SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การออกแบบการสอน เป็นกระบวนการการออกแบบการ
สอนเป็นการพัฒนาด้านการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ โดย
การนำาทฤษฎี การเรียนรู้และการสอนมาใช้เพื่อประกันเกี่ยวกับ
คุณภาพด้านการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ ทั้งหมดของการ
วิเคราะห์ความต้องการของการเรียน เป้าหมายของการเรียนรู้ และ
การพัฒนา ระบบการถ่ายทอดเพื่อให้ตอบสนองความต้องการดัง
กล่าว การออกแบบการสอนจะรวมไปถึง การพัฒนาเกี่ยวกับสื่อ
การเรียนการสอนตลอดจนกิจกรรมการเรียนการสอน การนำาไปใช้
และการประเมินผลทั้งด้านการสอนและเกี่ยวกับผูเรียนด้วย
                                                 ้
         กระบวนทัศน์ (Paradigm) หมายถึง วิธีคด วิธีปฏิบัติ วิธีให้
                                                   ิ
คุณค่า ซึ่งตังอยู่บนฐานการมองโลกความจริง การปรับกระบวน
             ้
ทัศน์ จึงเป็นการปรับเปลี่ยนวิธการมอง วิธีคด วิธปฏิบัตเสียใหม่
                              ี           ิ    ี     ิ
เป็นการแหวกวงล้อมหรือกรอบการทำางาน ไปสู่ความเป็นเลิศและ
ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเปลียนแปลงบทบาทของครู จากผู้
                                ่
ถ่ายทอดมาเป็นผูจัดการเรียนรู้และกระตุนให้เกิดการเรียนรู้สามารถ
                   ้                  ้
เชื่อมโยงการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นเนือเดียวกันกับการประกัน
                                            ้
คุณภาพการศึกษา
        กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน คือ การปรับเปลี่ยน
สิ่งใดเป็นพื้นฐานทีสำาคัญในการเปลียนกระบวนทัศน์ คือ ทางด้าน
                   ่              ่
ทฤษฎีการเรียนรู้ และด้านเทคโนโลยี
พื้นฐานทางด้านทฤษฎีการเรียนรู้ ได้แก่
      - การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
      - การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
      - การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
- พื้นฐานด้านเทคโนโลยี
คือ นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา) เนื่องจากมี
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่าย
และเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำาให้นกการศึกษาพยายามนำา
                                      ั
ศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ
                                 ้
สอนใหม่ๆ จำานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นก
ลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อทีใช้เพื่อสนับสนุนการฝึก
                                           ่
อบรม ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่
    - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted
Instruction)
    - มัลติมีเดีย (Multimedia)
    - การประชุมทางไกล (Tele Conference)
    - วีดทัศน์แบบมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video)
         ี
    - บทเรียนสำาเร็จรูป (Programed Instruction)
    - เครื่องช่วยสอน(Teaching Machine)
    - วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV)
พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำาคัญในการออกแบบ ได้แก่
        การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
มุ่งทีศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
      ่
หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่
สามารถวัดและสังเกตจากภายนอกได้และเน้นความสำาคัญของสิ่ง
แวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำาหนดพฤติกรรมใน
แนวคิดของกลุ่มนีจะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยง
                   ้
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองหรือการแสดงพฤติกรรมนิยมและถ้า
หากได้รับการเสริมแรงจะทำาให้มีการแสดงพฤติกรรมนัน ถี่มากขึ้น
                                                        ้
        การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
นักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญานิยม เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่า
ผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดยให้ความ
สนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจ หรือการ
รู้คิดของมนุษย์การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงความรู้ของผูเรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ
                          ้
คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งทีเรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัด
                            ่
การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มีรากฐานความเชื่อมาจากการพัฒนาการ
ทางด้านพุทธิปัญญา ที่ว่าความรู้เกิดจากประสบการณ์ และ
กระบวนการในการสร้างความรู้ หรือเกิดจากการกระทำา โดยทีผู้่
เรียนสร้างเสริมความรู้ผานกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ครู
                       ่
ผูสอนไม่สามารถปรับเปลียนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้
  ้                      ่
แต่สามารถช่วยให้ผเรียนปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา โดยการ
                   ู้
จัดสภาพการณ์ที่ทำาให้เกิดภาวะ เสียสมดุล หรือก่อให้เกิดความขัด
แย้งทางปัญญาขึ้น ซึ่งก็คอสภาวะที่โครงสร้างทางปัญญาเดิมใช้ไม่
                           ื
ได้ตองมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องประสบการณ์มากขึ้นหรือเกิด
     ้
โครงสร้างทางปัญญาใหม่นนเอง   ั่
พฤติกรรมนิยม            พุทธิปัญญา        คอนสทรัคติ
                                              นิยม               วิสต์
 การเรียนรู้คือ   การเปลี่ยนแปลง        การเปลี่ยนแปลง     การเปลี่ยนแปลง
                  พฤติกรรมที่เกิด       ของความรูที่ถูก
                                                   ้       อย่างมีความมาย
                       ขึน้              เก็บไว้ในหน่วย    เกี่ยวกับรู้ที่สร้าง
                                             ความจำา
กระบวนการเรียน Antecedent               การใส่ใจ การเข้า   การร่วมมือกันแก้
     รู้คือ                                  รหัส               ปัญหา
                  Behavior               การเลือกกลับ
                Consequence              ของสารสนเทศ
                                        ในหน่วยความจำา
 บทบาทของผู้      บริหารจัดการสิง   ่      นำาเสนอ         แนะนำาและให้รูป
   สอนคือ           เร้าที่จะให้ผู้       สารสนเทศ              แบบ
                       นักเรียน
 บทบาทของผู้      รับสิงเร้าที่ครูจด
                       ่           ั    รอรับสารสนเทศ      สร้างความรูอย่าง
                                                                        ้
    เรียน                ให้                                    ตื่นตัว
กลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
    ่
จุดเด่น คือ ครูบริหารจัดการสิ่งเร้าให้ผเรียน ครูมีการเสริมแรง
                                              ู้
เพื่อสร้างแรงกระตุ้นให้กบผูเรียน
                            ั ้
จุดด้อย คือผูเรียนเป็นผูรอรับอย่างเดียว ไม่มีการค้นคว้าความรู้
                 ้           ้
ด้วยตนเอง ไม่มีการสร้างองค์ความรู้ดวยตนเอง  ้
กลุมทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
      ่
จุดเด่น คือผูเรียนสามารถจดจำาความรู้ใหม่ไว้ได้ในระยะยาว ผู้
              ้
สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผเรียนสามารถเก็บไว้ในหน่วย
                                     ู้
ความจำาในปริมาณมากๆ ผูเรียนสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่
                                 ้
เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ และเชื่อมโยงกับความรู้เดิมได้
จุดด้อย คือ การรับข้อมูลในปริมาณทีมาก อาจทำาให้ ไม่สามารถ
                                        ่
จำาได้หมดในระยะเวลาที่จำากัด
กลุมทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
        ่
จุดเด่น คือ ผูเรียนเป็นผูสร้างองค์ความรู้ ทดลอง สำารวจ ค้น
                   ้           ้
ค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเองโดยมีครูเป็นผูชี้แนะ และจัดสิ่ง
                                                 ้
แวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง
จุดด้อย คือ ทฤษฎีนมาจากแนวคิดทีว่ามนุษย์มีเชาว์ปัญญาจึงจะ
                         ี้               ่
เป็นแนวการเรียนการสอนจากการยึดครูเป็นหลัก มาเป็นจัด
ประสบการณ์ให้ผเรียนเรียนเอง และเปลี่ยนจากการใช้สื่อเพื่อ
                 ู้
