ได้รับการปรับปรุงเป็นเครื่องเต็มยศใหญ่
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                                   หน้าที่ 6                                              © บอสคุง ฉึกฉึก

- วัฒนธรรมการกิน เปลี่ยน การนังกินกับพื้นและใช้มือเปิบ > นั่งโต๊ะกินพร้อมกันในห้องอาหาร
                                ่
- อาคารที่พักของประชาชน มีการก่อสร้างโดยนารูปแบบและเทคโนโลยีตะวันตกมาใช้ มีการจัดแบ่งเป็นห้องๆ ตกแต่งด้วยเครื่องเรือนและ
  ศิลปวัตถุต่างๆ ซึ่งแสดงถึงสถานภาพสังคมของเจ้าของห้อง

พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  สมัยปรับปรุงประเทศเป็นช่วงเวลาแห่งมหาอานาจตะวันตกขยายอิทธิพลครอบคลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทยจึงต้องดาเนินนโยบาย
  ต่างประเทศอย่างรอบคอบเพื่อรักษาสัมพันธไมตรีและไม่ให้สูญเสียอานาจอธิปไตยแก่ชาติตะวันตก
การทาสนธิสัญญากับมหาอานาจตะวันตก
อังกฤษ
รัชกาลที่ 4
- ต้นรัชกาลที่ 4 รัฐบาลอังกฤษส่ง เซฮร์ จอห์น เบาว์ริง ในฐานะราชทูตของกษัตริย์อังกฤษ ได้เข้ามาเจรจากับรัฐบาลไทย ซึ่งร.4ทรงพิจารณา
  ว่า ไทยจาเป็นต้องยอมทาเพื่อผ่อนปรนแรงกดดันจากลัทธิลาอาณานิคมที่เป็นนโยบายหลักของชาติตะวันตก ที่สุดจึงได้ทา สนธิสัญญา
                                                          ่
  เบาว์ริง ใน พ.ศ.2398
สนธิสญญาเบาว์รง (พ.ศ.2398)
       ั          ิ
1. พ่อค้าอังกฤษสามารถซื้อขายสินค้าทุกชนิดกับราษฎรไทยได้เสรี โดยเสียภาษีขาเข้าร้อยละ 3
2. ชาวอังกฤษและคนในบังคับได้รับสิทธิสภาพนอกอาณาเขต เมื่อบุคคลเหล่านั้นกระทาความผิด ให้ขนศาลต่างประเทศหรือศาลกงสุลของ
                                                                                              ึ้
   ประเทศของตน
3. อังกฤษตั้งสถานกงสุลเพื่อคุ้มครองดูแลชาวอังกฤษและคนในบังคับที่พานักอยู่ในสยาม
 **ไทยสูญเสียผลประโยชน์อย่างมากทั้งด้าน ภาษี ศุลกากร และสิทธิทางการศาล**
- ในสมัย ร.4 นี้ไทยได้ทาสนธิสัญญาในทานองเดียวกันกับชาติตะวันตกอื่นๆ เช่น ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ออสเตรีย-ฮังการี ญี่ปุ่น
รัชกาลที่ 5
- ช่วงรัชกาลที่ 5 อังกฤษแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในดินแดนไทยมากขึ้น ขณะเดียวกันก็กีดกันมิให้มหาอานาจชาติอื่นขยายบทบาทในบริเวณนี้
- อังกฤษและฝรั่งเศส ตกลงทาข้อตกลงประกันอธิปไตยของไทยบริเวณลุ่มแม่น้าภาคกลาง ซึ่งเท่ากับรับรองให้ไทยเป็นรัฐกันกระทบ ระหว่าง
  พรมแดนอาณานิคมของตน โดยดินแดนทางฝั่งตะวันออกเป็นเขตอิทธิพลของฝรั่งเศส ดินแดนทางฝั่งตะวันตกและทางใต้เป็นเขตอิทธิพลอังกฤษ
ฝรั่งเศส
- ทาสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการค้ากับไทยใน พ.ศ.2399 แต่ฝรั่งเศสได้อ้างสิทธิแทนญวนเข้าไปแทรกแซงในเขมร
- พ.ศ.2406 ฝรั่งเศสบีบบังคับให้เขมรทาสัญญาลับยินยอมให้เขมรเป็นรัฐในอารักขา โดยใช้วิถีทางการทูตให้ไทยรับรองว่าเขมรเป็นของฝรั่งเศส
  และให้แม่น้าโขงเป็นแม่น้านานาชาติ
- รัฐบาลไทยยอมทาสนธิสัญญากับฝรั่งเศส (2410) : ไทยต้องยอมรับว่าดินแดนเขมรส่วนนอกทั้งหมดเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส ยกเว้น
  เมืองเสียมราฐและพระตะบองที่ยังเป็นของไทย
- ฝรั่งเศสยังจะขยายอิทธิพลเข้าไปในเขมรส่วนในและหัวเมืองลาว ฝรั่งเศสขอตั้งสถานกงสุลที่หลวงพระบาง
- ฝรั่งเศสได้เข้าแทรกแซงหัวเมืองลาวซึ่งถูกพวกฮ่อรุกรานทั้งยังอ้างสิทธิ์ของญวนเหนือดินแดนเหล่านี้ และเข้ายึดครองแคว้นสิบสองจุไทย
  หัวพันทั้งห้าทั้งหก พร้อมทังส่งกองกาลังฝรั่งเศสเข้ามาโดยอ้างที่จะช่วยปราบฮ่อที่หลวงพระบางและดินแดนริมฝั่งแม่น้าโขง ทาให้เกิดการ
                               ้
  ปะทะกับทหารไทย ฝรั่งเศสจึงส่งเรือรบ 2 ลามาถึงปากแม่นาเจ้าพระยา เกิดการตอบโต้ระหว่างป้อมพระจุลจอมเกล้ากับเรือรบฝรั่งเศส
                                                            ้
  ปรากฏว่าเรือนาร่องฝรั่งเศสถูกยิงจมลงและทหารไทย-ฝรั่งเศสเสียชีวิตและบาดเจ็บทั้งสองฝ่าย นาไปสู่วิกฤตการณ์ ร.ศ.122 (พ.ศ.2436)
- มีการเจรจาทางการทูตเพือยุติปัญหา ฝรั่งเศสยืนคาขาดโดย (1)ไทยต้องยกดินแดนฝั่งซ้ายของแม่นาโขงและเกาะในแม่น้าให้ฝรั่งเศส (2)ไทยต้องให้
                             ่                                                               ้
  พื้นที่ 25 กม.ฝั่งชวาแม่น้าโขงให้เป็นเขตปลอดทหารและรื้อค่ายต่างๆ (3)ไทยต้องวางเงินค่าปรับไหมและค่าทาขวัญให้ฝรั่งเศสรวม 3 ล้านฟรังก์
- ไทยยอมปฏิบติตามฝรั่งเศส ฝรั่งเศสจึงหยุดปิดล้อมไทยแต่กลับไปยึดจันทบุรต่อและยังจะเข้ามายึดภาคอีสานของไทย ทาให้ไทยต้องทา
                 ั                                                         ี
  สนธิสัญญากับฝรั่งเศสอีก 2 ฉบับ
-สรุปประวัตศาสตร์ ม.3-
           ิ                                              หน้าที่ 7                                          © บอสคุง ฉึกฉึก

สัญญาทีไทยต้องยอมทากับฝรังเศสเพือแลกกับจันทบุรและภาคอีสาน
         ่                  ่     ่           ี
1. สนธิสัญญา 2446 ไทยยอมยกเมืองจาปาศักดิ์ มโนไพร และหลวงพระบางฝั่งขวาให้แก่ฝรั่งเศสเพือแลกกับการถอนทหารออกจากจันทบุรีแต่
                                                                                      ่
   ฝรั่งเศสจะยังยึดเมืองตราดต่อไป
2. สนธิสัญญา 2449 ไทยยอมยกเมืองเสียมราฐ พระตะบอง และศรีโสภณให้ฝรั่งเศส เพื่อแลกกับเมืองตราดและหมู่เกาะบริเวณนั้น รวมทั้งได้
   สิทธิสภาพนอกอาณาเขตบางส่วนกลับคืน

นโยบายผ่อนปรน
- ร.4 และ ร.5 ได้ทาสนธิสัญญาทางสัมพันธไมตรีและยอมสละดินแดนบางส่วน นับเป็นการดาเนินนโยบายผ่อนปรนต่อตะวันตก
- ร.4 ทรงยินยอมผ่อนปรนต่อ EN ในการทาสนธิสัญญาเบาว์ริง แม้ว่าจะทาให้ไทยเสียผลประโยชน์กตาม
                                                                                       ็
- ร.4 FR คุกคามจะเอาเขมรเป็นรัฐอารักขา TH พยายามต่อต้านอานาจของ FR ที่สุดต้องผ่อนปรนทาสนธิสัญญา 2410
- ร.5 TH ต้องยอมผ่อนปรนทาสนธิสัญญาตามข้อเรียกของ FR อีกหลายฉบับ สนธิสัญญา 2436 : ยุติวิกฤตการณ์ ร.ศ.112 // สนธิสัญญา
  2446,2449 : ไทยยอมเสียดินแดนเขมรและลาวให้ FR
- ร.5 ทาข้อตกลงกับ EN ขอให้ไทยไม่โอนดินแดนไทยตั้งแต่บริเวณสะพานลงไปหรือสิทธิพิเศษใดให้ประเทศอื่น
- ร.5 ทาสนธิสัญญา2451 กับ EN : TH ยอมยกสิทธิทางการปกครองหัวเมืองมลายูให้ EN

นโยบายถ่วงดุลอานาจ&ผูกมิตร
- ไทยทาสัญญาในลักษณะเดียวกับเบาว์ริงกับต่างประเทศอีก 12 ประเทศ เพือให้ชาติมหาอานาจอื่นๆมาถ่วงดุลอานาจของอังกฤษเพือป้องกัน
                                                                  ่                                              ่
  ไม่ให้ชาติใดชาติหนึ่งมีอิทธิพลเหนือไทย
- ร.5 ดาเนินนโยบายถ่วงดุลอานาจระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส พร้อมคบชาติตะวันตกอื่นๆ เพื่อคานอานาจของอังกฤษและฝรั่งเศส

นโยบายสูการเมืองโลก
         ่
- สมัยรัชกาลที่ 5 ไทยได้สมัครเข้าเป็นภาคีสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศ เช่น สหภาพไปรษณีย์สากล สภาอุณาโลมแดง และศาล
  ยุติธรรมระหว่างประเทศ นโยบายดังกล่าวไทยได้รับการยอมรับว่ามีสถานะทัดเทียมกับประเทศอธิปไตยอื่นๆ


                                              

More Related Content

What's hot

1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551วายุ วรเลิศ
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียKran Sirikran
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานWiroj Suknongbueng
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 

What's hot (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
การฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงาน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ...
 
กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์พัน พัน
 
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405noo Carzy
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค6091429
 
ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11Tharapat
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย4lifesecret
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)พัน พัน
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์Kruorawan Kongpila
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 

Viewers also liked (20)

เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
 
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
 
ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11ประเทศญี่ปุ่น11
ประเทศญี่ปุ่น11
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
รัฐโบราณ
รัฐโบราณรัฐโบราณ
รัฐโบราณ
 
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
ช่วยเหลือ
ช่วยเหลือช่วยเหลือ
ช่วยเหลือ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 

Similar to สรุปวิชาประวัติศาสตร์

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3AJ Por
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นสรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นKunnai- เบ้
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to สรุปวิชาประวัติศาสตร์ (14)

กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 3
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้นสรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
สรุปรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 

สรุปวิชาประวัติศาสตร์

  • 1. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 1 © บอสคุง ฉึกฉึก สรุปวิชาประวัติศาสตร์ ม.3 ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหัว (ร.4) ่ - พระบรมวงศ์ ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ และพระเถระระดับสูงได้อัญเชิญสมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎ สืบสันตติวงศ์เป็นกษัตริย์ ลาดับที่ 4 แห่งราชวงศจักรี ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว - ทรงสถาปนาร่วมกับพระอนุชาร่วมพระชนนี คือ สมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ขึ้นเป็น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล แต่มี อิสริยยศสูงเกือบเสมอกษัตริย์ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.5) - พระบรมวงศ์ อัครมหาเสนาบดี สมุหพระกลาโหม สมุหนายก ได้คัดเลือกกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้คัดเลือก กรมพระราชวังบวรวิ ไชยชาญ พระโอรสในพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ซึ่งก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างวังหน้า และวังหลวงขึ้น - กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคลพระองค์สดท้าย ก่อนที่จะสถาปนาตาแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ุ สยามมกุฎราชกุมารขึ้นมาแทน (2429) เนื่องจากกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทิวงคต (2428) - สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงเป็นสยามมกุฎราชกุมาร พระองค์แรกแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ บทบาทของพระมหากษัตริย์ไทยในการสร้างสรรค์ความเจริญและความมั่นคงของชาติ รัชกาลที่ 4 (พ.ศ.2394 - พ.ศ.2411) - พระองค์ทรงมีความรู้ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี จึงทรงปรับปรุงประเทศสู่ความทันสมัยตามแบบตะวันตก - สนับสนุนให้พระบรมวงศ์และขุนนาง เรียนรู้ภาษาอังกฤษและวิทยาการที่ก้าวหน้า - รักษาประเทศให้ปลอดภัยจากภัยคุกคามของลัทธิจักรวรรดินยมทีแผ่อานาจเข้าสู่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทรงยอมปรับปรุงสนธิสัญญา ิ ่ ทางการค้า เริ่มจากสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง (2398) ทาให้ไทยเสียเปรียบด้านการค้า แต่การค้ากับชาติตะวันตกเจริญรุ่งเรืองขึ้น - มีการตัดถนนในกรุงเทพ ขุดคลองเพื่อขยายพื้นที่ทานา รัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2411 - พ.ศ.2453) - เป็นช่วงเวลาสาคัญของการจัดระบบและสร้างระเบียบของบ้านเมือง เพื่อเสถียรภาพของสถาบันพระมหากษัตริย์ รัฐบาลได้ดาเนินนโยบาย ต่างประเทศอย่างรอบคอบ เพื่อปกป้องดินแดนและเอกราชของประเทศ - ทรงดาเนินการปฏิรูปประเทศ เพื่อให้ไทยเป็นประเทศที่เจริญและทันสมัยตามแบบตะวันตก - การปฏิรูประยะแรก = จัดระเบียบด้านการเงิน ปรับปรุงการปกครองและสังคมโดยยกเลิกระบบทาสไพร่ ปฏิรูปการศึกษา - การปฏิรูประยะสอง = การปกครองส่วนกลางและภูมภาค กฎหมายและศาล การคมนาคม ดาเนินนโยบายทางการทูต การเสด็จประพาส ิ ต่างประเทศ ยินยอมเสียดินแดนบางส่วนเพื่อแลกกับเอกราช พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง ระบอบการปกครอง - สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการปกครองทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยดึงอานาจบริหารเข้าสู่ศูนย์กลาง การจัดระเบียบการปกครอง รัชกาลที่ 4 - ร.4 เสด็จขึ้นครองราชย์ อิทธิพลของชาติตะวันตกได้คุกคามเข้ามาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พระองค์จงทรงปรับปรุงบ้านเมืองให้ทันสมัย เพื่อ ึ ป้องกันมิให้ชาติตะวันตกดูถูกคนไทย และถือเป็นข้ออ้างในการยึดครองได้ - ทรงเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีที่ล้าสมัย เช่น ให้ขุนนางที่จะเข้าเฝ้าสวมเสื้อให้เรียบร้อย, ให้ราษฎรเข้าเฝ้าถวยพระพรได้อย่าง ใกล้ชิด, ให้ราษฎรถวายฎีการ้องทุกข์ได้ทุกวันโกน(ก่อนวันพระ) เดือนละ 4 ครั้ง - ทรงเปลี่ยนแปลงวิธีการแต่งตั้งพระมหาราชครู (ทาหน้าที่พิจารณาคดีความในศาล) - ทรงออกหนังสือราชกิจจานุเบกษา เพื่อให้หนังสือราชการต่างๆมีความถูกต้องชัดเจน จะได้ไม่คลาดเคลื่อนและทบทวนได้
  • 2. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 2 © บอสคุง ฉึกฉึก รัชกาลที่ 5 - การบริหารราชการเริ่มก่อปัญหาความไม่คล่องตัวในราชการ ในช่วงเวลาที่ไทยต้องปรับตนเองให้ทันสมัย และเข้มแข็งเมื่อเผชิญหน้ากับการ คุกคามของชาติตะวันตก - ทรงปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ่เพื่อสร้างเสถียรภาพแห่งราชบัลลังก์และราชอาณาจักร การปฏิรูประยะที่ 1 (2411-2430) เป็นระยะเวลาที่ ร.5 ทรงมีฐานะการเมืองไม่มั่นคง เพราะมีสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้สาเร็จราชการแทน ร.5 เริ่มพยายามดึงอานาจการบริหารคืนจากกลุ่มขุนนางเพื่อสร้างความเป็นหนึ่งอันเดียวกันของรัฐ ขจัดความแตกแยกในกลุมชนชั้นปกครอง ่ การปกครองส่วนกลาง - ร.5 ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน = ขุนนางระดับพระยา 12 คน มีหน้าที่ถวายคาปรึกษาราชการที่สาคัญรวมทั้งพิจารณาคดีพิเศษ - ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ = พระบรมวงศ์+ขุนนาง 49 นาย มีหน้าที่ถวายคาแนะนาข้อปรึกษาส่วนพระองค์ - ปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ คือ ตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นหน่วยงานในการรวบรวมรายได้จากภาษีอากรและจัดระเบียบการรับ-จ่ายที่เป็นรายได้ ของประเทศ - ยกเลิกธรรมเนียมหมอบคลาน > ยืนหรือเดิน แทน, การถวายบังคมกราบไหว้ > โค้งศีรษะ การปกครองหัวเมือง - ร.5 ทรงปฏิรูปการปกครองหัวเมืองจากเดิมมีลักษณะกินเมือง(เจ้าเมืองมีอานาจมากและมักสืบทอดต่อไปยังลูกหลาน) โดยเฉพาะประเทศราช ที่เป็นที่ยอมรับอานาจของอาณาจักรเข้มแข็งกว่าหลายอาณาจักรพร้อมๆกัน ทาให้จักกรวรรดินิยมตะวันตกใช้เป็นข้ออ้างในการยึดครองได้ - โปรดเกล้าแต่งตั้งข้าหลวงไปประจาหัวเมือง (เริ่มที่เชียงใหม่) นับเป็นการเริมต้นควบคุมหัวเมืองจากส่วนกลางและลดอานาจเจ้าเมืองลง ่ การปฏิรูประยะที่ 2 (2431-2453) ระยะนี้ ร.5 ทรงมีพระราชอานาจโดยสมบูรณ์ จึงนามาตรการต่างๆมาปฏิรูปการปกครองอย่างเร่งด่วน การปกครองส่วนกลาง - 2430 เพิ่มกรมราชการอีก 6 กรม จาก 6 กรม บริหารร่วมกันในรูปของเสนาบดีสภา ประกอบด้วยเสนาบดีเจ้ากระทรวง 12 กระทรวง - 2435 ยกฐานะของกรมเหล่านี้ขนเป็นกระทรวง รวม 12 กระทรวง คือ มหาดไทย กลาโหม ต่างประเทศ วัง นครบาล พระคลังมหาสมบัติ ึ้ เกษตรพานิชการ โยธาธิการ ธรรมการ ยุทธนาธิการ ยุติธรรม และมุรธาธร - แบ่งกิจการพลเรือนและทหารออกจากกันโดยเด็ดขาด - ยกเลิกตาแหน่งอัครมหาเสนาบดี และ จตุสดมภ์ - ปรับปรุง สภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์ > องคมนตรีสภา (สอบสวนงานราชการ เช่น ชาระความฎีกา) - ปรับปรุงลูกขุน ณ ศาลหลวง > รัฐมนตรีสภา (เป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน เกี่ยวกับกฎหมายและตีความราชประเพณี) การปกครองหัวเมืองเป็นแบบมณฑลเทศาภิบาล - 2437 จัดระบบเทศาภิบาลอย่างเป็นทางการ รวมหัวเมืองหลายหัวเมือง > มณฑล มีสมุหเทศาภิบาลเป็นผู้ปกครองขึ้นกับกระทรวงมหาดไทย - เป็นการปกครองแบบรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลาง โดยยกเลิกระบบกินเมือง - แต่ละมณฑลแยกออกเป็น เมือง อาเภอ ตาบล และหมูบ้าน ทาให้เป็นเอกภาพและมีขอบเขตที่ชัดเจน ่ การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล - ในสมัย ร.5 โปรดเกล้าให้จัดตั้งการปกครองส่วนท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล ตามพรบ.การปกครองท้องถิ่น ร.ศ.116 - ให้สิทธิแก่ราษฎรที่จะเลือกผู้ปกครองตนเองในระดับหมู่บ้านและตาบล เพื่อให้ดูแลท้องถิ่นของตนเอง - การปกครองสุขาภิบาลแห่งแรก คือ สุขาภิบาลท่าฉลอม - ตามพรบ.สุขาภิบาล ร.ศ.127 กาหนดให้มสุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตาบล ี กฎหมายและการศาล นับเป็นอุปสรรคต่ออานาจ รัชกาลที่ 4 อธิปไตยของประเทศ - ไทยทาสนธิสญญาเบาว์ริ่งกับอังกฤษ (2398) และทากับชาติตะวันตกอื่นๆในเวลาต่อมา เป็นผลให้ไทยเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขตหรือ ั อานาจทางการศาล เนื่องจากชาติตะวันตกอ้างว่ากฎหมายไทยไม่ยุตธรรม ไม่ยอมรับการลงโทษรุนแรงแบบไทย ิ - หากเกิดคดีความกับชาวต่างชาติและคนในบังคับ จะไม่ขึ้นศาลไทย แต่จะโอนไปพิจารณาคดีในศาลกงสุลของชาติตน
  • 3. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 3 © บอสคุง ฉึกฉึก รัชกาลที่ 5 - ทรงพยายามที่จะดึงอานาจกฎหมายและการศาลกลับคืนมา โดยปฏิรูปไปเป็นแบบสากล - จัดตั้งกระทรวงยุติธรรมเพื่องควบคุมงานศาลให้มารวมอยู่ที่ศาลสถิตยุติธรรม ตั้งศาลระหว่างประเทศพิจารณาร่วมกับศาลกงสุล - ก่อตั้งโรงเรียนกฎหมาย มีพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ และ นายโรลัง ยัคแมงส์ (นักกฎหมาย ชาวเบลเยียม) เป็นกาลังสาคัญ พร้อมกับเจรจาแก้ไขสนธิสญญาทีไม่เป็นธรรมกับนานาประเทศ โดยเฉพาะปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ั ่ - จัดร่างประมวลกฎหมายตามแบบชาติตะวันตกแต่ให้เข้ากับธรรมเนียมประเพณีไทย - ว่าจ้างนักกฎหมายต่างชาติมาช่วยจัดร่างจนสาเร็จ - ประมวลกฎหมายอาญา ประกาศใช้ครั้งแรก พ.ศ.2441 หลังจากนั้นจึงเริ่มการร่างประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ สาเร็จประกาศใช้ พ.ศ.2478 ไทยสามารถเรียกร้องเอกราชทางกฎหมายและศาลกลับคืนมาได้สมบูรณ์ใน พ.ศ.2481 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจในสมัยปฏิรูปประเทศ - สนธิสัญญากับชาติตะวันในสมัยรัชกาลที่ 4 ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของไทย คือ ไทยต้องยกเลิกการค้าผูกขาดโยกรมพระคลังสินค้า และการเก็บภาษีการค้าที่ซ้าซ้อน เปลี่ยนเป็นการเก็บภาษีขาเข้าเพียงร้อยละ 3 ส่วนภาษีขาออกจะทาการตกลงเป็นกรณี - ในรัชกาลที่ 5 ทรงจัดระเบียบการคลังให้เป็นระบบเพื่อสอดคล้องกับนโยบายหลักในการปฏิรูปประเทศ การจัดระเบียบด้านการเงินการคลัง นโยบายด้านการเงิน - สมัยรัชกาลที่ 5 มีการปรับปรุงระบบเงินตราและการผลิตเหรียญให้เป็นสากล, แก้ไขปัญหาเงินปลอม, ประกาศใช้มาตรฐานทองคาและตั้ง เงินทุนสารองเพื่อรักษาอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทไทย - ธนบัตรได้เข้ามามีบทบาทในระบบการเงินของประเทศมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 - ธนาคารพาณิชย์แห่งแรกในไทย คือ ธนาคาร HSBC - ธนาคารแห่งแรกของไทย คือ บุคคลัภย์ (Book club) ต่อมาขยายเป็นธนาคารชื่อ แบงค์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์ ในปัจจุบัน นโยบายการคลัง - การปฏิรูปเศรษฐกิจที่สาคัญอีกด้านคือ การวางมาตรฐานด้านการคลังให้เป็นระบบ วางแนวทางการปฏิบัติที่เป็นแบบเดียวกันทั่วประเทศ - การตั้งหอรัษฎากรพิพัฒน์ เป็นหน่วยงานที่รวบรวมรายได้ภาษีอากรของแผ่นดิน เร่งรัดการจัดเก็บภาษีและวางแผนการใช้จ่ายเงินให้เกิด ประโยชน์ต่อแผ่นดิน ต่อมายกฐานะเป็นกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ มีหน้าที่จัดระเบียบควบคุมการรับ-จ่ายของกระทรวงต่างๆ - การจัดตั้งหน่วยงานกรมสรรพากรในและกรมสรรพากรนอก มีหน้าที่ในการจัดเก็บภาษีอากรในกรุงเทพฯและหัวเมืองต่างๆ - การจัดตั้งกรมศุลกากร มีหน้าที่ในการเก็บภาษีสินค้าขาเข้า-ขาออก และภาษีอากรทั่วๆไป - กรมทะเบียนที่ดิน มีหน้าที่จัดเก็บอากรที่ดิน - กรมสรรพสามิต มีหน้าที่จดเก็บภาษีสุรา ั การเปลี่ยนแปลงลักษณะการผลิต การผลิตในยุคปฏิรูปเริ่มเป็นการผลิตเพื่อการส่งออก ส่วนใหญ่ยังคงเป็นผลิตผลด้านการเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนาไปแปรรูปใช้ ในอุตสาหกรรรม ส่งผลให้มีรายได้เข้าประเทศเพิ่มขึ้น การเพิ่มผลผลิตด้านเกษตรกรรม - ภายหลังสนธิสัญญาเบาว์ริง สินค้าส่งออกที่สาคัญคือข้าว (เริ่มส่งออกในสมัย ร.4) - เมื่อข้าวไทยจาหน่ายได้ราคาดี และ ร.5 ยกเลิกทาสและระบบไพร่ ประชาชนจึงหันมาทานาเพื่อการส่งออกกันมากขึ้น - มีการบุกเบิกขยายพื้นที่เพาะปลูกในภาคกลาง ขุดคลองใหม่ และขุดลอกคลองเก่า สร้างประตูกั้นน้า เพื่อประโยชน์ต่อการเพาะปลูกและ การคมนาคม เช่น คลองผดุงกรุงเกษม เป็นต้น จัดตั้งกรมชลประทาน เพื่อควบคุมการขุดคลองและบารุงรักษาการใช้น้าของเกษตรกร เป็นผล ทาให้การค้าข้าวขยายตัวเพิ่มขึ้น ** คลองผดุงกรุงเกษม เป็นคลองที่ขุดขึ้นในสมัย ร.4 เพื่อขยายเขตพระนครให้กว้างขวาง และใช้เป็นปราการป้องกันพระนครชั้นนอก **
  • 4. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 4 © บอสคุง ฉึกฉึก การส่งเสริมด้านอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขึ้นพื้นฐาน คือ การนาทรัพยากรในประเทศมาผลิตเพื่อการส่งออก (เจ้าของกิจการส่วนใหญ่เป็นชาวจีน) เช่น - โรงสีข้าว ที่เกิดขึ้นเป็นจานวนมากในเขตพระนคร เป็นผลมาจากการส่งข้าวเป็นสินค้าการส่งออก - โรงเลื่อยจักร ตั้งอยู่บริเวณริมฝั่งแม่น้าเจ้าพระยาในเขตกรุงเทพฯ - อู่ต่อเรือสมัยใหม่ มีทั้งของหลวงและเอกชน เป็นเรือกลไฟและเรือเหล็ก อยู่บริเวณริมลาน้าเจ้าพระยาทางด้านใต้ - เหมืองแร่ ส่วนใหญ่เป็นเหมืองดีบุกบริเวณทางภาคใต้ ราชการจัดตั้งกรมราชโลหกิจและภูมิพิทยาขึน มีหน้าที่ในการควบคุมทาเหมืองแร่ ้ การส่งเสริมด้านการค้าและพาณิชยกรรม รายได้จากการค้า เป็นรายได้หลักของประเทศ ไทยก้าวสู่ยุคการปรับตัวให้ทันสมัย จึงมีการสั่งสินค้าเข้ามากกว่าส่งออก เป็นผลให้ไทยเริ่มเสีย ดุลการค้า นโยบายการค้าเปลียนไปจากสมัยก่อน โดยไทยได้ทาสนธิสัญญาการค้ากับประเทศต่างๆ มีการตั้งกงสุลประจาต่างประเทศ เพื่อ ่ ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ท่าเรือสาคัญของไทยที่ส่งสินค้าไปจาหน่ายต่างประเทศ คือ ท่าเรือคลองเตย การค้าภายใน - ตลาดและร้านค้าจะอยูตามเส้นทางการค้าทางบกเป็นส่วนใหญ่ พ่อค้าชาวจีนและชาติอื่นๆ ได้ตั้งร้านค้าตามตึกแถวริมถนนตัดใหม่ ย่าน ่ การค้าจึงกระจายไปทางบกแทนที่ตลาดน้า การค้าภายนอก - สมัยนี้การค้าทางสาเภากับจีนซบเซาลง การค้ากับชาติตะวันตกรุ่งเรือง โดยมีการนาสินค้าใหม่จากยุโรปและเอเชียเข้ามาจาหน่าย ทาให้พ่อค้า ชาวจีนบางส่วนได้เปลี่ยนไปเป็นตัวแทนจาหน่ายสินค้ายุโรปแทนพ่อค้าชาวตะวันตก การสร้างสาธารณูปโภค - เพื่อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ รัชกาลที่ 4 - ทรงให้สร้างถนน ตามวิทยาการของตะวันตกเป็นทางสัญจร ได้แก่ ถนนเจริญกรุง ถนนบารุงเมือง และถนนเฟื่องนคร รัชกาลที่ 5 - ได้มีการสร้างถนนเพิมอีกหลายสายในเขตพระนคร เพื่อการคมนาคมที่รวดเร็ว เช่น ถนนราชดาเนิน ถนนเยาวราช ถนนพาหุรัด ถนนสามเสน ่ ถนนพญาไท - มีการสร้างสะพานถาวรข้ามคลองเชื่อมถนนตัดใหม่ เช่น สะพานผ่านพิภพลีลา สะพานผ่านฟ้าลีลาศ สะพานมัฆวานรังสรรค์ - การติดต่อกับหัวเมือง มีการสร้างรถไฟทั้งสายตะวันออกเฉียงเหนือ สายเหนือ และสายใต้ โดยมีกรมรถไฟหลวงควบคุมดูแลในการสร้างทาง รถไฟ - มีการตั้งกรมไฟฟ้าและประปา ซึงให้ประโยชน์แก่พ่อค้าและประชาชน ่ - หน่วยงานด้านเศรษฐกิจ มีการตังกรมไปรษณีย์และโทรเลข ดูแลด้านการสื่อสารของประเทศ ทาให้การติดต่อค้าขายในยุโรปและเอเชีย ้ สะดวกขึ้น - กรมแผนที่ ดูแลรับผิดชอบในการระบุบริเวณป่าไม้ เหมืองแร่ และการออกโฉนดที่ดิน พัฒนาการด้านเศรษฐกิจ สังคมไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมประเพณีและปรับปรุงบ้านเมืองในสมัยรัชกาลที่ 4 เพื่อให้ทันสมัยตามแบบตะวันตก ส่วน พระราโชบายของรัชกาลที่ 5 คือ การพัฒนาสังคมไทยไปพร้อมกับปฏิรูปประเทศ พัฒนาการด้านคุณภาพของราษฎร การส่งเสริมการศึกษา การศึกษาของไทยแต่เดิมมักอยู่ที่ บ้าน-วัง-วัด ผู้ที่ได้รับการศึกษาส่วนใหญ่เป็นชนชั้นสูง ส่วนสามัญชนบิดามารดาจะนาบุตรชายไปฝากตัวที่ วัด เพื่อเรียนภาษาไทยและการคานวณ หลังจากนั้นจึงเรียนวิชาชีพกับครอบครัว ส่วนเด็กหญิงไม่ค่อยมีโอกาสในการเรียน มักฝึกฝนวิชางาน บ้านงานเรือนอยู่ที่บ้าน หากมีโอกาสจึงได้เข้ารับการอบรมกิริยามารยาทและวิชาสาหรับกุลสตรีในวัง
  • 5. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 5 © บอสคุง ฉึกฉึก ตั้งโรงเรียนการศึกษาพื้นฐานแบบตะวันตก - ร.4 โปรดเกล้าให้มิชชันนารีหญิงมาสอนภาษาอังกฤษแก่พระโอรส-ธิดา - ร.5 โปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนหลวงสอนวิชาภาษาไทยและภาษาอังกฤษในวัง เพราะทรงตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องพัฒนาคนไทยให้มี ความรู้ทั้งแบบไทยและวิทยาการตะวันตก - ทรงตั้งโรงเรียนลักษณะเดียวกับราษฎรขึ้นเป็นโรงเรียนหลวงอาศัยตามวัดต่างๆ โดยเริมจากวัดมหรรณพาราม ่ - มีโรงเรียนของพวกมิชชันนารีเข้ามาในประเทศ ซึ่งเริ่มมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เช่น โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน - ร.5 ทรงสนับสนุนให้ตั้งโรงเรียนสาหรับสตรี คือ โรงเรียนสุนันทาลัย แต่ตั้งได้ไม่นานก็เลิกล้มไป ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี โปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนเสาวภา และพ.ศ.2447 ได้ขอพระราชทานที่ดินของโรงเรียนสุนันทาลัยตั้งเป็นโรงเรียนราชินี - ร.5 ยังโปรดให้จัดตั้งโรงเรียนสาหรับเด็กชาย โดยจัดหาครูชาวต่างประเทศมาดาเนินการ เช่น โรงเรียนสวนกุหลาบ ตั้งโรงเรียนฝึกหัดคนเข้ารับราชการ - ร.5 ทรงโปรดเกล้าให้ตั้งโรงเรียนในบริเวณพระตาหนักสวนกุหลาบ สาหรับฝึกสอนทหารมหาดเล็ก เรียกว่า โรงเรียนมหาดเล็ก ต่อมา เปลี่ยนเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือน และพัฒนาไปเป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งกรมศึกษาธิการ - ทาหน้าที่ดูแลการศึกษาทั้งจัดทาหลักสูตรแบบเรียนวัดผลการศึกษา จัดหาและผลิตครูโดยได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นกระทรวงธรรมการ - ร.5 ทรงริเริ่มส่งพระโอรสและเจ้านายไปศึกษาในยุโรป รวมทั้งพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงแก่สามัญชนด้วย การปรับปรุงด้านแพทย์และสาธารณสุข รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราโชบายปรับปรุงการสาธารณสุข โดยนาวิธีการของตะวันตกมาเป็นแบบอย่างในการปรับปรุง การตั้งโรงพยาบาล โรงเรียนแพทย์ โอสถศาลา และสภากาชาด - ร.5 ทรงมีพระราชประสงค์จะสร้างสถานรักษาพยาบาลแก่ราษฎร จึงได้สร้างโรงพยาบาลที่บริเวณวังหลัง ในพ.ศ.2431ซึ่งได้รับพระราชทาน นามว่า ศิริราชพยาบาล - จัดตั้งโอสถศาลาและสภาอุณาโลมแดง ซึ่งเริ่มจากช่วงวิกฤตการณ์ ร.ศ.112 - ผู้ริเริมก่อตั้งสภาอุณาโลมแดง คือ ท่านเปลี่ยน ภาสกรวงศ์ ปัจจุบนสภาอุณาโลมแดง คือ สภากาชาดไทย ่ ั การป้องกันโรคระบาด - ร.5 เกิดอหิวาตกโรคระบาดครั้งใหญ่(2424) ทรงโปรดให้จัดการรักษาพยาบาลแบบตะวันตกแทนการทาพิธีทางศาสนา โดยการปรุงยารักษา โรค และจัดหาน้าสะอาดมาดื่มกิน เป็นที่มาของโครงการจัดทาน้าประปาในเวลาต่อมา - ร.5 ทรงว่าจ้างนายแพทย์ต่างประเทศให้มาบาบัดโรคกาฬโรค และหาวิธีป้องกันไม่ให้ราษฎรเสียชีวิต และพยายามกาจัดพาหะของโรคอีกด้วย - ร.5 พยายามตั้งโรงผลิตหนองฝีในเมืองไทย แต่ประสบความสาเร็จในรัชกาลต่อมา การตั้งกรมสุขาภิบาล - ร.5 โปรดเกล้าให้ตั้งสุขาภิบาล (มีหน้าที่ขจัดบ่อเกิดของโรคระบาด) การห้ามสูบฝิ่น - ในสมัย ร.4 ไทยต้องยอมผ่อนผันตามข้อเรียกร้องของอังกฤษ อนุญาตให้จาหน่ายฝิ่นได้อีก - แต่ในสมัย ร.5 พระองค์ทรงเห็นโทษที่รุนแรงจากการสูบฝิ่น รวมทังเกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจของประเทศ รัฐบาลจึงตัดสินใจออก ้ ประกาศห้ามสูบฝิ่นและผสมฝิ่นเป็นยา การเปลียนแปลงสภาพชีวิต ่ - ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีพ่อค้าชาวยุโรปและชาวจีนเปิดห้างร้านจาหน่ายสินค้าตะวันตกเพิ่มมากขึ้นเป็นจานวนมาก ชาวไทยจึงได้ปรับรสนิยมและ วิถีชีวิตเป็นแบบสากลนิยมมากขึ้น โดยเฉพาะในเขตพระนครและหัวเมืองสาคัญ - ร.5 ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมบางอย่างของไทย เช่น ธรรมเนียมการเข้าเฝ้า ให้ยืนเฝ้าและถวายคานับ และถ้า โปรดเกล้าให้นั่งก็นั่งเก้าอี้ด้วยกัน การแต่งกายให้สวมเสื้อ ใส่ถุงน่อง รองเท้า นุ่งโจงกระเบน - การเปลี่ยนแปลงทรงผม เปลี่ยนทรงมหาดไทย > รองทรง สตรีปรับเป็นทรงดอกกระทุมหรือผมตัด เด็กหญิงไว้จุกแล้วจึงเริมไว้ผมยาวประบ่า ่ ่ - การแต่งกายบุรุษ แต่งแบบฝรั่ง ใช้เสื้อฝรั่ง นุ่งโจงกระเบน ใส่ถุงน่อง รองเท้า // สตรี ได้รับการปรับปรุงเป็นเครื่องเต็มยศใหญ่
  • 6. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 6 © บอสคุง ฉึกฉึก - วัฒนธรรมการกิน เปลี่ยน การนังกินกับพื้นและใช้มือเปิบ > นั่งโต๊ะกินพร้อมกันในห้องอาหาร ่ - อาคารที่พักของประชาชน มีการก่อสร้างโดยนารูปแบบและเทคโนโลยีตะวันตกมาใช้ มีการจัดแบ่งเป็นห้องๆ ตกแต่งด้วยเครื่องเรือนและ ศิลปวัตถุต่างๆ ซึ่งแสดงถึงสถานภาพสังคมของเจ้าของห้อง พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สมัยปรับปรุงประเทศเป็นช่วงเวลาแห่งมหาอานาจตะวันตกขยายอิทธิพลครอบคลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทยจึงต้องดาเนินนโยบาย ต่างประเทศอย่างรอบคอบเพื่อรักษาสัมพันธไมตรีและไม่ให้สูญเสียอานาจอธิปไตยแก่ชาติตะวันตก การทาสนธิสัญญากับมหาอานาจตะวันตก อังกฤษ รัชกาลที่ 4 - ต้นรัชกาลที่ 4 รัฐบาลอังกฤษส่ง เซฮร์ จอห์น เบาว์ริง ในฐานะราชทูตของกษัตริย์อังกฤษ ได้เข้ามาเจรจากับรัฐบาลไทย ซึ่งร.4ทรงพิจารณา ว่า ไทยจาเป็นต้องยอมทาเพื่อผ่อนปรนแรงกดดันจากลัทธิลาอาณานิคมที่เป็นนโยบายหลักของชาติตะวันตก ที่สุดจึงได้ทา สนธิสัญญา ่ เบาว์ริง ใน พ.ศ.2398 สนธิสญญาเบาว์รง (พ.ศ.2398) ั ิ 1. พ่อค้าอังกฤษสามารถซื้อขายสินค้าทุกชนิดกับราษฎรไทยได้เสรี โดยเสียภาษีขาเข้าร้อยละ 3 2. ชาวอังกฤษและคนในบังคับได้รับสิทธิสภาพนอกอาณาเขต เมื่อบุคคลเหล่านั้นกระทาความผิด ให้ขนศาลต่างประเทศหรือศาลกงสุลของ ึ้ ประเทศของตน 3. อังกฤษตั้งสถานกงสุลเพื่อคุ้มครองดูแลชาวอังกฤษและคนในบังคับที่พานักอยู่ในสยาม **ไทยสูญเสียผลประโยชน์อย่างมากทั้งด้าน ภาษี ศุลกากร และสิทธิทางการศาล** - ในสมัย ร.4 นี้ไทยได้ทาสนธิสัญญาในทานองเดียวกันกับชาติตะวันตกอื่นๆ เช่น ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา ออสเตรีย-ฮังการี ญี่ปุ่น รัชกาลที่ 5 - ช่วงรัชกาลที่ 5 อังกฤษแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในดินแดนไทยมากขึ้น ขณะเดียวกันก็กีดกันมิให้มหาอานาจชาติอื่นขยายบทบาทในบริเวณนี้ - อังกฤษและฝรั่งเศส ตกลงทาข้อตกลงประกันอธิปไตยของไทยบริเวณลุ่มแม่น้าภาคกลาง ซึ่งเท่ากับรับรองให้ไทยเป็นรัฐกันกระทบ ระหว่าง พรมแดนอาณานิคมของตน โดยดินแดนทางฝั่งตะวันออกเป็นเขตอิทธิพลของฝรั่งเศส ดินแดนทางฝั่งตะวันตกและทางใต้เป็นเขตอิทธิพลอังกฤษ ฝรั่งเศส - ทาสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีและการค้ากับไทยใน พ.ศ.2399 แต่ฝรั่งเศสได้อ้างสิทธิแทนญวนเข้าไปแทรกแซงในเขมร - พ.ศ.2406 ฝรั่งเศสบีบบังคับให้เขมรทาสัญญาลับยินยอมให้เขมรเป็นรัฐในอารักขา โดยใช้วิถีทางการทูตให้ไทยรับรองว่าเขมรเป็นของฝรั่งเศส และให้แม่น้าโขงเป็นแม่น้านานาชาติ - รัฐบาลไทยยอมทาสนธิสัญญากับฝรั่งเศส (2410) : ไทยต้องยอมรับว่าดินแดนเขมรส่วนนอกทั้งหมดเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส ยกเว้น เมืองเสียมราฐและพระตะบองที่ยังเป็นของไทย - ฝรั่งเศสยังจะขยายอิทธิพลเข้าไปในเขมรส่วนในและหัวเมืองลาว ฝรั่งเศสขอตั้งสถานกงสุลที่หลวงพระบาง - ฝรั่งเศสได้เข้าแทรกแซงหัวเมืองลาวซึ่งถูกพวกฮ่อรุกรานทั้งยังอ้างสิทธิ์ของญวนเหนือดินแดนเหล่านี้ และเข้ายึดครองแคว้นสิบสองจุไทย หัวพันทั้งห้าทั้งหก พร้อมทังส่งกองกาลังฝรั่งเศสเข้ามาโดยอ้างที่จะช่วยปราบฮ่อที่หลวงพระบางและดินแดนริมฝั่งแม่น้าโขง ทาให้เกิดการ ้ ปะทะกับทหารไทย ฝรั่งเศสจึงส่งเรือรบ 2 ลามาถึงปากแม่นาเจ้าพระยา เกิดการตอบโต้ระหว่างป้อมพระจุลจอมเกล้ากับเรือรบฝรั่งเศส ้ ปรากฏว่าเรือนาร่องฝรั่งเศสถูกยิงจมลงและทหารไทย-ฝรั่งเศสเสียชีวิตและบาดเจ็บทั้งสองฝ่าย นาไปสู่วิกฤตการณ์ ร.ศ.122 (พ.ศ.2436) - มีการเจรจาทางการทูตเพือยุติปัญหา ฝรั่งเศสยืนคาขาดโดย (1)ไทยต้องยกดินแดนฝั่งซ้ายของแม่นาโขงและเกาะในแม่น้าให้ฝรั่งเศส (2)ไทยต้องให้ ่ ้ พื้นที่ 25 กม.ฝั่งชวาแม่น้าโขงให้เป็นเขตปลอดทหารและรื้อค่ายต่างๆ (3)ไทยต้องวางเงินค่าปรับไหมและค่าทาขวัญให้ฝรั่งเศสรวม 3 ล้านฟรังก์ - ไทยยอมปฏิบติตามฝรั่งเศส ฝรั่งเศสจึงหยุดปิดล้อมไทยแต่กลับไปยึดจันทบุรต่อและยังจะเข้ามายึดภาคอีสานของไทย ทาให้ไทยต้องทา ั ี สนธิสัญญากับฝรั่งเศสอีก 2 ฉบับ
  • 7. -สรุปประวัตศาสตร์ ม.3- ิ หน้าที่ 7 © บอสคุง ฉึกฉึก สัญญาทีไทยต้องยอมทากับฝรังเศสเพือแลกกับจันทบุรและภาคอีสาน ่ ่ ่ ี 1. สนธิสัญญา 2446 ไทยยอมยกเมืองจาปาศักดิ์ มโนไพร และหลวงพระบางฝั่งขวาให้แก่ฝรั่งเศสเพือแลกกับการถอนทหารออกจากจันทบุรีแต่ ่ ฝรั่งเศสจะยังยึดเมืองตราดต่อไป 2. สนธิสัญญา 2449 ไทยยอมยกเมืองเสียมราฐ พระตะบอง และศรีโสภณให้ฝรั่งเศส เพื่อแลกกับเมืองตราดและหมู่เกาะบริเวณนั้น รวมทั้งได้ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตบางส่วนกลับคืน นโยบายผ่อนปรน - ร.4 และ ร.5 ได้ทาสนธิสัญญาทางสัมพันธไมตรีและยอมสละดินแดนบางส่วน นับเป็นการดาเนินนโยบายผ่อนปรนต่อตะวันตก - ร.4 ทรงยินยอมผ่อนปรนต่อ EN ในการทาสนธิสัญญาเบาว์ริง แม้ว่าจะทาให้ไทยเสียผลประโยชน์กตาม ็ - ร.4 FR คุกคามจะเอาเขมรเป็นรัฐอารักขา TH พยายามต่อต้านอานาจของ FR ที่สุดต้องผ่อนปรนทาสนธิสัญญา 2410 - ร.5 TH ต้องยอมผ่อนปรนทาสนธิสัญญาตามข้อเรียกของ FR อีกหลายฉบับ สนธิสัญญา 2436 : ยุติวิกฤตการณ์ ร.ศ.112 // สนธิสัญญา 2446,2449 : ไทยยอมเสียดินแดนเขมรและลาวให้ FR - ร.5 ทาข้อตกลงกับ EN ขอให้ไทยไม่โอนดินแดนไทยตั้งแต่บริเวณสะพานลงไปหรือสิทธิพิเศษใดให้ประเทศอื่น - ร.5 ทาสนธิสัญญา2451 กับ EN : TH ยอมยกสิทธิทางการปกครองหัวเมืองมลายูให้ EN นโยบายถ่วงดุลอานาจ&ผูกมิตร - ไทยทาสัญญาในลักษณะเดียวกับเบาว์ริงกับต่างประเทศอีก 12 ประเทศ เพือให้ชาติมหาอานาจอื่นๆมาถ่วงดุลอานาจของอังกฤษเพือป้องกัน ่ ่ ไม่ให้ชาติใดชาติหนึ่งมีอิทธิพลเหนือไทย - ร.5 ดาเนินนโยบายถ่วงดุลอานาจระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส พร้อมคบชาติตะวันตกอื่นๆ เพื่อคานอานาจของอังกฤษและฝรั่งเศส นโยบายสูการเมืองโลก ่ - สมัยรัชกาลที่ 5 ไทยได้สมัครเข้าเป็นภาคีสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศ เช่น สหภาพไปรษณีย์สากล สภาอุณาโลมแดง และศาล ยุติธรรมระหว่างประเทศ นโยบายดังกล่าวไทยได้รับการยอมรับว่ามีสถานะทัดเทียมกับประเทศอธิปไตยอื่นๆ 