SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
Buddhist Meditation iv
บรรยายโดย
พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร
น.ธ.เอก, ป.ธ.๘, พธ.บ. (อังกฤษ),
พธ.ม. (บาลี), พธ.ด. (พระพุทธ
ศาสนา)
บทที่ ๑
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
วัตถุประสงค์
๑. บอกหลักการปฏิบัติจิตตานุปัส
สนาสติปัฏฐานได้
๒. บอกวิธีการปฏิบัติจิตตานุปัสสนา
สติปัฏฐานได้
๓. จำาแนกรายละเอียดในจิตตานุปัส
สนาสติปัฏฐานได้
ขอบข่ายเนื้อหา
ความนำา
หลักการและวิธีการปฏิบัติจิต
ตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
รายละเอียดในจิตตานุปัสสนา
สติปัฏฐาน
การปฏิบัติจิตตานุปัสสนาสติปัฏ
ความนำา
พระพุทธพจน์ที่เกี่ยวข้อง

สุทุทฺทสำ สุนิปุณำ ยตฺถกามนิปา
ตินำ.
จิตฺตำ รกฺเขถ เมธาวี จิตฺตำ คุตฺตำ
สุขาวหำ.
ผู้มีปัญญาควรรักษาจิต ที่เห็นได้
ยากยิ่ง ละเอียดยิ่ง ชอบใฝ่หาแต่
อารมณ์ที่ปรารถนา
ทูรงฺคมำ เอกจรำ อสรีรำ คุหาสยำ.
เย จิตฺตำ สำยเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺ
ติ มารพนฺธนา.
คนเหล่าใดสำารวมจิต ที่เที่ยวไป
ไกล เที่ยวไปดวงเดียว
ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถำ้า คน
เหล่านั้นจักพ้นจากเครื่องผูกแห่ง
จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺ
ขา
เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็น
อันหวังได้
จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺ
ขา
ทิโส ทิสํ ยํ ตํ กยิรา เวรี วา ปน เวริ
นํ.
มิจฺฉาปณิหิตํ จิตฺตํ ปาปิโย นํ ตโต
กเร.
จิตที่ตั้งไว้ผิดพึงทําให้ได้รับความ
เสียหาย
ยิ่งกว่าความเสียหายที่โจรเห็นโจร
หลักการและวิธีการปฏิบัติจิต
ตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๑) หลักการ
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานจัดเป็น
อริยสัจ ๔ ได้ดังนี้
สติ กําหนดจิต เป็น ทุกขสัจ
ตัณหาก่อนๆ ที่ให้จิตเกิดขึ้น เป็น
สมุทัยสัจ
ความไม่เป็นแห่งสัจจะทั้ง ๒ เป็น
นิโรธสัจ
อริยมรรคกําหนดรู้ทุกข์ ละสมุทัย
จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
เป็นการปฏิบัติวิปัสสนา
กรรมฐาน โดยการกําหนดรู้
อาการที่ปรากฏทางจิตอย่าง
หนึ่งในบรรดาอาการของจิตที่
ปรากฏอยู่ จิต มโน หรือ
วิญญาณ เป็นนาม
วิธีการปฏิบัติ
พระบาลีในสติปัฏฐานสูตร
พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ มี
ความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ
กําจัดอภิชฌาและโทมนัสใน
โลกได้
นับลําดับการพิจารณาเห็นจิต
ในจิต จะมี ๑๖ ขั้น ดังนี้
การพิจารณาจิต ๑๖ ขั้น
๑. จิตมีราคะ ก็รู้ชัดว่า จิต
มีราคะ
๒. จิตปราศจากราคะ ก็รู้ชัดว่า
จิตปราศสจากราคะ
๓. จิตมีโทสะ ก็รู้ชัดว่า จิต
มีโทสะ
๔. จิตปราศจากโทสะ ก็รู้ชัดว่า
๖. จิตปราศจากโมหะ ก็รู้ชัดว่า
จิตปราศจากโมหะ
๗. จิตหดหู่ ก็รู้ชัดว่า จิต
หดหู่
๘. จิตฟุ้งซ่าน ก็รู้ชัดว่า จิต
ฟุ้งซ่าน
๑๑. จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ชัด
ว่า จิตมีจิตอื่นยิ่งกว่า
๑๒. จิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ก็รู้ชัดว่า
จิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า
๑๓. จิตเป็นสมาธิ ก็รู้ชัดว่า จิต
เป็นสมาธิ
๑๔. จิตไม่เป็นสมาธิ ก็รู้ชัดว่า
วิธีการกำาหนดจิตพิจารณาจิต
ที่มีราคะและไม่มีราคะ
ราคะ หมายถึง ความกำาหนัด
ความยินดีเกี่ยวกับเรื่องเพศ แต่
ในที่นี้หมายถึงความยินดีพอใจ
ในสิ่งที่มาปรากฏทางทวารทั้ง
๖ นักปฏิบัติพึงตามรู้เท่าทันจิต
โดยกำาหนดว่า
 “ ” “ ”ชอบหนอๆๆ โลภหนอๆๆ
ให้กำาหนดไปจนกว่า อาการ
ของจิตนั้นๆ สงบลง เมื่อจิตสงบ
จากความกำาหนัดนั้น ให้
“ ”กำาหนดว่า รู้หนอ จิตที่สงบ
จากราคะ เรียกว่า จิต
ปราศจากราคะ

วิธีการกำาหนดพิจารณาจิตที่มี
โทสะและไม่มีโทสะ
จิตที่หงุดหงิด ไม่พอใจ โกรธ
อาฆาต หรือปองร้าย ชื่อว่า
“ ”จิตที่มีโทสะ เมื่อรู้ว่าจิตมี
อาการเหล่านี้ให้กำาหนดว่า
“ ”โกรธหนอๆ ๆ จนกว่าจิตจะ
สงบ เมื่อจิตสงบแล้วให้กำาหนด
“ ”ว่า รู้หนอๆ ๆ จิตที่สงบจาก
วิธีการกำาหนดพิจารณาจิตที่มี
โมหะและไม่มีโมหะ
จิตที่ประกอบด้วยความสงสัย
และจิตที่ประกอบด้วยความ
“ ”ฟุ้งซ่าน ชื่อว่า จิตที่มีโมหะ
ตั้งสติตามรู้จิตที่สงสัยด้วยการ
“ ”กำาหนดว่า สงสัยหนอๆ ๆ
หรือตามรู้จิตที่ฟุ้งซ่านด้วยการ
“ ”กำาหนดว่า ฟุ้งซ่านหนอๆ ๆ
“ ”หรือ คิดหนอๆ ๆ จนกว่าจิต
วิธีการกำาหนดพิจารณาจิต
หดหู่และจิตฟุ้งซ่าน
 “จิตที่หดหู่เซื่องซึม ชื่อว่า สังขิ
” “ตตจิต ให้กำาหนดว่า ง่วง
”หนอๆ ๆ หรือกำาหนดตาม
“อาการของจิตว่า หดหู่หนอๆ
”ๆ
 “จิตที่ซัดส่ายฟุ้งซ่าน ชื่อว่า วิก
” “ขิตตจิต ให้กำาหนดว่า ฟุ้ง
วิธีการกำาหนดพิจารณา
มหัคคตจิต

More Related Content

What's hot

บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 

What's hot (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 

Viewers also liked

ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้นbmcweb072
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์Prachyanun Nilsook
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 

Viewers also liked (11)

ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
!Ppt แนะนำวิธีนั่งสมาธิเบื้องต้น
 
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง13 ฝึกสมาธิ  ยืน เดิน นั่ง
13 ฝึกสมาธิ ยืน เดิน นั่ง
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
การเลือกหัวข้อเรื่องและขั้นตอนวิทยานิพนธ์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 

Similar to ๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔

หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยblcdhamma
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาเตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 

Similar to ๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔ (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อยBlc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
Blc 40หัวข้อเรื่องธรรมะบทเทศน์สอนใช้บ่อย
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาบทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่บทที่ ๕ สรุปใหม่
บทที่ ๕ สรุปใหม่
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
แนวข้อสอบของนิสิต (อภิธรรมปิฎก)
 
จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์จิตปรมัตถ์
จิตปรมัตถ์
 

๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