ช่วยครูสอน มาเป็นใช้สื่อการสอนเพื่อช่วยผูเรียนเรียนยึดทฤษฎี
                                         ้
กระบวนการกลุมมาใช้ในการจัดระบบการผลิตสื่อในรูปของ ชุด
               ่
การสอน ซึ่งจะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ เพราะ
นักเรียนได้มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง วิธีการเรียนการสอน ทีใช้่
บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่ง ออกแบบไว้ เพื่อนำาเสนอบท
เรียนแทนผู้สอน และผูเรียน สามารถ เรียนได้ด้วยตนเอง ตาม
                       ้
ลำาดับขั้นตอน การเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ โดยมีการปฏิสัมพันธ์
(Interactive) ระหว่างผูเรียนกับ คอมพิวเตอร์ และผู้เรียนจะได้รับ
                         ้
ข้อมูลย้อนกลับทันที ซึ่งจะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
เพราะนักเรียนได้มีการเรียนรู้ดวยตนเอง
                              ้
เป็นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผเรียนลงมือกระทำาในการสร้าง
                                      ู้
ความรู้ หรือเรียกว่า Actively construct มิใช่ Passive receive ที่
เป็นการรับข้อมูล หรือสารสนเทศ และพยายามจดจำาเท่านัน เน้น   ้
ให้ผเรียนได้เรียนรู้ ทำาความเข้าใจและสร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตัว
     ู้
เอง ในบริบทของแต่ละคน ภายใต้การออกแบบ การจัดกระทำา
และการสนับสนุน ช่วยเหลือของครูผสอน ทั้งยัง เน้นให้มีการเรียน
                                          ู้
รู้แบบร่วมมือ คือ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้และร่วมกันแก้ไขปัญหา
เป็นกลุม ซึ่งจะทำาให้เกิดการช่วยเหลือ การแลกเปลี่ยนมุมมองที่
        ่
หลากหลายและฝึกการแสดงความเห็นและการยอมรับความคิด
เห็นจากผูอื่นด้วย จะจำาแนกตามทฤษฎีกลุมคอนสตรัคติวิสต์
            ้                                  ่
การจัดระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผเรียนู้
ประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองตามเนือหา ซึ่งจัดไว้เป็นขั้น
                                             ้
ตอนเล็ก ๆ ผูเรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วย
              ้
การดูจากผลสะท้อนกลับอยู่เสมอ และบางครั้งก็อาจจะได้รับความรู้
เพิ่มเติมในเนือหาที่นกเรียนยังมีความรู้ไม่ดพอ ผูเรียนจะเลือกเรียน
                ้    ั                     ี    ้
ได้ตาม ความสนใจ และก้าวไปตามความสามารถของแต่ละคน
จะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม เพราะเป็นการเรียนรู้ที่ผู้
เรียนโต้ตอบกันเอง โดยไม่มีครูมาเกียวข้อง
                                   ่
การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการ
สอนทีได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและ
      ่
ทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่ง
เสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด
เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือนำามาใช้เป็นเพียงส่วน
หนึงของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการ
    ่
เรียนการสอนทางด้านสถานทีและเวลาอีกด้วย จะจำาแนกตาม
                                ่
ทฤษฎีกลุมคอนสตรัคติวิสต์ เพราะผูเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย
          ่                           ้
ตนเองไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ที่มีเครือข่าย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำาหรับผูเรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไป
                                         ้
หรือโดยการแบ่งผูเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้ผเรียนทำา
                  ้                                    ู้
กิจกรรมร่วมกัน โดยในกลุมประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถ
                         ่
แตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพา
กัน มีความรับผิดชอบร่วมกัน ทังในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้
                               ้
ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุมประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายที่
                             ่
กำาหนด ซึ่งตรงข้ามกับการเรียนที่เน้นการแข่งขันและการเรียนตาม
ลำาพัง เป็นการเรียนที่จะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม

More Related Content

What's hot

เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้eaktcfl
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)Mamoss CM
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 

What's hot (17)

09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 

Viewers also liked

North Texas MLS Sales Activity May 2012
North Texas MLS Sales Activity May 2012North Texas MLS Sales Activity May 2012
North Texas MLS Sales Activity May 2012Rick Michels
 
Allegheny valley school
Allegheny valley schoolAllegheny valley school
Allegheny valley schoolSheanaenae
 
Non-Profit Assignment: Step Inspire
Non-Profit Assignment: Step InspireNon-Profit Assignment: Step Inspire
Non-Profit Assignment: Step Inspiremdc5070
 
T&T Catalogo Natale 2012
T&T Catalogo Natale 2012T&T Catalogo Natale 2012
T&T Catalogo Natale 2012pixelparty_it
 
The story of the internet
The story of the internet The story of the internet
The story of the internet lilianacaggiano
 
Dormitorios Natura-Cuomo
Dormitorios Natura-CuomoDormitorios Natura-Cuomo
Dormitorios Natura-CuomoMueblipedia
 
LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016
LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016
LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016Dyplast Products
 
DoubleClick Certification Programs
DoubleClick Certification ProgramsDoubleClick Certification Programs
DoubleClick Certification ProgramsHristo Hristov
 
I segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working Capital
I segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working CapitalI segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working Capital
I segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working CapitalCinzia Risaliti
 
Dispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV KumanovëDispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV KumanovëRamadan Ademi
 
Wycena wizerunku sportowca
Wycena wizerunku sportowcaWycena wizerunku sportowca
Wycena wizerunku sportowcaPracaSport.pl
 
Dr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gas
Dr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gasDr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gas
Dr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gasService Experience Camp
 
理性的设计 最新修订版 西乔
理性的设计 最新修订版 西乔理性的设计 最新修订版 西乔
理性的设计 最新修订版 西乔xi qiao
 
Godt innhold og gode konkurranser i sosiale medier
Godt innhold og gode konkurranser i sosiale medierGodt innhold og gode konkurranser i sosiale medier
Godt innhold og gode konkurranser i sosiale medierStale Lindblad
 
Romanian landscapes by Stefan Bela
Romanian landscapes by Stefan BelaRomanian landscapes by Stefan Bela
Romanian landscapes by Stefan BelaMakala D.
 

Viewers also liked (18)

North Texas MLS Sales Activity May 2012
North Texas MLS Sales Activity May 2012North Texas MLS Sales Activity May 2012
North Texas MLS Sales Activity May 2012
 
Allegheny valley school
Allegheny valley schoolAllegheny valley school
Allegheny valley school
 
Non-Profit Assignment: Step Inspire
Non-Profit Assignment: Step InspireNon-Profit Assignment: Step Inspire
Non-Profit Assignment: Step Inspire
 
T&T Catalogo Natale 2012
T&T Catalogo Natale 2012T&T Catalogo Natale 2012
T&T Catalogo Natale 2012
 
The story of the internet
The story of the internet The story of the internet
The story of the internet
 
News Flash June 2013
News Flash June 2013News Flash June 2013
News Flash June 2013
 
Dormitorios Natura-Cuomo
Dormitorios Natura-CuomoDormitorios Natura-Cuomo
Dormitorios Natura-Cuomo
 
LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016
LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016
LNG Industry Magazine (Logical Thinking) Feb 2016
 
Voeux 2016
Voeux 2016Voeux 2016
Voeux 2016
 
DoubleClick Certification Programs
DoubleClick Certification ProgramsDoubleClick Certification Programs
DoubleClick Certification Programs
 
Angklung kaamatan 2014 remake
Angklung kaamatan 2014 remakeAngklung kaamatan 2014 remake
Angklung kaamatan 2014 remake
 
I segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working Capital
I segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working CapitalI segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working Capital
I segreti di Twitter - ODG for Girl Geek Dinners Bologna @ Working Capital
 
Dispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV KumanovëDispenca e materialit semestri IV Kumanovë
Dispenca e materialit semestri IV Kumanovë
 
Wycena wizerunku sportowca
Wycena wizerunku sportowcaWycena wizerunku sportowca
Wycena wizerunku sportowca
 
Dr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gas
Dr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gasDr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gas
Dr. Kristina Rodig: How to touch electricity and gas
 
理性的设计 最新修订版 西乔
理性的设计 最新修订版 西乔理性的设计 最新修订版 西乔
理性的设计 最新修订版 西乔
 
Godt innhold og gode konkurranser i sosiale medier
Godt innhold og gode konkurranser i sosiale medierGodt innhold og gode konkurranser i sosiale medier
Godt innhold og gode konkurranser i sosiale medier
 
Romanian landscapes by Stefan Bela
Romanian landscapes by Stefan BelaRomanian landscapes by Stefan Bela
Romanian landscapes by Stefan Bela
 

Similar to ภารกิจระดับครูมือใหม่

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

Similar to ภารกิจระดับครูมือใหม่ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

ภารกิจระดับครูมือใหม่

  • 1.
  • 2.
  • 3. การออกแบบการสอน เป็นกระบวนการการออกแบบการ สอนเป็นการพัฒนาด้านการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ โดย การนำาทฤษฎี การเรียนรู้และการสอนมาใช้เพื่อประกันเกี่ยวกับ คุณภาพด้านการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ ทั้งหมดของการ วิเคราะห์ความต้องการของการเรียน เป้าหมายของการเรียนรู้ และ การพัฒนา ระบบการถ่ายทอดเพื่อให้ตอบสนองความต้องการดัง กล่าว การออกแบบการสอนจะรวมไปถึง การพัฒนาเกี่ยวกับสื่อ การเรียนการสอนตลอดจนกิจกรรมการเรียนการสอน การนำาไปใช้ และการประเมินผลทั้งด้านการสอนและเกี่ยวกับผูเรียนด้วย ้ กระบวนทัศน์ (Paradigm) หมายถึง วิธีคด วิธีปฏิบัติ วิธีให้ ิ คุณค่า ซึ่งตังอยู่บนฐานการมองโลกความจริง การปรับกระบวน ้ ทัศน์ จึงเป็นการปรับเปลี่ยนวิธการมอง วิธีคด วิธปฏิบัตเสียใหม่ ี ิ ี ิ เป็นการแหวกวงล้อมหรือกรอบการทำางาน ไปสู่ความเป็นเลิศและ ทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเปลียนแปลงบทบาทของครู จากผู้ ่ ถ่ายทอดมาเป็นผูจัดการเรียนรู้และกระตุนให้เกิดการเรียนรู้สามารถ ้ ้ เชื่อมโยงการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นเนือเดียวกันกับการประกัน ้ คุณภาพการศึกษา กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน คือ การปรับเปลี่ยน
  • 4. สิ่งใดเป็นพื้นฐานทีสำาคัญในการเปลียนกระบวนทัศน์ คือ ทางด้าน ่ ่ ทฤษฎีการเรียนรู้ และด้านเทคโนโลยี พื้นฐานทางด้านทฤษฎีการเรียนรู้ ได้แก่ - การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม - การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม - การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
  • 5. - พื้นฐานด้านเทคโนโลยี คือ นวัตกรรมสื่อการสอน(และเทคโนโลยีการศึกษา) เนื่องจากมี ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่าย และเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทำาให้นกการศึกษาพยายามนำา ั ศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ ้ สอนใหม่ๆ จำานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นก ลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสื่อทีใช้เพื่อสนับสนุนการฝึก ่ อบรม ตัวอย่าง นวัตกรรมสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา ได้แก่ - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction) - มัลติมีเดีย (Multimedia) - การประชุมทางไกล (Tele Conference) - วีดทัศน์แบบมีปฎิสัมพันธ์ (Interactive Media/Video) ี - บทเรียนสำาเร็จรูป (Programed Instruction) - เครื่องช่วยสอน(Teaching Machine) - วิทยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV)
  • 6.
  • 7. พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สำาคัญในการออกแบบ ได้แก่ การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มุ่งทีศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ่ หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาซึ่งจะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่ สามารถวัดและสังเกตจากภายนอกได้และเน้นความสำาคัญของสิ่ง แวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กำาหนดพฤติกรรมใน แนวคิดของกลุ่มนีจะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยง ้ ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองหรือการแสดงพฤติกรรมนิยมและถ้า หากได้รับการเสริมแรงจะทำาให้มีการแสดงพฤติกรรมนัน ถี่มากขึ้น ้ การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม นักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญานิยม เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่า ผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดยให้ความ สนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจ หรือการ รู้คิดของมนุษย์การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การ เปลี่ยนแปลงความรู้ของผูเรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ ้ คือ นอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งทีเรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัด ่
  • 8. การออกแบบการสอนแบบกลุ่มทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มีรากฐานความเชื่อมาจากการพัฒนาการ ทางด้านพุทธิปัญญา ที่ว่าความรู้เกิดจากประสบการณ์ และ กระบวนการในการสร้างความรู้ หรือเกิดจากการกระทำา โดยทีผู้่ เรียนสร้างเสริมความรู้ผานกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ครู ่ ผูสอนไม่สามารถปรับเปลียนโครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้ ้ ่ แต่สามารถช่วยให้ผเรียนปรับขยายโครงสร้างทางปัญญา โดยการ ู้ จัดสภาพการณ์ที่ทำาให้เกิดภาวะ เสียสมดุล หรือก่อให้เกิดความขัด แย้งทางปัญญาขึ้น ซึ่งก็คอสภาวะที่โครงสร้างทางปัญญาเดิมใช้ไม่ ื ได้ตองมีการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องประสบการณ์มากขึ้นหรือเกิด ้ โครงสร้างทางปัญญาใหม่นนเอง ั่
  • 9. พฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญา คอนสทรัคติ นิยม วิสต์ การเรียนรู้คือ การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่เกิด ของความรูที่ถูก ้ อย่างมีความมาย ขึน้ เก็บไว้ในหน่วย เกี่ยวกับรู้ที่สร้าง ความจำา กระบวนการเรียน Antecedent การใส่ใจ การเข้า การร่วมมือกันแก้ รู้คือ รหัส ปัญหา Behavior การเลือกกลับ Consequence ของสารสนเทศ ในหน่วยความจำา บทบาทของผู้ บริหารจัดการสิง ่ นำาเสนอ แนะนำาและให้รูป สอนคือ เร้าที่จะให้ผู้ สารสนเทศ แบบ นักเรียน บทบาทของผู้ รับสิงเร้าที่ครูจด ่ ั รอรับสารสนเทศ สร้างความรูอย่าง ้ เรียน ให้ ตื่นตัว
  • 10.
  • 11. กลุมทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ่ จุดเด่น คือ ครูบริหารจัดการสิ่งเร้าให้ผเรียน ครูมีการเสริมแรง ู้ เพื่อสร้างแรงกระตุ้นให้กบผูเรียน ั ้ จุดด้อย คือผูเรียนเป็นผูรอรับอย่างเดียว ไม่มีการค้นคว้าความรู้ ้ ้ ด้วยตนเอง ไม่มีการสร้างองค์ความรู้ดวยตนเอง ้ กลุมทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม ่ จุดเด่น คือผูเรียนสามารถจดจำาความรู้ใหม่ไว้ได้ในระยะยาว ผู้ ้ สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ผเรียนสามารถเก็บไว้ในหน่วย ู้ ความจำาในปริมาณมากๆ ผูเรียนสามารถจัดรวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่ ้ เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ และเชื่อมโยงกับความรู้เดิมได้ จุดด้อย คือ การรับข้อมูลในปริมาณทีมาก อาจทำาให้ ไม่สามารถ ่ จำาได้หมดในระยะเวลาที่จำากัด กลุมทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ ่ จุดเด่น คือ ผูเรียนเป็นผูสร้างองค์ความรู้ ทดลอง สำารวจ ค้น ้ ้ ค้นคว้า หาความรู้ด้วยตนเองโดยมีครูเป็นผูชี้แนะ และจัดสิ่ง ้ แวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ด้วยตัวผู้เรียนเอง จุดด้อย คือ ทฤษฎีนมาจากแนวคิดทีว่ามนุษย์มีเชาว์ปัญญาจึงจะ ี้ ่
  • 12.
  • 13. เป็นแนวการเรียนการสอนจากการยึดครูเป็นหลัก มาเป็นจัด ประสบการณ์ให้ผเรียนเรียนเอง และเปลี่ยนจากการใช้สื่อเพื่อ ู้ ช่วยครูสอน มาเป็นใช้สื่อการสอนเพื่อช่วยผูเรียนเรียนยึดทฤษฎี ้ กระบวนการกลุมมาใช้ในการจัดระบบการผลิตสื่อในรูปของ ชุด ่ การสอน ซึ่งจะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ เพราะ นักเรียนได้มีการเรียนรู้ด้วยตนเอง
  • 14. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง วิธีการเรียนการสอน ทีใช้่ บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ซึ่ง ออกแบบไว้ เพื่อนำาเสนอบท เรียนแทนผู้สอน และผูเรียน สามารถ เรียนได้ด้วยตนเอง ตาม ้ ลำาดับขั้นตอน การเรียนรู้ อย่างเป็นระบบ โดยมีการปฏิสัมพันธ์ (Interactive) ระหว่างผูเรียนกับ คอมพิวเตอร์ และผู้เรียนจะได้รับ ้ ข้อมูลย้อนกลับทันที ซึ่งจะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มคอนสตรัคติวิสต์ เพราะนักเรียนได้มีการเรียนรู้ดวยตนเอง ้
  • 15. เป็นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผเรียนลงมือกระทำาในการสร้าง ู้ ความรู้ หรือเรียกว่า Actively construct มิใช่ Passive receive ที่ เป็นการรับข้อมูล หรือสารสนเทศ และพยายามจดจำาเท่านัน เน้น ้ ให้ผเรียนได้เรียนรู้ ทำาความเข้าใจและสร้างความรู้ขึ้นมาด้วยตัว ู้ เอง ในบริบทของแต่ละคน ภายใต้การออกแบบ การจัดกระทำา และการสนับสนุน ช่วยเหลือของครูผสอน ทั้งยัง เน้นให้มีการเรียน ู้ รู้แบบร่วมมือ คือ ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้และร่วมกันแก้ไขปัญหา เป็นกลุม ซึ่งจะทำาให้เกิดการช่วยเหลือ การแลกเปลี่ยนมุมมองที่ ่ หลากหลายและฝึกการแสดงความเห็นและการยอมรับความคิด เห็นจากผูอื่นด้วย จะจำาแนกตามทฤษฎีกลุมคอนสตรัคติวิสต์ ้ ่
  • 16. การจัดระบบการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผเรียนู้ ประกอบกิจกรรมการเรียนด้วยตนเองตามเนือหา ซึ่งจัดไว้เป็นขั้น ้ ตอนเล็ก ๆ ผูเรียนมีโอกาสประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วย ้ การดูจากผลสะท้อนกลับอยู่เสมอ และบางครั้งก็อาจจะได้รับความรู้ เพิ่มเติมในเนือหาที่นกเรียนยังมีความรู้ไม่ดพอ ผูเรียนจะเลือกเรียน ้ ั ี ้ ได้ตาม ความสนใจ และก้าวไปตามความสามารถของแต่ละคน จะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม เพราะเป็นการเรียนรู้ที่ผู้ เรียนโต้ตอบกันเอง โดยไม่มีครูมาเกียวข้อง ่
  • 17. การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการ สอนทีได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและ ่ ทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่ง เสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการ หรือนำามาใช้เป็นเพียงส่วน หนึงของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการ ่ เรียนการสอนทางด้านสถานทีและเวลาอีกด้วย จะจำาแนกตาม ่ ทฤษฎีกลุมคอนสตรัคติวิสต์ เพราะผูเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วย ่ ้ ตนเองไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ที่มีเครือข่าย
  • 18. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำาหรับผูเรียนตั้งแต่สองคนขึ้นไป ้ หรือโดยการแบ่งผูเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยๆ ส่งเสริมให้ผเรียนทำา ้ ู้ กิจกรรมร่วมกัน โดยในกลุมประกอบด้วยสมาชิกที่มีความสามารถ ่ แตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพา กัน มีความรับผิดชอบร่วมกัน ทังในส่วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ ้ ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุมประสบความสำาเร็จตามเป้าหมายที่ ่ กำาหนด ซึ่งตรงข้ามกับการเรียนที่เน้นการแข่งขันและการเรียนตาม ลำาพัง เป็นการเรียนที่จะจำาแนกตามทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม