SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ รหัส ๐๐๐ ๒๕๓
บรรยายโดย
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร
น.ธ.เอก, ป.ธ.๘, พธ.บ. (อังกฤษ), พธ.ม.
(บาลี), พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)
เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
วัตถุประสงค์ของการเรียน
๑. บอกหลักการปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานได้
๒. บอกรายละเอียดในเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานได้
๓. อธิบายวิธีพิจารณาเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานได้
๔. ฝึกการปฏิบัติในเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานได้
ขอบข่ายของเนื้อหา
๑. หลักการและวิธีการปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏ
ฐาน
๒. รายละเอียดในเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๓. วิธีพิจารณาเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๔. การปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง
๑) อินทรีย์ ๕
๒) วิปลาส ๓
๓) อภิญญา ๖ และ วิชชา ๘
๔) วิสุทธิ ๗
ความหมายของเวทนา
คาว่า “เวทนา” หมายถึง “การเสวยอารมณ์” “ภาวะ
ที่เสวยอารมณ์” หรือ ความรู้สึก
ตามหลักพระพุทธศาสนา เวทนา หมายถึง
ความรู้สึกอย่างใดอย่างหนึ่งที่อาจเป็ นสุข (ความ
สบาย สุขเวทนา) หรือเป็ นทุกข์ (ความไม่สบาย
ทุกขเวทนา) หรือเป็ นความรู้สึกกลางๆ (ไม่สุข ไม่
ทุกข์ อทุกขมสุขเวทนา) ก็ได้
พุทธพจน์ว่า
“เวทยตีติ โข ภิกฺขเว ตสฺมา เวทนาติ วุจฺจติ. กิญฺจ เวทยติ สุขมฺปิ
เวทยติ ทุกฺขมฺปิ เวทยติ อทุกฺขมสุขมฺปิ เวทยติ. ความว่า เพราะ
อะไรจึงเรียกว่า เวทนา เพราะเสวยจึงเรียกว่า เวทนา เสวยอะไร
เสวยอารมณ์สุขบ้าง ทุกข์บ้าง มิใช่ทุกข์มิใช่สุขบ้าง”
สรุป จากความหมายนี้เวทนา มี ๓ ประการ คือ
๑) สุขเวทนา ๒) ทุกขเวทนา ๓) อทุกขมสุขเวทนา
(สํ.ข. (บาลี) ๑๗/๗๙/๗๑, สํ.ข. (ไทย) ๑๗/๗๙/๑๒๑-๑๒๒.
คัมภีร์สัมโมหวิโนทนี แสดงอุปมาสุขเวทนาและ
ทุกขเวทนาไว้ว่า
สุขเวทนาย่อมหวั่นไหวแผ่ออกไปเมื่อเกิดขึ้นย่อมยัง
สรีระทั้งสิ้นให้หวั่นไหวให้กระเพื่อม ให้ชุ่มฉ่า ให้มัว
เมา และให้ยินดีดุจรดอยู่ด้วยหม้อน้าเย็น
อภิ.วิ.อ. (บาลี) ๘/๑๕-๑๖.
ทุกขเวทนาเมื่อเกิดขึ้นย่อมเป็นดุจเวลาที่ใส่ภาชนะ
ร้อนไว้ภายใน และดุจเอาคบเพลิงหญ้าเผาอยู่
ภายนอก
คัมภีร์วิสุทธิมรรค พระพุทธโฆสเถระ ได้ให้
ความหมายว่า
ที่ชื่อว่า เวทนาขันธ์ เพราะรวมธรรมชาติที่มีการ
เสวยอารมณ์เป็นลักษณะทุกอย่างเข้าด้วยกัน
วิสุทฺธิ. (บาลี) ๒/๔๕๖/๑๐๑-๑๐๒.
คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี พระสุมังคลเถระ ได้อธิบาย
ความหมายของเวทนาพร้อมทั้งยกตัวอย่างให้เห็นชัดเจน
ยิ่งขึ้นว่า
ธรรมชาติที่ชื่อว่า เวทนา เพราะอรรถว่า รับรู้ คือเสวยรสของ
อารมณ์ เวทนามีการรับรู้เป็นลักษณะ เวทนาย่อมเสวยอารมณ์
ได้ทั้งหมด เพราะเป็นธรรมชาติมีอิสระ เปรียบเหมือนพระราชา
ผู้เสวยรสสุธาโภชน์ (สุธาโภชนรสานุภวนกราชา)
วิภาวินี. (บาลี) ๒/๑๙๒.
หลักการและวิธีการปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน
พุทธพจน์ในมหาสติปัฏฐานสูตรว่า
พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาทั้งหลายอยู่ มีความเพียร
มีสัมปชัญญะ มีสติกาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลก
ได้
การเจริญสติปัฏฐานเป็นแนวปฏิบัติที่ทวนกระแสการ
รับรู้ตามปกติ เพราะมุ่งให้ระลึกรู้สภาวธรรมโดย
ปราศจากรูปร่างของสิ่งใดๆ จึงไม่มีตัวเรา ของเรา
บุรุษหรือสตรีอย่างแท้จริง
ประเภทของเวทนา
พุทธพจน์ในพหุเวทนิยสูตร และปัญจกังคสูตร
 อานนท์ เรากล่าวเวทนา ๒ ประการไว้โดยบรรยายก็มี กล่าว
เวทนา ๓ ประการไว้โดยบรรยายก็มี กล่าวเวทนา ๕ ประการไว้
โดยบรรยายก็มี กล่าวเวทนา ๖ ประการไว้โดยบรรยายก็มี กล่าว
เวทนา ๑๘ ไว้โดยบรรยายก็มี กล่าวเวทนา ๓๖ ประการไว้โดย
บรรยายก็มี กล่าวเวทนา ๑๐๘ ไว้โดยบรรยายก็มี
ม.ม. (ไทย) ๑๓/๘๙/๙๑, สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๖๗/๒๙๕.
สรุป จากพระพุทธพจน์นี้ เวทนา ๗ ประการ คือ
๑) เวทนา ๒
๒) เวทนา ๓
๓) เวทนา ๕
๔) เวทนา ๖
๕) เวทนา ๑๘
๖) เวทนา ๓๖
เวทนา ๒
๑) สุขเวทนา ได้แก่ สุขทางกาย และสุขทางใจ
๒) ทุกขเวทนา ได้แก่ ทุกข์ทางกาย และทุกข์ทางใจ
องฺ.ทุก. (ไทย) ๒๐/๗๑/๑๐๓.
เวทนา ๓
๑) สุขเวทนา
๒) ทุกขเวทนา
๓) อุเบกขาเวทนา
สํ.สฬา. (ไทย) ๑๘/๒๔๙/๒๗๑.
เวทนา ๕
๑) เวทนาขันธ์ที่เป็นสุขินทรีย์
๒) เวทนาขันธ์ที่เป็นทุกขินทรีย์
๓) เวทนาขันธ์ที่เป็นโสมนัสสินทรีย์
๔) เวทนาขันธ์ที่เป็นโทมนัสสินทรีย์
๕) เวทนาขันธ์ที่เป็นอุเปกขินทรีย์
อภิ.วิ. (ไทย) ๓๕/๓๔/๒๓.
เวทนา ๖
เวทนา ๖ คือเวทนาที่เกิดจากสัมผัสทางตา หู จมูก
ลิ้น กาย และใจ มีข้อความปรากฏในวิภังคสูตร สัง
ยุตตนิกาย นิทานวรรคว่า
๑) จักขุสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทาง
ตา)
๒) โสตสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทาง
หู)
๓) ฆานสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทาง
จมูก)
๔) ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัส
ทางลิ้น)
๕) กายสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทาง
กาย)
๖) มโนสัมผัสสชาเวทนา (เวทนาเกิดจากสัมผัสทาง
ใจ)
สํ.น. (ไทย) ๑๖/๒/๖.
เวทนา ๑๘
เวทนาประเภทนี้ มีฐานที่ตั้งคืออายตนะภายใน ๖ คือ
ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นึกหน่วงกับอารมณ์ภายนอก
คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และธรรมารมณ์ โดย
แบ่งออกเป็น ๓ ฝ่ าย คือ โสมนัส ๖ โทมนัส ๖ และ
อุเบกขา ๖
ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๓๐๕/๓๖๙-๓๗๐.
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓

More Related Content

What's hot

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรsolarcell2
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 

What's hot (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตรเหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
เหตุผลแห่งข้อเท็จจริงตามหลักกาลามสูตร
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 

Viewers also liked

ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marksEric Cruz
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?
Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?
Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?KUMAR LANG
 
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher MarginData + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher MarginKUMAR LANG
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Viewers also liked (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎกถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
 
กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๘
 
Used to
Used toUsed to
Used to
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
Using punctuation marks
Using punctuation marksUsing punctuation marks
Using punctuation marks
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๔
 
Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?
Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?
Sales Problems and Common Cold. What's The Difference?
 
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
บทที่ ๓ กรรม (ฉบับปรับปรุง)
 
iLook - Connecting Like Minds
iLook - Connecting Like MindsiLook - Connecting Like Minds
iLook - Connecting Like Minds
 
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher MarginData + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
Data + narrative + outside-in strategy = Unique Value Story = Higher Margin
 
05essay
05essay05essay
05essay
 
Cuento
CuentoCuento
Cuento
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ๗
 

Similar to ธรรมภาคปฏิบัติ ๓

Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูarpokasin
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3tassanee chaicharoen
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2tassanee chaicharoen
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 

Similar to ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ (20)

Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครู
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (18)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 

ธรรมภาคปฏิบัติ ๓