SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
โครงงานน้ าหมักเพื่อสุขภาพ

จัดทาโดย

นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง เลขที่ 12
นายจิราวัฒน์ วรรณวงค์

เลขที่ 1

นายกิตติศกดิ์ รัตนพงศ์
ั

เลขที่ 2

นายนฤเบศร์ ยาติพฒ
ั

เลขที่ 3

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

เสนอ
คุณครู ณฐพงษ์ ผ่องแผ้ว
ั

โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์
อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
ชื่อโครงงาน

น้ าหมักเพื่อสุขภาพ

ชื่อผู้ทาโครงงาน

1.นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง เลขที่ 12
2.นายจิราวัฒน์ วรรณวงค์

เลขที่ 1

3.นายกิตติศกดิ์ รัตนพงศ์
ั

เลขที่ 2

4.นายนฤเบศร์ ยาติพฒ
ั

เลขที่ 3

ระดับชั้น

ม.4-ม.6

ชื่อครูที่ปรึกษา

นายณัฐพงษ์ ผ่องแผ้ว

ชื่อโรงเรียน

รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์

ปี พ.ศ.

2556
บทคัดย่อ
โครงงานเรื่ องน้ าหมักเพื่อสุขภาพเป็ นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อให้ผคน
ู้

ในปัจจุบนหันมาทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพที่สามารถหาส่วนผสมได้จากสิ่งใกล้ตวและกรรมวิธีการหมักไม่ยาก
ั
ั
จนเกินไปโดยสมุนไพรและผลไม้ที่ใช้ ได้แก่ มังคุด ลิ้นจี่และบอระเพ็ด วัตถุประสงค์ในการทาโครงงาน
น้ าหมัก ชี ว ภาพนี้ คื อเพื่อใช้สมุ น ไพรและผลไม้ที่มี อยู่ใ นท้อ งถิ่น ให้เกิ ด ประโยชน์แ ละรู้ ถึงคุ ณ ค่ า ของ
สมุนไพรและผลไม้ อีกทั้งเพื่อศึกษาขั้นตอนในการทาน้ าหมักเพื่อสุ ขภาพด้วย ซึ่งการทาน้ าหมักสุ ขภาพนี้
ขึ้นมา เพื่ออยากจะให้เรามีสุขภาพที่ดีต่อร่ างกายคนเรา ซึ่งน้ าหมักผลไม้น้ ี มีสรรพคุณต่างๆมากมายสาหรับ
ทุก คน ในปั จจุ บันนี้ ทุ กคนส่ ว นใหญ่ ชอบดื่มน้ าอัด ลมซึ่ งมัน ไม่ดี ต่อสุ ขภาพ ถ้าทุ ก คนหันมาดื่มน้ าหมัก
สุขภาพนี้ ทุกคนจะมีสุขภาพที่ดีเพราะดื่มน้ าผลไม้ที่ดีต่อสุขภาพ
กิตติกรรมประกาศ
ในการทาโครงงานเรื่ อง น้ าหมักเพื่อสุขภาพในครั้งนี้ คณะผูจดทาได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคล
้ั
หลายๆฝ่ ายของท้องที่ ตาบลวังมะปรางที่ให้ความร่ วมมือเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ และบุคคลที่ทาให้การทา
โครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดวยดี ช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทาโครงงานได้ดี อีกทั้ง
้
ให้คาปรึ กษาแนะนาในการทาโครงงานคือ ครู ณัฐพงศ์ ผ่องแผ้ว รวมทั้งผูปกครองที่ให้การสนับสนุนใน
้
ด้านงบประมาณและการให้ขอเสนอแนะต่างๆ คณะผูจดทาโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็ นอย่างสูง
้
้ั
มา ณ โอกาสนี้
จัดทาโดย
นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง
นายจิราวัฒน์ วรรณวงศ์
นายกิตติศกดิ์ รัตนพงศ์
ั
นายนฤเบศ

ยาติพตน์
ั
สารบัญ
เรื่ อง

หน้า

บทคัดย่อ

ก

กิตติกรรมประกาศ

ข

บทที่1บทนา

1

-ที่มาและความสาคัญของโครงงาน

1

-วัตถุประสงค์

1

-สมมติฐาน

1

-ขอบเขตการศึกษา

2

บทที่2เอกสารที่เกี่ยวข้อง

3

-มังคุด

3

-ลิ้นจี่

4

-บอระเพ็ด

6

บทที่3วัสดุและอุปกรณ์

7

บทที่4ผลการดาเนินงาน

8

บทที่5สรุ ปผลการทดลอง

10

ภาคผนวก
บรรณานุกรม
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบนประเทศไทยถือเป็ นประเทศที่เป็ นเมืองร้อนและมีผลไม้มากมายตามแต่ฤดูกาล ซึ่งก็จะมี
ั
ลักษณะและสรรพคุณแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้เราจะเห็นได้ว่าในสังคมปัจจุบนจะมีการค้าขายและแข่งขัน
ั
เกิดขึ้นมากมายจากสิ่งเล็กๆน้อยๆไปจนกระทังถึงสิ่งใหญ่ๆ ซึ่งมีราคาที่สูงกว่าต้นทุนมากแต่ดวยเหตุที่คน
้
่
ในสังคมส่วนใหญ่น้ นมีเวลาว่างให้กบตัวเองน้อยกว่าการทางาน จึงเลือกที่จะเป็ นผูบริ โภคมากกว่าและยอม
ั
ั
้
ที่จะซื้อน้ าและอาหารที่มีราคาสูงเพราะจะได้ไม่เสียเวลาและง่ายต่อการรับประทาน
ด้วยเหตุน้ ีทางกลุ่มของพวกเราจึงคิดจัดทาโครงงานน้ าหมักเพื่อสุขภาพนี้ข้ ึนมาเพื่อให้ผคนใน
ู้
ปัจจุบนหันมาทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพที่สามารถหาส่วนผสมได้จากสิ่งใกล้ตวและไม่ยากจนเกินไป
ั
ั

ทั้งยังมี

ผลดีต่อร่ างกาย ไม่มีสารเคมีเจือปนและยังสามารถเก็บไว้ได้นานอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อใช้สมุนไพรและผลไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์
2.เพื่อให้รู้ถึงคุณค่าของสมุนไพรและผลไม้
3.เพื่อศึกษาขั้นตอนในการทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพ
สมมติฐาน
1.ถ้าชนิดของสมุนไพร/ผลไม้มีผลต่อกลิ่นของน้ าหมักเพื่อสุขภาพที่ผลิตขึ้น

ดังนั้น กลิ่นของน้ า

หมักเพื่อสุขภาพก็จะมีกลิ่นสมุนไพร/ผลไม้แตกต่างกันตามชนิดนั้น
2.ถ้าวิตามินหรื อสารในสมุนไพร/ผลไม้แต่ละชนิดมีผลต่อรสชาติของน้ าหมักเพื่อสุขภาพ
รสชาติของน้ าหมักเพื่อสุขภาพก็จะมีรสชาติแตกต่างกันไปตามความเข้มข้น
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
- บ้านของนางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง บ้านเลขที่ 6 ม.3 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง
- ระยะเวลาการทา 1 เดือน ตั้งแต่วนที่ 1 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2556
ั
- สมุนไพรที่นามาทา ได้แก่ บอระเพ็ด มังคุด ลิ้นจี่
-

ดังนั้น
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

มังคุด
ชื่อภาษาอังกฤษ : mangosteen
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Garcinia mangostana Linn.
ชื่อวงศ์ : Clusiaceae
สกุล : Garcinia
อาณาจักร : Plantae
ที่มาของมังคุด
มีชื่อเรี ยกในภาษามลายูว่ามังกุสตาน (manggustan) ภาษาอินโดนี เซียเรี ยกมังกีส ภาษาพม่าเรี ยกมิง
กุทธี ภาษาสิงหลเรี ยกมังกุส เป็ นพันธุไม้ไม่ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกาเนิ ดอยู่ที่หมู่เกาะซุน
์
ดาและหมู่เกาะโมลุกกะ แพร่ กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึง
ไปสู่ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุ ดมานานแล้ว
เช่ น กัน เพราะมีก ล่าวถึงในพระราชนิ พนธ์เรื่ องรามเกี ย รติ์ ในสมัย รั ชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริ เวณ
โรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็ นที่ต้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรี ลงกาที่
ั
ั
เข้ามาขอพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็ นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต
การใช้ ประโยชน์
มังคุดเป็ นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิ ยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็ น "ราชินีของผลไม้"
อาจเป็ นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติด อยูที่หวขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วน
่ ั
เนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่ อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้มีการนามังคุดมา
ประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหารหวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน
มังคุ ด แช่ อิ่ม ในจังหวัด นครศรี ธรรมราชมีก ารทามังคุ ด คัด ด้ว ยการแกะเนื้ อมังคุ ด ห่ ามออกมาเสี ย บไม้
รับประทาน ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิ ยมรับประทางมังคุดสุ กเป็ นผลไม้ ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยต่อต้าน
อนุมลอิสระ ช่วยเสริ มสร้างภูมิตานทานให้กบร่ างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและการเกิดริ้ วรอย และยัง
ู
้
ั
มีส่วนช่วยบารุ งผิวพรรณให้เปล่งปลังสดใสอีกด้วย
่

ลินจี่
้
ชื่อภาษาอังกฤษ: Litchi
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Litchi chinensis Sonn.
ชื่อวงศ์ : Sapindaceae
สกุล: Litchi
อาณาจักร: Plantea
ที่มาของมังคุด
ลิ้น จี่ เป็ นชื่ อ ของผลไม้ป ระเภทผลเดี่ ย วซึ่ งมี ล ัก ษณะเปลื อ กสี แ ดงชนิ ด หนึ่ งที่ อ ยู่ใ นวงศ์
SAPINDACEAE (ซึ่ งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลาไยนั้นเอง) ลิ้นจี่น้ ันเป็ นผลไม้ที่มีรสชาติอร่ อยให้ผลผลิต
คุมค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็ นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยที่สามารถน าผลผลิตที่ได้มา
้
จาหน่ายในรู ปของผลไม้สดและผลไม้แปรรู ป ปัจจุบนนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุให้มีความหลากหลาย
ั
์
ขึ้นเรื่ อยๆจากสายพันธุด้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์ จีนในสมัยราชวงศ์ถง โดยเป็ น
์ ั
ั
ผลไม้โปรดของหยางกุยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถงเสวียนจงทรงบัญชาให้ทหารม้านาลิ้นจี่ จากแหล่ง
้
ั
ปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ปักกิ่ง
การใช้ ประโยชน์
สรรพคุณทางยา ตามที่ใช้ในประเทศจีนเป็ นส่ วนใหญ่ นับมาแต่โบราณ เนื้ อในผล กินเป็ นยา
บารุ ง แก้อาการไอเรื้ อรัง แก้อาการคัดจมูก รักษาอาการท้องเดิน ลดกรดในกระ-เพาะอาหาร และบรรเทา
อาการไม่ปกติของระบบทางเดินอาหาร ในประเทศจีนใช้เปลือกผลลิ้นจี่ทาเป็ นชา ใช้ชงเพื่อบรรเทาอาการ
หวัด แก้การติดเชื้อในลาคอ อาการท้องเสียอย่างอ่อน และโรคจากการติดเชื้อไวรัส ตารายาจีนกล่าวเฉพาะ
เมล็ดลินจี่ ว่ามีรสหวาน ขมเล็กน้อย สรรพคุณอุ่น ทาให้พลังชี่ขบเคลื่อน ลดอาการปวด ใช้กรณี ปวดท้อง
ั
้
ปวดไส้เลื่อน ปวดบวมของอัณฑะ ใช้ขนาด 5-10 กรัม โดยมักผสมกับสมุนไพรอื่นอีก หนึ่ งหรื อสองชนิ ด
เมล็ดลิ้นจี่ ที่แห้ง ควรนามาบด คัวให้แห้งโดยผสมด้วยน้ าเกลือ แล้วจึงเติมน้ าลงไปต้ม น้ าดื่ม หรื อทาเป็ นผง
่
รับประทานหรื อใช้ ผงยาพอกบริ เวณมีอาการปวดบวม รากลินจี่หรือเปลือกต้ นใช้ แก้ อาการติดเชื้อ ไวรัส
้
อีสุกอีใส และเพิมความสามารถระบบภูมคุ้มกันของร่ างกาย สาหรับงานวิจยซึ่งยังต้องการพิสูจน์ซ้ าเพื่อให้
่
ิ
ั
ได้ผลยืนยัน พบว่า สารสกัดเมล็ด ด้วยน้ าขนาด 0.6 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ให้แก่ผที่เป็ นพาหะโรคไวรัสตับชนิด
ู้
บี ใช้ได้ผลดีในการยับยั้งเอ็นไซม์ตบที่สูงขึ้น งานวิจยเปลือกของผลลิ้นจี่มีสารกลุ่มฟลาโวนอลที่สาคัญคือ
ั
ั
โพรไซยาไนดินบี 4 ไพรไซยา- ไนดินบี 2 และอีพิคาเทชิน ส่วนที่สาคัญคือ ไซยาไนดิน - 3 - รู ตินโนไซด์
ไซยาไนดิน- 3 กลูโคไซด์ เควอเซทิน – 3 - รู ติโนไซด์ และเควอเซทิน - 3 - กลูโคไซด์ มีฤทธิ์ ต้านอนุ มูล
อิสระสูง และสารสกัดเปลือกยัง มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริ ญของเซลล์ มะเร็ งเต้านม ทั้งในห้องทดลองและใน
สัตว์ทดลอง โดยยับยั้งการขยายจานวนเซลล์ การควบคุมการสื่ อสารระหว่างเซลล์มะเร็ ง และเหนี่ ยวนาให้
เกิดการตายของเซลล์มะเร็ ง
รายงานวิจยที่ทาในประเทศจีนอื่นๆยังพบว่า สารสกัดลิ้นจี่ลดขนาดเนื้ องอกในสัตว์ทดลอง แต่
ั
ไม่ได้ระบุว่าเป็ นสารสกัดส่วนใดของลิ้นจี่ สาหรับงานวิจย นักวิทยาศาสตร์ของไทย พบว่าสารสกัดผลลิ้นจี่มี
ั
ฤทธิ์ในการปกป้ องตับ ในหนูที่เหนี่ยวนาให้ได้รับสารพิษ และเป็ นโรคตับ
บอระเพ็ด
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thoms
ชื่อวงศ์ : HEART-LEAVED MOONSEED
ชื่อสามัญ : Menisspermaceae
ชื่ออื่น :เครื อเขาฮอ จุ่งจิง เจ็ต มูลย่าน จุ่งจิงตัว แม่(เหนื อ) เจตมูลหนาม(หนองคาย) หางหมู(อุบลราชธานี
สระบุรี) ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน(สระบุรี) เจ็ดหมุนปลูก(ภาคใต้)
ลักษณะ :
ไม้เถาเลื้อยพัน เป็ นไม้เนื้ออ่อน แต่เมื่อมีอายุมาก เนื้อของลาต้นอาจแข็งได้ ลาต้นมีขนาดเท่านิ้ วมือ
มีไส้เป็ นเส้นยาว ตามเปลือกของลาต้นมีปุ่มปมกระจายทัวไปเป็ นจานวนมาก ไม่มีขนหรื อหนาม ยางมีรสขม
่
จัด มีใบเดี่ยวเป็ นแบบสลับ ใบรู ปไข่ป้อม โคนใบรู ปหัวใจ ปลายใบแหลม ขอบใบเรี ยบขนาดกว้าง 3-10 ซม.
ยาว 6-13 ซม. ดอกออกเป็ นช่อยาว 7-25 ซม. ดอกมีขนาดเล็กสี เหลืองอมเขียว ผลรู ปไข่ สี เหลือง หรื อส้ม
ขนาด 2-3 ซม.
การขยายพันธุ์ :ใช้เถาปักชา ตัดเถาแกให้ยาวประมาณ 1 คืบ ชาลงในดินให้มีมุมเอียงเล็กน้อย ลึกประมาณ 10
ซม.รดน้ าให้ชุ่ม ขึ้นได้ในดินทัวไป ชอบดินร่ วนซุย ควรปลูกในฤดูฝน
่
สรรพคุณ
- ใบ แก้รามะนาด ปวดฟัน ฆ่าพยาธิไส้เดือน แก้ไข้ แก้โรค ผิวหนัง ดับพิษปวดแสบปวดร้อน บารุ ง
น้ าดี ฆ่าแมลงที่เข้าหู แก้โรคในกระเพาะอาหาร เป็ นยาเจริ ญอาหารลูก แก้ไข้ แก้เสมหะเป็ นพิษ
เถา แก้พิษฝี ดาษ แก้ไข้พิษไข้กาฬ แก้ไข้ทุกชนิด แก้ร้อนใน กระหายน้ า แก้สะอึก บารุ งกาลัง บารุ งน้ าดี บารุ ง
อาหาร แก้โรคกระเพาะ รากและเถา นามาตาผสมกับมะขามเปี ยกและเกลือ หรื อใส่ในยาดองเหล้า โดยจะกิน
ครั้งละ 1 ช้อนชา ซึ่งจะช่วยลดไข้ ช่วยให้เจริ ญอาหาร รักษาไข้มาลาเรี ยขึ้นสมองปัจจุบนองค์การเภสัชกรรม
ั
ได้ผลิ ต ทิ งเจอร์ บ อระเพ็ด เพื่อใช้แทนทิ งเจอร์ เจนเซี ยล ซึ่ งเป็ นส่ ว นผสมของยาธาตุ ที่ต ้องน าเข้าจาก
ต่างประเทศ และจากการทดลองในสัตว์พบว่าน้ าที่กสัดจากเถาใช้ลดไข้ได้ (ภูมิพิชญ์ สุชาวรรณ, 2535) ดอก
รักษาโรคในปากและช่องหู ขับพยาธิ
- ผลและลูก ใช้เป็ นยารั กษาโรคไข้พิษ อย่างแรงและเสมหะเป็ นพิษ รักษาโรคอุจจาระเป็ นเลือด
รวมทั้งโรคติดเชื้อในกระแสเลือด
- ต้นและเถา รักษาโรคพิษฝี ดาษ โรคไข้เหนื อ โรคไข้พิษทุกชนิ ด เป็ นยาบารุ งกาลัง บารุ งไฟธาตุ
รักษาอาการร้อนใน ทาให้เจริ ญอาหาร ขับน้ าย่อยในทางเดินอาหาร ระงับความร้อน รักษาโลหิ ตพิการ และ
ระงับอาการสะอึก (เสงี่ยม พงษ์บุญรอด, 2522) การที่บอระเพ็ดช่วยเจริ ญอาหาร เนื่ องจากบอระเพ็ดมีรสขม
ช่วยทาให้รู้สึกอยากอาหาร
รส (รสทางยา) : รสขมจัด เย็น มีสรรพคุณระงับความร้อน
บทที่ 3
วัสดุและอุปกรณ์
วัสดุ
1.มังคุด 15 ลิตร
2.ลิ้นจี่ 15 ลิตร
3.บอระเพ็ด 15 ลิตร
4.น้ าเปล่าสะอาด(ไม่มีคลอรี น)แบ่งเป็ น 3 ส่วน ส่วนละ 25 ลิตร
5.น้ าตาลทรายแดงป่ นส่วนละ 15 ลิตรแบ่งเป็ น 3 ส่วน
อุปกรณ์
1.ถังพลาสติก 50 ลิตร
2.ถุงพลาสติกขนาดใหญ่
3.ขวดพลาสติกแบบหนา
4.หนังยาง
วิธีทา
1.ผสมน้ า 25 ลิตร และน้ าตาลทรายแดงป่ น 5 ลิตรตามส่วนข้างต้น ละลายเข้าด้วยกัน
2. นาผลไม้/สมุนไพร คือ มังคุด ล้างน้ าสะอาดและผึ่งให้แห้ง
3. นาถุงมารองในถังหมัก 2 ชั้น แล้วเทน้ าตาลทรายที่ผสมน้ าแล้ว และมังคุดตามส่ วนเข้าด้วยกัน
แล้วมัดถุง
4. กดมังคุดให้จม เพื่อกันส่วนบนขึ้นรา ให้คอยดูและกดมังคุดให้จมอยู่ตลอด เมื่อนานไปมังคุด จะ
จม และจะเกิดน้ าพลาสมา คือน้ าใส
5. เมื่อเกิดฝ้ าขาวนิ่งแล้วจึงปิ ดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ ซึ่งส่วนนี้จะกลายเป็ นวุนในโอกาสต่อไป
้
6. เมื่อหมักมังคุดครบเวลาที่กาหนดแล้ว จึงนามาบริ โภคได้ ส่วนถังเก่าก็ให้เติมน้ าและน้ าตาลตาม
สูตร และหมักเหมือนเดิมต่อไป สามารถเติมได้เรื่ อย ๆ
7.ต่อไปนาลิ้นจี่และบอระเพ็ดมาหมักตามข้อ 1-6 ที่ได้กล่าวไปนั้น ตามลาดับ
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
สถิติ

ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่เป็ นโรคผิวหนัง และได้รับประทานน้ าหมักเพื่อสุขภาพจากมังคุด
หลังจากที่สอบถามจากคนในชุมชน

คนที่เป็ นโรค

ดีข้ ึน

เหมือนเดิม

แย่ลง

ผลที่เกิด
นางเหลื่อม
นายแหลม
นางลาภู
นางวรรณดี
รวม
สถิติ

แผ้วผ่องศรี
ขุนทอง
จาปาทัศน์
เม่งเอียด









ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่มีอาการปวดบวม และได้รับประทานน้ าหมักเพื่อสุขภาพจากลิ้นจี่
หลังจากที่สอบถามจากคนในชุมชน

คนที่เป็ นโรค

ดีข้ ึน
ผลที่เกิด

เด็กชายธนพล
ชูยก
นางสาวประภัสสร สุขเสน
เด็กชายธนพล
เกิดไก่แก้ว
นางสาวนันทนาเม่งเอียด
รวม







เหมือนเดิม

แย่ลง
สถิติ

ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่รับประทานอาหารไม่ค่อยได้และได้รับประทานน้ าหมักเพื่อสุขภาพ
จากลินจี่หลังจากที่สอบถามจากคนในชุมชน
้

คนที่เป็ นโรค

ดีข้ ึน
ผลที่เกิด

นางสาวเพ็ญนภา สุขเสน
นางสาวมุกตรา อ่อนรู้ที่
นางเพ็ญประภา แผ้วผ่องศรี
นายจิราวัตน์วรรณวงศ์
รวม







เหมือนเดิม

แย่ลง
บทที่ 5
สรุปอภิปรายผล
จากการที่กลุ่มของข้าพเจ้าได้จดทาโครงงานน้ าหมักเพื่อสุขภาพ และได้นาไปทดลองแจกให้คนใน
ั
ชุมชนอาเภอวังวิเศษได้รับประทาน จากผลการสารวจผูที่เป็ นโรคผิวหนัง เมื่อได้ดื่มน้ าหมักมังคุดอย่าง
้
ต่อเนื่องส่วนมากจะมีอาการดีข้ ึนมาก จากนั้นเราได้นาน้ าหมักลิ้นจี่ไปแจกจ่ายให้กบคนที่เป็ นแผลและมี
ั
อาการบวมหรื ออักเสบที่อยูในบริ เวณอาเภอวังวิเศษได้รับประทาน จากผลสารวจจากผูที่รับประทานได้ผล
่
้
ว่ามีอาการดีข้ ึน บางคนหายจากการเป็ นแผลและไม่มีอาการเจ็บปวดหรื อบวม และจากนั้นเราก็นาน้ าหมัก
บอระเพ็ดไปแจกจ่ายให้กบคนที่รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ที่อยูบริ เวณอาเภอวังวิเศษ จากผลสารวจคนที่
ั
่
รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ เจริ ญอาหารมากขึ้น จากนั้นพวกเราก็ไปสอนคนในชุมชนให้ทุกคนสามารถทา
น้ าหมักเพื่อสุขภาพเป็ นและกลับไปทาเองที่บาน ผลคือทุกคนมีความรู้ในการทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพและมี
้
การนาไปทาเองเพื่อใช้ดื่มรักษาโรคกันทุกคน

ประโยชน์ ที่ได้ รับ
1. มีความรู้เกี่ยวกับผลไม้และสมุนไพรมากขึ้น
2. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. มีความสามัคคีกนภายในกลุ่ม
ั
4. มีประโยชน์ต่อร่ างกาย
5. คนในชุมชนมีวิธีรักษาโรคจากสมุนไพร
6.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค
บทที่ 5 สรุปผล

More Related Content

What's hot

โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 

What's hot (20)

โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ปก
ปกปก
ปก
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

Similar to บทที่ 5 สรุปผล

พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยWasan Yodsanit
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Assa Bouquet
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 

Similar to บทที่ 5 สรุปผล (20)

พันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทยพันธ์ุบุกในประเทศไทย
พันธ์ุบุกในประเทศไทย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7Plant ser 125_60_7
Plant ser 125_60_7
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02
 
Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02Random 140310010247-phpapp02
Random 140310010247-phpapp02
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
botany
botanybotany
botany
 

More from Guntima NaLove

รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
เนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดGuntima NaLove
 
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2Guntima NaLove
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 

More from Guntima NaLove (7)

ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ห้องน้ำ
ห้องน้ำห้องน้ำ
ห้องน้ำ
 
เนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมดเนื้อหาทั้งหมด
เนื้อหาทั้งหมด
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
นิทานอีสปเรื่องลาโง่ผู้หลงผิด2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

บทที่ 5 สรุปผล

  • 1. โครงงานน้ าหมักเพื่อสุขภาพ จัดทาโดย นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง เลขที่ 12 นายจิราวัฒน์ วรรณวงค์ เลขที่ 1 นายกิตติศกดิ์ รัตนพงศ์ ั เลขที่ 2 นายนฤเบศร์ ยาติพฒ ั เลขที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เสนอ คุณครู ณฐพงษ์ ผ่องแผ้ว ั โครงงานนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการเรี ยนวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา โรงเรี ยนรัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ อาเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
  • 2. ชื่อโครงงาน น้ าหมักเพื่อสุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง เลขที่ 12 2.นายจิราวัฒน์ วรรณวงค์ เลขที่ 1 3.นายกิตติศกดิ์ รัตนพงศ์ ั เลขที่ 2 4.นายนฤเบศร์ ยาติพฒ ั เลขที่ 3 ระดับชั้น ม.4-ม.6 ชื่อครูที่ปรึกษา นายณัฐพงษ์ ผ่องแผ้ว ชื่อโรงเรียน รัษฎานุประดิษฐ์อนุสรณ์ ปี พ.ศ. 2556 บทคัดย่อ โครงงานเรื่ องน้ าหมักเพื่อสุขภาพเป็ นส่วนหนึ่งของวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อให้ผคน ู้ ในปัจจุบนหันมาทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพที่สามารถหาส่วนผสมได้จากสิ่งใกล้ตวและกรรมวิธีการหมักไม่ยาก ั ั จนเกินไปโดยสมุนไพรและผลไม้ที่ใช้ ได้แก่ มังคุด ลิ้นจี่และบอระเพ็ด วัตถุประสงค์ในการทาโครงงาน น้ าหมัก ชี ว ภาพนี้ คื อเพื่อใช้สมุ น ไพรและผลไม้ที่มี อยู่ใ นท้อ งถิ่น ให้เกิ ด ประโยชน์แ ละรู้ ถึงคุ ณ ค่ า ของ สมุนไพรและผลไม้ อีกทั้งเพื่อศึกษาขั้นตอนในการทาน้ าหมักเพื่อสุ ขภาพด้วย ซึ่งการทาน้ าหมักสุ ขภาพนี้ ขึ้นมา เพื่ออยากจะให้เรามีสุขภาพที่ดีต่อร่ างกายคนเรา ซึ่งน้ าหมักผลไม้น้ ี มีสรรพคุณต่างๆมากมายสาหรับ ทุก คน ในปั จจุ บันนี้ ทุ กคนส่ ว นใหญ่ ชอบดื่มน้ าอัด ลมซึ่ งมัน ไม่ดี ต่อสุ ขภาพ ถ้าทุ ก คนหันมาดื่มน้ าหมัก สุขภาพนี้ ทุกคนจะมีสุขภาพที่ดีเพราะดื่มน้ าผลไม้ที่ดีต่อสุขภาพ
  • 3. กิตติกรรมประกาศ ในการทาโครงงานเรื่ อง น้ าหมักเพื่อสุขภาพในครั้งนี้ คณะผูจดทาได้รับความอนุเคราะห์จากบุคคล ้ั หลายๆฝ่ ายของท้องที่ ตาบลวังมะปรางที่ให้ความร่ วมมือเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ และบุคคลที่ทาให้การทา โครงงานวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้สาเร็ จลุล่วงได้ดวยดี ช่วยแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในการทาโครงงานได้ดี อีกทั้ง ้ ให้คาปรึ กษาแนะนาในการทาโครงงานคือ ครู ณัฐพงศ์ ผ่องแผ้ว รวมทั้งผูปกครองที่ให้การสนับสนุนใน ้ ด้านงบประมาณและการให้ขอเสนอแนะต่างๆ คณะผูจดทาโครงงานจึงขอขอบพระคุณทุกท่านเป็ นอย่างสูง ้ ้ั มา ณ โอกาสนี้ จัดทาโดย นางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง นายจิราวัฒน์ วรรณวงศ์ นายกิตติศกดิ์ รัตนพงศ์ ั นายนฤเบศ ยาติพตน์ ั
  • 5. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบนประเทศไทยถือเป็ นประเทศที่เป็ นเมืองร้อนและมีผลไม้มากมายตามแต่ฤดูกาล ซึ่งก็จะมี ั ลักษณะและสรรพคุณแตกต่างกันออกไป ทั้งนี้เราจะเห็นได้ว่าในสังคมปัจจุบนจะมีการค้าขายและแข่งขัน ั เกิดขึ้นมากมายจากสิ่งเล็กๆน้อยๆไปจนกระทังถึงสิ่งใหญ่ๆ ซึ่งมีราคาที่สูงกว่าต้นทุนมากแต่ดวยเหตุที่คน ้ ่ ในสังคมส่วนใหญ่น้ นมีเวลาว่างให้กบตัวเองน้อยกว่าการทางาน จึงเลือกที่จะเป็ นผูบริ โภคมากกว่าและยอม ั ั ้ ที่จะซื้อน้ าและอาหารที่มีราคาสูงเพราะจะได้ไม่เสียเวลาและง่ายต่อการรับประทาน ด้วยเหตุน้ ีทางกลุ่มของพวกเราจึงคิดจัดทาโครงงานน้ าหมักเพื่อสุขภาพนี้ข้ ึนมาเพื่อให้ผคนใน ู้ ปัจจุบนหันมาทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพที่สามารถหาส่วนผสมได้จากสิ่งใกล้ตวและไม่ยากจนเกินไป ั ั ทั้งยังมี ผลดีต่อร่ างกาย ไม่มีสารเคมีเจือปนและยังสามารถเก็บไว้ได้นานอีกด้วย วัตถุประสงค์ 1.เพื่อใช้สมุนไพรและผลไม้ที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์ 2.เพื่อให้รู้ถึงคุณค่าของสมุนไพรและผลไม้ 3.เพื่อศึกษาขั้นตอนในการทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพ สมมติฐาน 1.ถ้าชนิดของสมุนไพร/ผลไม้มีผลต่อกลิ่นของน้ าหมักเพื่อสุขภาพที่ผลิตขึ้น ดังนั้น กลิ่นของน้ า หมักเพื่อสุขภาพก็จะมีกลิ่นสมุนไพร/ผลไม้แตกต่างกันตามชนิดนั้น 2.ถ้าวิตามินหรื อสารในสมุนไพร/ผลไม้แต่ละชนิดมีผลต่อรสชาติของน้ าหมักเพื่อสุขภาพ รสชาติของน้ าหมักเพื่อสุขภาพก็จะมีรสชาติแตกต่างกันไปตามความเข้มข้น ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า - บ้านของนางสาวกัญธิมา เอียดชูทอง บ้านเลขที่ 6 ม.3 ต.วังมะปรางเหนือ อ.วังวิเศษ จ.ตรัง - ระยะเวลาการทา 1 เดือน ตั้งแต่วนที่ 1 กรกฎาคม – 3 สิงหาคม 2556 ั - สมุนไพรที่นามาทา ได้แก่ บอระเพ็ด มังคุด ลิ้นจี่ - ดังนั้น
  • 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง มังคุด ชื่อภาษาอังกฤษ : mangosteen ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Garcinia mangostana Linn. ชื่อวงศ์ : Clusiaceae สกุล : Garcinia อาณาจักร : Plantae ที่มาของมังคุด มีชื่อเรี ยกในภาษามลายูว่ามังกุสตาน (manggustan) ภาษาอินโดนี เซียเรี ยกมังกีส ภาษาพม่าเรี ยกมิง กุทธี ภาษาสิงหลเรี ยกมังกุส เป็ นพันธุไม้ไม่ผลัดใบเขตร้อนชนิดหนึ่ง เชื่อกันว่ามีถิ่นกาเนิ ดอยู่ที่หมู่เกาะซุน ์ ดาและหมู่เกาะโมลุกกะ แพร่ กระจายพันธุ์ไปสู่หมู่เกาะอินดีสตะวันตกเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 24 แล้วจึง ไปสู่ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส ปานามา เอกวาดอร์ ไปจนถึงฮาวาย ในประเทศไทยมีการปลูกมังคุ ดมานานแล้ว เช่ น กัน เพราะมีก ล่าวถึงในพระราชนิ พนธ์เรื่ องรามเกี ย รติ์ ในสมัย รั ชกาลที่ 1 นอกจากนั้น ในบริ เวณ โรงพยาบาลศิริราชยังเคยเป็ นที่ต้งของวังที่มีชื่อว่า "วังสวนมังคุด" ในจดหมายเหตุของราชทูตจากศรี ลงกาที่ ั ั เข้ามาขอพระสงฆ์ไทย ได้กล่าวว่ามังคุดเป็ นหนึ่งในผลไม้ที่นาออกมารับรองคณะทูต การใช้ ประโยชน์ มังคุดเป็ นผลไม้จากเอเชียที่ได้รับความนิ ยมมาก มังคุดได้รับขนานนามว่าเป็ น "ราชินีของผลไม้" อาจเป็ นเพราะด้วยลักษณะภายนอกของผลที่มีกลีบเลี้ยงติด อยูที่หวขั้วของผลคล้ายมงกุฎของพระราชินีส่วน ่ ั
  • 7. เนื้อในก็มีสีขาวสะอาด มีรสชาติที่แสนหวาน อร่ อยอย่างยากที่จะหาผลไม้อื่นมาเทียบได้มีการนามังคุดมา ประกอบอาหารบ้างทั้งอาหารคาว เช่น แกง ยา และอาหารหวาน เช่น มังคุดลอยแก้ว แยมมังคุด มังคุดกวน มังคุ ด แช่ อิ่ม ในจังหวัด นครศรี ธรรมราชมีก ารทามังคุ ด คัด ด้ว ยการแกะเนื้ อมังคุ ด ห่ ามออกมาเสี ย บไม้ รับประทาน ในขณะที่ส่วนใหญ่จะนิ ยมรับประทางมังคุดสุ กเป็ นผลไม้ ซึ่งมีประโยชน์ในการช่วยต่อต้าน อนุมลอิสระ ช่วยเสริ มสร้างภูมิตานทานให้กบร่ างกาย มีส่วนช่วยในการชะลอวัยและการเกิดริ้ วรอย และยัง ู ้ ั มีส่วนช่วยบารุ งผิวพรรณให้เปล่งปลังสดใสอีกด้วย ่ ลินจี่ ้ ชื่อภาษาอังกฤษ: Litchi ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Litchi chinensis Sonn. ชื่อวงศ์ : Sapindaceae สกุล: Litchi อาณาจักร: Plantea ที่มาของมังคุด ลิ้น จี่ เป็ นชื่ อ ของผลไม้ป ระเภทผลเดี่ ย วซึ่ งมี ล ัก ษณะเปลื อ กสี แ ดงชนิ ด หนึ่ งที่ อ ยู่ใ นวงศ์ SAPINDACEAE (ซึ่ งก็คือวงศ์เดียวกับเงาะและลาไยนั้นเอง) ลิ้นจี่น้ ันเป็ นผลไม้ที่มีรสชาติอร่ อยให้ผลผลิต คุมค่ากับการลงทุนจึงถือว่าเป็ นผลไม้ทางเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศไทยที่สามารถน าผลผลิตที่ได้มา ้ จาหน่ายในรู ปของผลไม้สดและผลไม้แปรรู ป ปัจจุบนนี้ลิ้นจี่ได้รับการพัฒนาสายพันธุให้มีความหลากหลาย ั ์ ขึ้นเรื่ อยๆจากสายพันธุด้งเดิมที่มีอยู่แล้ว ลิ้นจี่ถูกกล่าวถึงในประวัติศาสตร์ จีนในสมัยราชวงศ์ถง โดยเป็ น ์ ั ั ผลไม้โปรดของหยางกุยเฟย พระสนมของจักรพรรดิถงเสวียนจงทรงบัญชาให้ทหารม้านาลิ้นจี่ จากแหล่ง ้ ั ปลูกทางตอนใต้ของจีน เดินทางข้ามวันข้ามคืนมาถวายที่ปักกิ่ง
  • 8. การใช้ ประโยชน์ สรรพคุณทางยา ตามที่ใช้ในประเทศจีนเป็ นส่ วนใหญ่ นับมาแต่โบราณ เนื้ อในผล กินเป็ นยา บารุ ง แก้อาการไอเรื้ อรัง แก้อาการคัดจมูก รักษาอาการท้องเดิน ลดกรดในกระ-เพาะอาหาร และบรรเทา อาการไม่ปกติของระบบทางเดินอาหาร ในประเทศจีนใช้เปลือกผลลิ้นจี่ทาเป็ นชา ใช้ชงเพื่อบรรเทาอาการ หวัด แก้การติดเชื้อในลาคอ อาการท้องเสียอย่างอ่อน และโรคจากการติดเชื้อไวรัส ตารายาจีนกล่าวเฉพาะ เมล็ดลินจี่ ว่ามีรสหวาน ขมเล็กน้อย สรรพคุณอุ่น ทาให้พลังชี่ขบเคลื่อน ลดอาการปวด ใช้กรณี ปวดท้อง ั ้ ปวดไส้เลื่อน ปวดบวมของอัณฑะ ใช้ขนาด 5-10 กรัม โดยมักผสมกับสมุนไพรอื่นอีก หนึ่ งหรื อสองชนิ ด เมล็ดลิ้นจี่ ที่แห้ง ควรนามาบด คัวให้แห้งโดยผสมด้วยน้ าเกลือ แล้วจึงเติมน้ าลงไปต้ม น้ าดื่ม หรื อทาเป็ นผง ่ รับประทานหรื อใช้ ผงยาพอกบริ เวณมีอาการปวดบวม รากลินจี่หรือเปลือกต้ นใช้ แก้ อาการติดเชื้อ ไวรัส ้ อีสุกอีใส และเพิมความสามารถระบบภูมคุ้มกันของร่ างกาย สาหรับงานวิจยซึ่งยังต้องการพิสูจน์ซ้ าเพื่อให้ ่ ิ ั ได้ผลยืนยัน พบว่า สารสกัดเมล็ด ด้วยน้ าขนาด 0.6 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ให้แก่ผที่เป็ นพาหะโรคไวรัสตับชนิด ู้ บี ใช้ได้ผลดีในการยับยั้งเอ็นไซม์ตบที่สูงขึ้น งานวิจยเปลือกของผลลิ้นจี่มีสารกลุ่มฟลาโวนอลที่สาคัญคือ ั ั โพรไซยาไนดินบี 4 ไพรไซยา- ไนดินบี 2 และอีพิคาเทชิน ส่วนที่สาคัญคือ ไซยาไนดิน - 3 - รู ตินโนไซด์ ไซยาไนดิน- 3 กลูโคไซด์ เควอเซทิน – 3 - รู ติโนไซด์ และเควอเซทิน - 3 - กลูโคไซด์ มีฤทธิ์ ต้านอนุ มูล อิสระสูง และสารสกัดเปลือกยัง มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริ ญของเซลล์ มะเร็ งเต้านม ทั้งในห้องทดลองและใน สัตว์ทดลอง โดยยับยั้งการขยายจานวนเซลล์ การควบคุมการสื่ อสารระหว่างเซลล์มะเร็ ง และเหนี่ ยวนาให้ เกิดการตายของเซลล์มะเร็ ง รายงานวิจยที่ทาในประเทศจีนอื่นๆยังพบว่า สารสกัดลิ้นจี่ลดขนาดเนื้ องอกในสัตว์ทดลอง แต่ ั ไม่ได้ระบุว่าเป็ นสารสกัดส่วนใดของลิ้นจี่ สาหรับงานวิจย นักวิทยาศาสตร์ของไทย พบว่าสารสกัดผลลิ้นจี่มี ั ฤทธิ์ในการปกป้ องตับ ในหนูที่เหนี่ยวนาให้ได้รับสารพิษ และเป็ นโรคตับ
  • 9. บอระเพ็ด ชื่อวิทยาศาสตร์ :Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thoms ชื่อวงศ์ : HEART-LEAVED MOONSEED ชื่อสามัญ : Menisspermaceae ชื่ออื่น :เครื อเขาฮอ จุ่งจิง เจ็ต มูลย่าน จุ่งจิงตัว แม่(เหนื อ) เจตมูลหนาม(หนองคาย) หางหมู(อุบลราชธานี สระบุรี) ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน(สระบุรี) เจ็ดหมุนปลูก(ภาคใต้) ลักษณะ : ไม้เถาเลื้อยพัน เป็ นไม้เนื้ออ่อน แต่เมื่อมีอายุมาก เนื้อของลาต้นอาจแข็งได้ ลาต้นมีขนาดเท่านิ้ วมือ มีไส้เป็ นเส้นยาว ตามเปลือกของลาต้นมีปุ่มปมกระจายทัวไปเป็ นจานวนมาก ไม่มีขนหรื อหนาม ยางมีรสขม ่ จัด มีใบเดี่ยวเป็ นแบบสลับ ใบรู ปไข่ป้อม โคนใบรู ปหัวใจ ปลายใบแหลม ขอบใบเรี ยบขนาดกว้าง 3-10 ซม. ยาว 6-13 ซม. ดอกออกเป็ นช่อยาว 7-25 ซม. ดอกมีขนาดเล็กสี เหลืองอมเขียว ผลรู ปไข่ สี เหลือง หรื อส้ม ขนาด 2-3 ซม. การขยายพันธุ์ :ใช้เถาปักชา ตัดเถาแกให้ยาวประมาณ 1 คืบ ชาลงในดินให้มีมุมเอียงเล็กน้อย ลึกประมาณ 10 ซม.รดน้ าให้ชุ่ม ขึ้นได้ในดินทัวไป ชอบดินร่ วนซุย ควรปลูกในฤดูฝน ่ สรรพคุณ - ใบ แก้รามะนาด ปวดฟัน ฆ่าพยาธิไส้เดือน แก้ไข้ แก้โรค ผิวหนัง ดับพิษปวดแสบปวดร้อน บารุ ง น้ าดี ฆ่าแมลงที่เข้าหู แก้โรคในกระเพาะอาหาร เป็ นยาเจริ ญอาหารลูก แก้ไข้ แก้เสมหะเป็ นพิษ เถา แก้พิษฝี ดาษ แก้ไข้พิษไข้กาฬ แก้ไข้ทุกชนิด แก้ร้อนใน กระหายน้ า แก้สะอึก บารุ งกาลัง บารุ งน้ าดี บารุ ง อาหาร แก้โรคกระเพาะ รากและเถา นามาตาผสมกับมะขามเปี ยกและเกลือ หรื อใส่ในยาดองเหล้า โดยจะกิน ครั้งละ 1 ช้อนชา ซึ่งจะช่วยลดไข้ ช่วยให้เจริ ญอาหาร รักษาไข้มาลาเรี ยขึ้นสมองปัจจุบนองค์การเภสัชกรรม ั ได้ผลิ ต ทิ งเจอร์ บ อระเพ็ด เพื่อใช้แทนทิ งเจอร์ เจนเซี ยล ซึ่ งเป็ นส่ ว นผสมของยาธาตุ ที่ต ้องน าเข้าจาก ต่างประเทศ และจากการทดลองในสัตว์พบว่าน้ าที่กสัดจากเถาใช้ลดไข้ได้ (ภูมิพิชญ์ สุชาวรรณ, 2535) ดอก รักษาโรคในปากและช่องหู ขับพยาธิ - ผลและลูก ใช้เป็ นยารั กษาโรคไข้พิษ อย่างแรงและเสมหะเป็ นพิษ รักษาโรคอุจจาระเป็ นเลือด รวมทั้งโรคติดเชื้อในกระแสเลือด - ต้นและเถา รักษาโรคพิษฝี ดาษ โรคไข้เหนื อ โรคไข้พิษทุกชนิ ด เป็ นยาบารุ งกาลัง บารุ งไฟธาตุ รักษาอาการร้อนใน ทาให้เจริ ญอาหาร ขับน้ าย่อยในทางเดินอาหาร ระงับความร้อน รักษาโลหิ ตพิการ และ
  • 10. ระงับอาการสะอึก (เสงี่ยม พงษ์บุญรอด, 2522) การที่บอระเพ็ดช่วยเจริ ญอาหาร เนื่ องจากบอระเพ็ดมีรสขม ช่วยทาให้รู้สึกอยากอาหาร รส (รสทางยา) : รสขมจัด เย็น มีสรรพคุณระงับความร้อน
  • 11. บทที่ 3 วัสดุและอุปกรณ์ วัสดุ 1.มังคุด 15 ลิตร 2.ลิ้นจี่ 15 ลิตร 3.บอระเพ็ด 15 ลิตร 4.น้ าเปล่าสะอาด(ไม่มีคลอรี น)แบ่งเป็ น 3 ส่วน ส่วนละ 25 ลิตร 5.น้ าตาลทรายแดงป่ นส่วนละ 15 ลิตรแบ่งเป็ น 3 ส่วน อุปกรณ์ 1.ถังพลาสติก 50 ลิตร 2.ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ 3.ขวดพลาสติกแบบหนา 4.หนังยาง วิธีทา 1.ผสมน้ า 25 ลิตร และน้ าตาลทรายแดงป่ น 5 ลิตรตามส่วนข้างต้น ละลายเข้าด้วยกัน 2. นาผลไม้/สมุนไพร คือ มังคุด ล้างน้ าสะอาดและผึ่งให้แห้ง 3. นาถุงมารองในถังหมัก 2 ชั้น แล้วเทน้ าตาลทรายที่ผสมน้ าแล้ว และมังคุดตามส่ วนเข้าด้วยกัน แล้วมัดถุง 4. กดมังคุดให้จม เพื่อกันส่วนบนขึ้นรา ให้คอยดูและกดมังคุดให้จมอยู่ตลอด เมื่อนานไปมังคุด จะ จม และจะเกิดน้ าพลาสมา คือน้ าใส 5. เมื่อเกิดฝ้ าขาวนิ่งแล้วจึงปิ ดฝาให้สนิท ทิ้งไว้ ซึ่งส่วนนี้จะกลายเป็ นวุนในโอกาสต่อไป ้ 6. เมื่อหมักมังคุดครบเวลาที่กาหนดแล้ว จึงนามาบริ โภคได้ ส่วนถังเก่าก็ให้เติมน้ าและน้ าตาลตาม สูตร และหมักเหมือนเดิมต่อไป สามารถเติมได้เรื่ อย ๆ 7.ต่อไปนาลิ้นจี่และบอระเพ็ดมาหมักตามข้อ 1-6 ที่ได้กล่าวไปนั้น ตามลาดับ
  • 12. บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน สถิติ ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่เป็ นโรคผิวหนัง และได้รับประทานน้ าหมักเพื่อสุขภาพจากมังคุด หลังจากที่สอบถามจากคนในชุมชน คนที่เป็ นโรค ดีข้ ึน เหมือนเดิม แย่ลง ผลที่เกิด นางเหลื่อม นายแหลม นางลาภู นางวรรณดี รวม สถิติ แผ้วผ่องศรี ขุนทอง จาปาทัศน์ เม่งเอียด       ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่มีอาการปวดบวม และได้รับประทานน้ าหมักเพื่อสุขภาพจากลิ้นจี่ หลังจากที่สอบถามจากคนในชุมชน คนที่เป็ นโรค ดีข้ ึน ผลที่เกิด เด็กชายธนพล ชูยก นางสาวประภัสสร สุขเสน เด็กชายธนพล เกิดไก่แก้ว นางสาวนันทนาเม่งเอียด รวม      เหมือนเดิม แย่ลง
  • 13. สถิติ ผลที่เกิดขึ้นกับคนที่รับประทานอาหารไม่ค่อยได้และได้รับประทานน้ าหมักเพื่อสุขภาพ จากลินจี่หลังจากที่สอบถามจากคนในชุมชน ้ คนที่เป็ นโรค ดีข้ ึน ผลที่เกิด นางสาวเพ็ญนภา สุขเสน นางสาวมุกตรา อ่อนรู้ที่ นางเพ็ญประภา แผ้วผ่องศรี นายจิราวัตน์วรรณวงศ์ รวม      เหมือนเดิม แย่ลง
  • 14. บทที่ 5 สรุปอภิปรายผล จากการที่กลุ่มของข้าพเจ้าได้จดทาโครงงานน้ าหมักเพื่อสุขภาพ และได้นาไปทดลองแจกให้คนใน ั ชุมชนอาเภอวังวิเศษได้รับประทาน จากผลการสารวจผูที่เป็ นโรคผิวหนัง เมื่อได้ดื่มน้ าหมักมังคุดอย่าง ้ ต่อเนื่องส่วนมากจะมีอาการดีข้ ึนมาก จากนั้นเราได้นาน้ าหมักลิ้นจี่ไปแจกจ่ายให้กบคนที่เป็ นแผลและมี ั อาการบวมหรื ออักเสบที่อยูในบริ เวณอาเภอวังวิเศษได้รับประทาน จากผลสารวจจากผูที่รับประทานได้ผล ่ ้ ว่ามีอาการดีข้ ึน บางคนหายจากการเป็ นแผลและไม่มีอาการเจ็บปวดหรื อบวม และจากนั้นเราก็นาน้ าหมัก บอระเพ็ดไปแจกจ่ายให้กบคนที่รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ที่อยูบริ เวณอาเภอวังวิเศษ จากผลสารวจคนที่ ั ่ รับประทานอาหารไม่ค่อยได้ เจริ ญอาหารมากขึ้น จากนั้นพวกเราก็ไปสอนคนในชุมชนให้ทุกคนสามารถทา น้ าหมักเพื่อสุขภาพเป็ นและกลับไปทาเองที่บาน ผลคือทุกคนมีความรู้ในการทาน้ าหมักเพื่อสุขภาพและมี ้ การนาไปทาเองเพื่อใช้ดื่มรักษาโรคกันทุกคน ประโยชน์ ที่ได้ รับ 1. มีความรู้เกี่ยวกับผลไม้และสมุนไพรมากขึ้น 2. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. มีความสามัคคีกนภายในกลุ่ม ั 4. มีประโยชน์ต่อร่ างกาย 5. คนในชุมชนมีวิธีรักษาโรคจากสมุนไพร 6.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการรักษาโรค