SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
นักคิดในกลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทาต่าง
ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
(stimulus response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่ม
พฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ ”พฤติกรรม” มากเพราะ พฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและ
ทดสอบได้ ทฤษฏีการเรียนรู้ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยแนวคิดสาคัญๆ 3 แนวด้วยกัน
Ivan Petrovich Pavlov
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning) ของพาฟลอฟ ได้ทาการทดลองให้สุนัขน้าลายไหลด้วยเสียงกระดิ่ง โดยธรรมชาติแล้ว
สุนัขจะไม่มีน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่พาฟลอฟได้นาเอาผงเนื้อบดมาเป็นสิ่งเร้าคู่กับเสียงกระดิ่ง ผงเนื้อบดถือว่าเป็นสิ่งเร้าตามธรรมชาติ (unconditioned
stimulus) ทาให้สุนัขน้าลายไหลได้เขาใช้สิ่งเร้าทั้งสองคู่กันหลาย ๆ ครั้ง แล้วตัดสิ่งเร้าตามธรรมชาติออกเหลือแต่เสียงกระดิ่ง ซึ่งเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข ปรากฏว่า
สุนัขน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่งอย่างเดียว สรุปได้ว่าการเรียนรู้ของสุนัขเกิดจากการรู้จักเชื่อมโยงระหว่างเสียงกระดิ่ง ผงเนื้อบดและพฤติกรรมน้าลายไหล
พาฟลอฟจึงสรุปว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (conditioned stimulus)
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.การนาความต้องการทางธรรมชาติของครูผู้สอนมาใช้เป็นสิ่งเร้า สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี ตัวอย่างเช่น ถ้าเด็กชอบเล่นตุ๊กตาสัตว์ ครูควรสอนให้เด็กอ่าน
และเขียนชื่อสัตว์ต่าง ๆ โดยให้ตุ๊กตาสัตว์เป็นรางวัล
2.การสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องใด อาจใช้วิธีเสนอสิ่งที่จะสอนไปพร้อม ๆ กัน กับสิ่งเร้าที่ผู้เรียนชอบตามธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น ครูรู้ว่าเด็กชอบฟังนิทาน ครูจึงให้
เด็กเขียนคาศัพท์ที่ใช้ในนิทานไปพร้อม ๆ กันกับการเล่านิทาน
3.การนาเรื่องที่เคยสอนไปแล้วมาสอนใหม่ สามารถช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามที่ต้องการได้
4.การจัดกิจกรรมการเรียนให้ต่อเนื่องและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น เพราะมีการถ่ายโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่
5.การเสนอสิ่งเร้าให้ชัดเจนในการสอน จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และตอบสนองได้ชัดเจนขึ้น
6.หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมใด ควรมีการใช้สิ่งเร้าหลายแบบ แต่ต้องมีสิ่งเร้าที่มีการตอบสนองโดยไม่มีเงื่อนไขควบคู่อยู่ด้วย เช่น ถ้าครูต้องการให้ผู้เรียนเข้า
ห้องเรียนตรงเวลาและครูรู้ว่าผู้เรียนต้องการรู้คะแนนสอบของตน ครูอาจตั้งเงื่อนไขว่าจะมีการบอกคะแนนสอบก่อนเรียนหรือจะมีการสอบย่อยเรื่องที่เรียนไปแล้วในตอนต้น
ชั่วโมงทุกครั้ง ผู้เรียนจะตอบสนองโดยเข้าเรียนตรงเวลา แต่เงื่อนไขนี้ครูต้องทาอย่างสม่าเสมอและมีเหตุผล ถ้าไม่ทาสม่าเสมอ อาจเกิดการลดภาวะได้คือ พฤติกรรมการเข้า
เรียนตรงเวลาอาจลดลง อย่างไรก็ตาม ตามกฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ พฤติกรรมการการเข้าเรียนตรงเวลาอาจลดลง สามารถเกิดขึ้นได้อีก นอกจากนั้นตามกฎแห่งการถ่าย
โยงการเรียนรู้พฤติกรรมตอบสนองคือการเข้าเรียนตรงเวลา สามารถถ่ายโยงไปสู่สถานการณ์อื่นได้ เช่น ผู้เรียนอาจเข้าเรียนในวิชาอื่นที่ครูผู้นี้สอนด้วยก็ได้
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน(Watson) วัตสัน (Watson) ได้ทาการทดลองโดยให้
เด็กคนหนึ่งเล่นกับหนูขาว ก็ทาเสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้หลังจากนั้นเด็กก็จะกลัวและร้องไห้
เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมาทดลองให้นาหนูขาวมาให้เด็กดู โดยแม่จะกอดเด็กไว้จากนั้นเด็กก็จะค่อยๆ
หายกลัวหนูขาว
John B. Watson
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1.ในการสร้างพฤติกรรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้เกิดขึ้นในผู้เรียนควรพิจารณาสิ่งจูงใจหรือสิ่งเร้าที่เหมาะสมกับภูมิหลังและความต้องการ
ของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้าควบคู่ไปกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเช่น ถ้าต้องการให้เด็กตอบคาถามครู ครูควรตั้งคาถามให้เด็กตอบโดยแสดง
ท่าทางที่ให้ความอบอุ่นและให้กาลังใจแก่เด็ก จะทาให้เด็กเกิดความมั่นใจในการตอบคาถามและถ้าครูใช้วิธีการนี้ซ้าๆอย่างสม่าเสมอ เด็ก
จะเกิดการเรียนรู้และมีความคงทนในการแสดงพฤติกรม
2. การลบพฤติกรรรมที่ไม่พึงปรารถนา สามารถทาได้โดยหาสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไขมาช่วย เช่น หากผู้เรียนไม่ชอบทา
การบ้านคณิตศาสตร์ครูอาจใช้ความเป็นมิตร เป็นกันเอง ให้ความดูแล เอาใจใส่และให้ความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดสิ่งเร้าเหล่านี้ตาม
ธรรมชาติเหล่านี้สามารถช่วยเปลี่ยนพฤติกรรรมได้
ทฤษฎีการเชื่อมโยง (ClassicalConnectionism)ของธอร์นไดค์(Thorndike) มีความเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจาการเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆจนกว่าจะพบรูปแบบการ
ตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการเรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบ
เดียว และจะพยายามใช้รูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงเน้นที่การเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนแบบลองผิดลองถูกบ้าง มีการสารวจความพร้อมของผู้เรียนซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องกระทาก่อนการสอน
บทเรียน เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้วครูควรฝึกให้ผู้เรียนฝึกการนาการเรียนรู้นั้นไปใช้บ่อยๆ การศึกษาว่าสิ่งใดเป็นสิ่งเร้าหรือรางวัล
ที่ผู้เรียนพึงพอใจจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
Edward L Thorndike
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
1) การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนแบบลองผิดลองถูกบ้าง (เมื่อพิจารณาแล้วว่าไม่ถึงกับเสียเวลามากเกินไปและไม่เป็นอันตราย)จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในวิธีการ
แก้ปัญหา จดจาการเรียนรู้ได้ดีละเกิดความภาคภูมิใจในการกระทาสิ่ง ต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2) การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องกระทาก่อนการสอนบทเรียน เช่น การสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเรียน
การเชื่อมโยงความรู้เดิมมาสู่ความรู้ใหม่ การสารวจความรู้ใหม่ การสารวจความรู้พื้นฐานเพื่อดูว่าผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนบทเรียนต่อไปหรือไม่
3) หากต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะในเรื่องใดจะต้องช่วยให้เขาเกิดความเข้าใจในเรื่องนั้นอย่างแท้จริงแล้วให้ฝึกฝนโดยกระทาสิ่งนั้นบ่อย ๆ แต่ควรระวังอย่าให้ถึงกับซ้าซากจะ
ทาให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย
4) เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้วควรให้ผู้เรียนฝึกการนาการเรียนรู้นั้นไปใช้บ่อย ๆ
5) การให้ผู้เรียนได้รับผลที่ตนพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบผลสาเร็จ การศึกษาว่าสิ่งใดเป็นสิ่งเร้าหรือรางวัลที่ผู้เรียนพึงพอใจจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้
ข้อเด่น ข้อจากัด
ข้อเด่น คือ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม มีข้อเด่นในด้านการให้ความสาคัญกับพฤติกรรม มีมุมมองต่อ
ธรรมชาติมนุษย์ในลักษณะเป็นกลางไม่ดี หรือเลว
ข้อจากัด คือ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม มีข้อจากัดเรื่อง
การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย
• การฝึกให้ผู้เรียนมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า ให้เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์เรียนรู้ และสามารถนาความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธนิยม
(Cognitivism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด การเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่อง
ของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่ง
ไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ
ความสัมพันธ์ของข้อมูล และการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็น
กระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง มนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่
ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง
ทฤษฎีเกสตัลท์ (GestaltTheory) นักจิตวิทยาคนสาคัญของทฤษฎีนี้คือ แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์(Max Wertheimer) วุล์แกงค์ โคห์
เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคริ์ท คอฟฟ์ กา (Kurt Koffka) และเคริ์ท เลวิน (Kurt Lewin)
หลักการจัดการศึกษา / การสอน
1) กระบวนการคิดเป็นกระบวนการสาคัญในการเรียนรู้ การส่งเสริมกระบวนการคิดจึงเป็นสิ่งจาเป็นและเป็นสิ่งสาคัญในการช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้
2) การสอนโดยการเสนอภาพรวมให้ผู้เรียนเห็นและเข้าใจก่อนการเสนอส่วนย่อยจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
3) การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาและคิดริเริ่มได้มากขึ้น
4) การจัดประสบการณ์ใหม่ ให้มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายขึ้น
5) การจัดระเบียบสิ่งเร้าที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี คือ การจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน
6) ในการสอน ครูไม่จาเป็นต้องเสียเวลาเสนอเนื้อหาทั้งหมดที่สมบูรณ์ ครูสามรรถเสนอเนื้อหาแต่เพียงบางส่วนได้หากผู้เรียนสามารถใช้
ประสบการณ์เดิมมาเติมให้สมบูรณ์
7) การเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาควรจัดให้มีความต่อเนื่องกันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และรวดเร็ว
8) การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบหยั่งเห็นได้มากขึ้น
ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญ คือ เคริ์ท เลวินซึ่งได้แยกตัวจากกลุ่มทฤษฎีเกสตัลท์
ในระยะหลัง
หลักการจัดการศึกษา / การสอน
1) การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จาเป็นต้องอาศัยการทาความเข้าใจ “โลก” ของผู้เรียนว่า ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายและความต้องการอะไรอะไร
เป็นพลัง + และอะไรเป็นพลัง- ของเขา และพยายามจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่จะช่วยให้ผู้เรียนไปสู่จุดหมาย
2) การจัดการเรียนรู้ให้เข้าไปอยู่ใน “โลก” ของผู้เรียน โดยการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและจิตวิทยาให้ดึงดูดความสนใจและสนองความ
ต้องการของผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน
3) การสร้างแรงจูงใจ และ/หรือแรงขับที่จะทาให้ผู้เรียนไปสู่ทิศทางหรือจุดหมายที่ต้องการเป็นสิ่งที่จาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman)
หลักการจัดการศึกษา / การสอน
1) การสร้างแรงขับ และ/หรือแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนจะกระตุ้นให้ผู้เรียนพยายามไปให้ถึงจุดมุ่งหมายที่ต้องการ
2)ในการสอนให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายใด ๆ นั้น ครูควรให้เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่เป็นเครื่องชี้ทาง
ควบคู่ไปด้วย
3) การปรับเปลี่ยนสถานการณ์การเรียนรู้ สามารถช่วยให้ผู้เรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนได้
4) การเรียนรู้บางอย่างอาจยังไม่สามารถแสดงออกได้ในทันที การใช้วิธีการทดสอบหลาย ๆ วิธี ทดสอบบ่อย ๆ หรือ
ติดตามผลระยะยาว จึงเป็นสิ่งจาเป็นในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในลักษณะนี้
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Inlellectual Development Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญคือ เพีย
เจต์ (Piaget) และบรุนเนอร์ (Bruner)
หลักการจัดการศึกษา / การสอน
1) ในการพัฒนาเด็ก ควรคานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก และจัดประสบการณ์ให้เด็กอย่างเหมาะสม
กับพัฒนาการนั้น ไม่ควรบังคับให้เด็กเรียนในสิ่งที่ยังไม่พร้อม หรือยากเกินพัฒนาการตามวัยของตน เพราะ
จะก่อให้เกิดเจตคติที่ไม่ดีได้
2) การให้ความสนใจและสังเกตเด็กอย่างใกล้ชิด จะช่วยให้ได้ทราบลักษณะเฉพาะตัวของเด็ก
3) ในการสอนเด็กเล็ก ๆ เด็กจะรับรู้ส่วนรวม (Whole) ได้ดีกว่าส่วนย่อย (part) ดังนั้น ครูจึงควรสอนภาพรวม
ก่อนแล้วจึงแยกสอนทีละส่วน
4) ในการสอนสิ่งใดให้กับเด็ก ควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์มาก่อนแล้วจึงเสนอสิ่งใหม่ที่มี
ความสัมพันธ์กับสิ่งเก่า การทาเช่นนี้จะช่วยให้กระบวนการซึมซับและจัดระบบความรู้ของเด็กเป็นไปด้วยดี
5) การเปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมาก ๆ ช่วยให้เด็กดูดซึมข้อมูล
เข้าสู่โครงสร้างทางสติปัญญาของเด็กอันเป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย( A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล (Ausubel)
เดวิด ออซูเบล เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน
(Asubel,1963:77-97)
ทฤษฎีของออซูเบล เน้นความสาคัญของการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจและมีความหมาย การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้รวม หรือเชื่อมโยง
(Subsume) สิ่งที่เรียนรู้ใหม่ซึ่งอาจจะเป็นความคิดรวบยอด Concept หรือความรู้ที่ได้รับใหม่ในโครงสร้างทางสติปัญญา (Cogmitive Sttructure)
กับความรู้เดิมที่อยู่ในสมองผู้เรียนอยู่แล้ว ทฤษฎีของออซูเบล บางครั้งเรียกว่า Subsumption Theory
ออซูเบล บ่งว่า ผู้เรียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารด้วยการรับหรือการค้นพบและวิธีที่เรียนอาจจะเป็นการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจอย่างมีความหมาย
หรือเป็นการเรียนรู้โดยการท่องจาโดยไม่คิด ออซูเบล จึงแบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้
1. การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย (Meaningful Reception Leaning)
2. การเรียนรู้โดยการรับแบบท่องจาโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Reception Leaning)
3. การเรียนรู้โดยการค้นพบแบบท่องจาโดยไม่คิด หรือแบบนกแก้วนกขุนทอง(Meaningful Discovery Leaning)
4. การเรียนรุ้โดยการค้นพบแบบท่องจาโดยไม่คิด หรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Discovery Leaning)
ข้อเด่น ข้อจากัด
• ข้อเด่น คือ การเน้นกระบวนการทางปัญญา หรือความคิด ซึ่งฝึกให้ผู้เรียนเกิดการคิด วิเคราะห์อย่างมี
รูปแบบ
• ข้อจากัด คือ มนุษย์ไม่เกิดกระบวนการเรียนรู้สิ่งเร้าเพียงเท่านั้น แต่ตามหลักทฤษฎีพุทธนิยมจะเน้น
กระบวนการคิดให้ฝึกคิดเองมากกว่า
การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย
สามารถนาไปใช้ในการสอนวิชาภาษาไทยได้ คือ การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักการคิด และการวิเคราะห์
เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนที่เกิดจากการะบวนการคิดของผู้เรียนเอง
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม (Constructivist learning theory
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivist learning theory) ซึ่งมีแนวคิดที่สอดคล้อง
กับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มากที่สุด ซึ่งในกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้น เมื่อผู้เรียนได้
สร้างความรู้ที่เป็นของตนเองขึ้นมา จากความรู้ที่มีอยู่เดิมหรือจากความรู้ที่รับเข้ามาใหม่ จากแนวคิดดังกล่าว
จึงนาไปสู่การปรับเปลี่ยนวิธีเรียน วิธีสอน แนวใหม่ ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 ครูไม่ใช่ผู้จัดการทุกสิ่งทุกอย่าง
ผู้เรียนต้องได้ลงมือปฏิบัติเอง สร้างความรู้ ที่เกิดจากความเข้าใจของตนเอง และมีส่วนร่วมในการเรียนมากขึ้น
(Active learning) รูปแบบการเรียนรู้ ที่เกิดจากแนวคิดนี้ มีอยู่หลายรูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้แบบร่วมมือ
(Cooperative learning) การเรียนรู้แบบช่วยเหลือกัน (Collaborative learning) การเรียนรู้โดยการค้นคว้าอย่าง
อิสระ (Independent investigation method) รวมทั้ง การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based
learning)
ทฤษฎีสร้างสรรค์นิยม (Constructivist Learning
Theory) เกิดจากการทางานและการค้นพบของ เพียเจต์ ที่
เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมจะมีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อม และพร้อมที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมให้เข้า
กับประสบการณ์ใหม่ จนเกิดการเรียนรู้และ เกิดการพัฒนาทาง
สติปัญญา เมื่อประสบกับปัญหาบุคคลจะพยายามปรับตัวให้
อยู่ในสภาวะสมดุล ด้วยกระบวนการ 2 ประการคือ การจัดและ
รวบรวม (Oganization) และ การปรับตัว
(Adaptation) ซึ่งพัฒนาการทางสติปัญญาของคนมี
ลักษณะแตกต่างกันตามช่วงอายุที่แตกต่างกัน เป็นการพัฒนา
อย่างต่อเนื่องตามลาดับขั้น ผู้เรียนในวัยช่วงชั้นที่ 3 (อายุ 12 ปี
ขึ้นไป) มีพัฒนาการเริ่มเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และมีความสามารถคิด
หาเหตุผลในเชิงนามธรรมได้
ข้อเด่น ข้อจากัด
• ข้อเด่น คือ การที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้โดยตัวเอง สร้างความรู้จากประสบการณ์ของตนที่เรียนรู้มา
• ข้อจากัด คือ ผู้สอนไม่สามารถถ่ายทอดเนื้อหาให้กับผู้เรียนได้โดยตรง อาจทาให้เนื้อหาที่ได้รับไม่สมบูรณ์
การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย
• หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสร้างสรรค์นิยม เป็นการฝึกให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นของตนเองจึง
เหมาะกับเนื้อหาวิชาภาษาไทยในด้านการใช้ทักษะในเรื่องของการวิเคราะห์ ตีความ วิจารณ์ตามความคิด
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวพัชรีวรรณ จินาเพศ 042
นายภานุวัฒน์ เจริญยศ 047
นางสาวเมษา ลิ้มสุวรรณเกสร 059
นางสาวศิวพร โพประยูร 063

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Pimpika Jinak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Maesinee Fuguro
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
name_bwn
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
Khorkhuad Jakkritch
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
Isaiah Thuesayom
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Pattarawadee Dangkrajang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Kanny Redcolor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Thunyalak Thumphila
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
Tum'Tim Chanjira
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Bay Phitsacha Kanjanawiwin
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
Ratchada Rattanapitak
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้Pimpichcha Thammawonng
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
Eye E'mon Rattanasiha
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
TupPee Zhouyongfang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
Pop Punkum
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมEye E'mon Rattanasiha
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญาทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
พฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยมพฤติกรรมนิยม
พฤติกรรมนิยม
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 

Viewers also liked

201704 aect standards_44
201704 aect standards_44201704 aect standards_44
201704 aect standards_44
Isaiah Thuesayom
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
earlychildhood024057
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
6Phepho
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
คน ขี้เล่า
 

Viewers also liked (6)

201704 aect standards_44
201704 aect standards_44201704 aect standards_44
201704 aect standards_44
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theoryทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์-gestalts-theory
 
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivismทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง constructivism
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้

นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
juthamat fuangfoo
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
Ptato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
Ptato Ok
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา PresentKobchai Khamboonruang
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
Kanchana Changkor
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอนSarawut Tikummul
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 

Similar to ทฤษฎีการเรียนรู้ (20)

นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015นวัตกรรม 21022015
นวัตกรรม 21022015
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Presentบทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
บทนำเกี่ยวกับจิตวิทยา Present
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (theory of learning)
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 

ทฤษฎีการเรียนรู้

  • 2. นักคิดในกลุ่มนี้มองธรรมชาติของมนุษย์ ในลักษณะที่เป็นกลาง คือ ไม่ดี – ไม่เลว การกระทาต่าง ของมนุษย์เกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม ภายนอก พฤติกรรมของมนุษย์เกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (stimulus response) การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง กลุ่ม พฤติกรรมนิยมให้ความสนใจกับ ”พฤติกรรม” มากเพราะ พฤติกรรมเป็นสิ่งที่เห็นได้ชัด สามารถวัดและ ทดสอบได้ ทฤษฏีการเรียนรู้ในกลุ่มนี้ ประกอบด้วยแนวคิดสาคัญๆ 3 แนวด้วยกัน
  • 3. Ivan Petrovich Pavlov ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning) ของพาฟลอฟ ได้ทาการทดลองให้สุนัขน้าลายไหลด้วยเสียงกระดิ่ง โดยธรรมชาติแล้ว สุนัขจะไม่มีน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่พาฟลอฟได้นาเอาผงเนื้อบดมาเป็นสิ่งเร้าคู่กับเสียงกระดิ่ง ผงเนื้อบดถือว่าเป็นสิ่งเร้าตามธรรมชาติ (unconditioned stimulus) ทาให้สุนัขน้าลายไหลได้เขาใช้สิ่งเร้าทั้งสองคู่กันหลาย ๆ ครั้ง แล้วตัดสิ่งเร้าตามธรรมชาติออกเหลือแต่เสียงกระดิ่ง ซึ่งเป็นสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข ปรากฏว่า สุนัขน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่งอย่างเดียว สรุปได้ว่าการเรียนรู้ของสุนัขเกิดจากการรู้จักเชื่อมโยงระหว่างเสียงกระดิ่ง ผงเนื้อบดและพฤติกรรมน้าลายไหล พาฟลอฟจึงสรุปว่าการเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (conditioned stimulus) หลักการจัดการศึกษา/การสอน 1.การนาความต้องการทางธรรมชาติของครูผู้สอนมาใช้เป็นสิ่งเร้า สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี ตัวอย่างเช่น ถ้าเด็กชอบเล่นตุ๊กตาสัตว์ ครูควรสอนให้เด็กอ่าน และเขียนชื่อสัตว์ต่าง ๆ โดยให้ตุ๊กตาสัตว์เป็นรางวัล 2.การสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องใด อาจใช้วิธีเสนอสิ่งที่จะสอนไปพร้อม ๆ กัน กับสิ่งเร้าที่ผู้เรียนชอบตามธรรมชาติ ตัวอย่างเช่น ครูรู้ว่าเด็กชอบฟังนิทาน ครูจึงให้ เด็กเขียนคาศัพท์ที่ใช้ในนิทานไปพร้อม ๆ กันกับการเล่านิทาน 3.การนาเรื่องที่เคยสอนไปแล้วมาสอนใหม่ สามารถช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามที่ต้องการได้ 4.การจัดกิจกรรมการเรียนให้ต่อเนื่องและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น เพราะมีการถ่ายโยงประสบการณ์เดิมกับประสบการณ์ใหม่ 5.การเสนอสิ่งเร้าให้ชัดเจนในการสอน จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และตอบสนองได้ชัดเจนขึ้น 6.หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมใด ควรมีการใช้สิ่งเร้าหลายแบบ แต่ต้องมีสิ่งเร้าที่มีการตอบสนองโดยไม่มีเงื่อนไขควบคู่อยู่ด้วย เช่น ถ้าครูต้องการให้ผู้เรียนเข้า ห้องเรียนตรงเวลาและครูรู้ว่าผู้เรียนต้องการรู้คะแนนสอบของตน ครูอาจตั้งเงื่อนไขว่าจะมีการบอกคะแนนสอบก่อนเรียนหรือจะมีการสอบย่อยเรื่องที่เรียนไปแล้วในตอนต้น ชั่วโมงทุกครั้ง ผู้เรียนจะตอบสนองโดยเข้าเรียนตรงเวลา แต่เงื่อนไขนี้ครูต้องทาอย่างสม่าเสมอและมีเหตุผล ถ้าไม่ทาสม่าเสมอ อาจเกิดการลดภาวะได้คือ พฤติกรรมการเข้า เรียนตรงเวลาอาจลดลง อย่างไรก็ตาม ตามกฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ พฤติกรรมการการเข้าเรียนตรงเวลาอาจลดลง สามารถเกิดขึ้นได้อีก นอกจากนั้นตามกฎแห่งการถ่าย โยงการเรียนรู้พฤติกรรมตอบสนองคือการเข้าเรียนตรงเวลา สามารถถ่ายโยงไปสู่สถานการณ์อื่นได้ เช่น ผู้เรียนอาจเข้าเรียนในวิชาอื่นที่ครูผู้นี้สอนด้วยก็ได้
  • 4. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน(Watson) วัตสัน (Watson) ได้ทาการทดลองโดยให้ เด็กคนหนึ่งเล่นกับหนูขาว ก็ทาเสียงดังจนเด็กตกใจร้องไห้หลังจากนั้นเด็กก็จะกลัวและร้องไห้ เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมาทดลองให้นาหนูขาวมาให้เด็กดู โดยแม่จะกอดเด็กไว้จากนั้นเด็กก็จะค่อยๆ หายกลัวหนูขาว John B. Watson หลักการจัดการศึกษา/การสอน 1.ในการสร้างพฤติกรรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้เกิดขึ้นในผู้เรียนควรพิจารณาสิ่งจูงใจหรือสิ่งเร้าที่เหมาะสมกับภูมิหลังและความต้องการ ของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้าควบคู่ไปกับสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขเช่น ถ้าต้องการให้เด็กตอบคาถามครู ครูควรตั้งคาถามให้เด็กตอบโดยแสดง ท่าทางที่ให้ความอบอุ่นและให้กาลังใจแก่เด็ก จะทาให้เด็กเกิดความมั่นใจในการตอบคาถามและถ้าครูใช้วิธีการนี้ซ้าๆอย่างสม่าเสมอ เด็ก จะเกิดการเรียนรู้และมีความคงทนในการแสดงพฤติกรม 2. การลบพฤติกรรรมที่ไม่พึงปรารถนา สามารถทาได้โดยหาสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไขมาช่วย เช่น หากผู้เรียนไม่ชอบทา การบ้านคณิตศาสตร์ครูอาจใช้ความเป็นมิตร เป็นกันเอง ให้ความดูแล เอาใจใส่และให้ความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิดสิ่งเร้าเหล่านี้ตาม ธรรมชาติเหล่านี้สามารถช่วยเปลี่ยนพฤติกรรรมได้
  • 5. ทฤษฎีการเชื่อมโยง (ClassicalConnectionism)ของธอร์นไดค์(Thorndike) มีความเชื่อว่าการเรียนรู้เกิดจาการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆจนกว่าจะพบรูปแบบการ ตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการเรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบ เดียว และจะพยายามใช้รูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ การจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้จึงเน้นที่การเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนแบบลองผิดลองถูกบ้าง มีการสารวจความพร้อมของผู้เรียนซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องกระทาก่อนการสอน บทเรียน เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้วครูควรฝึกให้ผู้เรียนฝึกการนาการเรียนรู้นั้นไปใช้บ่อยๆ การศึกษาว่าสิ่งใดเป็นสิ่งเร้าหรือรางวัล ที่ผู้เรียนพึงพอใจจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ Edward L Thorndike หลักการจัดการศึกษา/การสอน 1) การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนแบบลองผิดลองถูกบ้าง (เมื่อพิจารณาแล้วว่าไม่ถึงกับเสียเวลามากเกินไปและไม่เป็นอันตราย)จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในวิธีการ แก้ปัญหา จดจาการเรียนรู้ได้ดีละเกิดความภาคภูมิใจในการกระทาสิ่ง ต่าง ๆ ด้วยตนเอง 2) การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมของผู้เรียนเป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องกระทาก่อนการสอนบทเรียน เช่น การสร้างบรรยากาศให้ผู้เรียนเกิดความอยากรู้อยากเรียน การเชื่อมโยงความรู้เดิมมาสู่ความรู้ใหม่ การสารวจความรู้ใหม่ การสารวจความรู้พื้นฐานเพื่อดูว่าผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนบทเรียนต่อไปหรือไม่ 3) หากต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะในเรื่องใดจะต้องช่วยให้เขาเกิดความเข้าใจในเรื่องนั้นอย่างแท้จริงแล้วให้ฝึกฝนโดยกระทาสิ่งนั้นบ่อย ๆ แต่ควรระวังอย่าให้ถึงกับซ้าซากจะ ทาให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย 4) เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้วควรให้ผู้เรียนฝึกการนาการเรียนรู้นั้นไปใช้บ่อย ๆ 5) การให้ผู้เรียนได้รับผลที่ตนพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบผลสาเร็จ การศึกษาว่าสิ่งใดเป็นสิ่งเร้าหรือรางวัลที่ผู้เรียนพึงพอใจจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้
  • 6. ข้อเด่น ข้อจากัด ข้อเด่น คือ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม มีข้อเด่นในด้านการให้ความสาคัญกับพฤติกรรม มีมุมมองต่อ ธรรมชาติมนุษย์ในลักษณะเป็นกลางไม่ดี หรือเลว ข้อจากัด คือ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม มีข้อจากัดเรื่อง
  • 9. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด การเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่อง ของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่ง ไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และ ความสัมพันธ์ของข้อมูล และการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็น กระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง มนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตนเอง
  • 10. ทฤษฎีเกสตัลท์ (GestaltTheory) นักจิตวิทยาคนสาคัญของทฤษฎีนี้คือ แมกซ์ เวอร์ไทเมอร์(Max Wertheimer) วุล์แกงค์ โคห์ เลอร์ (Wolfgang Kohler) เคริ์ท คอฟฟ์ กา (Kurt Koffka) และเคริ์ท เลวิน (Kurt Lewin) หลักการจัดการศึกษา / การสอน 1) กระบวนการคิดเป็นกระบวนการสาคัญในการเรียนรู้ การส่งเสริมกระบวนการคิดจึงเป็นสิ่งจาเป็นและเป็นสิ่งสาคัญในการช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ 2) การสอนโดยการเสนอภาพรวมให้ผู้เรียนเห็นและเข้าใจก่อนการเสนอส่วนย่อยจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี 3) การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากได้รับประสบการณ์ที่หลากหลายจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถคิดแก้ปัญหาและคิดริเริ่มได้มากขึ้น 4) การจัดประสบการณ์ใหม่ ให้มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ดีและง่ายขึ้น 5) การจัดระเบียบสิ่งเร้าที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี คือ การจัดกลุ่มสิ่งเร้าที่เหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน 6) ในการสอน ครูไม่จาเป็นต้องเสียเวลาเสนอเนื้อหาทั้งหมดที่สมบูรณ์ ครูสามรรถเสนอเนื้อหาแต่เพียงบางส่วนได้หากผู้เรียนสามารถใช้ ประสบการณ์เดิมมาเติมให้สมบูรณ์ 7) การเสนอบทเรียนหรือเนื้อหาควรจัดให้มีความต่อเนื่องกันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี และรวดเร็ว 8) การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ที่หลากหลาย จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบหยั่งเห็นได้มากขึ้น
  • 11. ทฤษฎีสนาม (Field Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญ คือ เคริ์ท เลวินซึ่งได้แยกตัวจากกลุ่มทฤษฎีเกสตัลท์ ในระยะหลัง หลักการจัดการศึกษา / การสอน 1) การช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จาเป็นต้องอาศัยการทาความเข้าใจ “โลก” ของผู้เรียนว่า ผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายและความต้องการอะไรอะไร เป็นพลัง + และอะไรเป็นพลัง- ของเขา และพยายามจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมที่จะช่วยให้ผู้เรียนไปสู่จุดหมาย 2) การจัดการเรียนรู้ให้เข้าไปอยู่ใน “โลก” ของผู้เรียน โดยการจัดสิ่งแวดล้อมทั้งทางกายภาพและจิตวิทยาให้ดึงดูดความสนใจและสนองความ ต้องการของผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นในการจัดการเรียนการสอน 3) การสร้างแรงจูงใจ และ/หรือแรงขับที่จะทาให้ผู้เรียนไปสู่ทิศทางหรือจุดหมายที่ต้องการเป็นสิ่งที่จาเป็นในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
  • 12. ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory) ของทอลแมน (Tolman) หลักการจัดการศึกษา / การสอน 1) การสร้างแรงขับ และ/หรือแรงจูงใจให้เกิดขึ้นกับผู้เรียนจะกระตุ้นให้ผู้เรียนพยายามไปให้ถึงจุดมุ่งหมายที่ต้องการ 2)ในการสอนให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายใด ๆ นั้น ครูควรให้เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่เป็นเครื่องชี้ทาง ควบคู่ไปด้วย 3) การปรับเปลี่ยนสถานการณ์การเรียนรู้ สามารถช่วยให้ผู้เรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนได้ 4) การเรียนรู้บางอย่างอาจยังไม่สามารถแสดงออกได้ในทันที การใช้วิธีการทดสอบหลาย ๆ วิธี ทดสอบบ่อย ๆ หรือ ติดตามผลระยะยาว จึงเป็นสิ่งจาเป็นในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ในลักษณะนี้
  • 13. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Inlellectual Development Theory) นักจิตวิทยาคนสาคัญคือ เพีย เจต์ (Piaget) และบรุนเนอร์ (Bruner) หลักการจัดการศึกษา / การสอน 1) ในการพัฒนาเด็ก ควรคานึงถึงพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก และจัดประสบการณ์ให้เด็กอย่างเหมาะสม กับพัฒนาการนั้น ไม่ควรบังคับให้เด็กเรียนในสิ่งที่ยังไม่พร้อม หรือยากเกินพัฒนาการตามวัยของตน เพราะ จะก่อให้เกิดเจตคติที่ไม่ดีได้ 2) การให้ความสนใจและสังเกตเด็กอย่างใกล้ชิด จะช่วยให้ได้ทราบลักษณะเฉพาะตัวของเด็ก 3) ในการสอนเด็กเล็ก ๆ เด็กจะรับรู้ส่วนรวม (Whole) ได้ดีกว่าส่วนย่อย (part) ดังนั้น ครูจึงควรสอนภาพรวม ก่อนแล้วจึงแยกสอนทีละส่วน 4) ในการสอนสิ่งใดให้กับเด็ก ควรเริ่มจากสิ่งที่เด็กคุ้นเคยหรือมีประสบการณ์มาก่อนแล้วจึงเสนอสิ่งใหม่ที่มี ความสัมพันธ์กับสิ่งเก่า การทาเช่นนี้จะช่วยให้กระบวนการซึมซับและจัดระบบความรู้ของเด็กเป็นไปด้วยดี 5) การเปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ และมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมมาก ๆ ช่วยให้เด็กดูดซึมข้อมูล เข้าสู่โครงสร้างทางสติปัญญาของเด็กอันเป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก
  • 14. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย( A Theory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล (Ausubel) เดวิด ออซูเบล เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน (Asubel,1963:77-97) ทฤษฎีของออซูเบล เน้นความสาคัญของการเรียนรู้อย่างมีความเข้าใจและมีความหมาย การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้รวม หรือเชื่อมโยง (Subsume) สิ่งที่เรียนรู้ใหม่ซึ่งอาจจะเป็นความคิดรวบยอด Concept หรือความรู้ที่ได้รับใหม่ในโครงสร้างทางสติปัญญา (Cogmitive Sttructure) กับความรู้เดิมที่อยู่ในสมองผู้เรียนอยู่แล้ว ทฤษฎีของออซูเบล บางครั้งเรียกว่า Subsumption Theory ออซูเบล บ่งว่า ผู้เรียนเรียนรู้ข้อมูลข่าวสารด้วยการรับหรือการค้นพบและวิธีที่เรียนอาจจะเป็นการเรียนรู้ด้วยความเข้าใจอย่างมีความหมาย หรือเป็นการเรียนรู้โดยการท่องจาโดยไม่คิด ออซูเบล จึงแบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 4 ประเภท ดังต่อไปนี้ 1. การเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย (Meaningful Reception Leaning) 2. การเรียนรู้โดยการรับแบบท่องจาโดยไม่คิดหรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Reception Leaning) 3. การเรียนรู้โดยการค้นพบแบบท่องจาโดยไม่คิด หรือแบบนกแก้วนกขุนทอง(Meaningful Discovery Leaning) 4. การเรียนรุ้โดยการค้นพบแบบท่องจาโดยไม่คิด หรือแบบนกแก้วนกขุนทอง (Rote Discovery Leaning)
  • 15. ข้อเด่น ข้อจากัด • ข้อเด่น คือ การเน้นกระบวนการทางปัญญา หรือความคิด ซึ่งฝึกให้ผู้เรียนเกิดการคิด วิเคราะห์อย่างมี รูปแบบ • ข้อจากัด คือ มนุษย์ไม่เกิดกระบวนการเรียนรู้สิ่งเร้าเพียงเท่านั้น แต่ตามหลักทฤษฎีพุทธนิยมจะเน้น กระบวนการคิดให้ฝึกคิดเองมากกว่า
  • 16. การปรับใช้กับการสอนเนื้อหาภาษาไทย สามารถนาไปใช้ในการสอนวิชาภาษาไทยได้ คือ การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักการคิด และการวิเคราะห์ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการเรียนการสอนที่เกิดจากการะบวนการคิดของผู้เรียนเอง
  • 18. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivist learning theory) ซึ่งมีแนวคิดที่สอดคล้อง กับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 มากที่สุด ซึ่งในกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้น เมื่อผู้เรียนได้ สร้างความรู้ที่เป็นของตนเองขึ้นมา จากความรู้ที่มีอยู่เดิมหรือจากความรู้ที่รับเข้ามาใหม่ จากแนวคิดดังกล่าว จึงนาไปสู่การปรับเปลี่ยนวิธีเรียน วิธีสอน แนวใหม่ ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 ครูไม่ใช่ผู้จัดการทุกสิ่งทุกอย่าง ผู้เรียนต้องได้ลงมือปฏิบัติเอง สร้างความรู้ ที่เกิดจากความเข้าใจของตนเอง และมีส่วนร่วมในการเรียนมากขึ้น (Active learning) รูปแบบการเรียนรู้ ที่เกิดจากแนวคิดนี้ มีอยู่หลายรูปแบบ ได้แก่ การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative learning) การเรียนรู้แบบช่วยเหลือกัน (Collaborative learning) การเรียนรู้โดยการค้นคว้าอย่าง อิสระ (Independent investigation method) รวมทั้ง การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning)
  • 19. ทฤษฎีสร้างสรรค์นิยม (Constructivist Learning Theory) เกิดจากการทางานและการค้นพบของ เพียเจต์ ที่ เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมจะมีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม และพร้อมที่จะเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมให้เข้า กับประสบการณ์ใหม่ จนเกิดการเรียนรู้และ เกิดการพัฒนาทาง สติปัญญา เมื่อประสบกับปัญหาบุคคลจะพยายามปรับตัวให้ อยู่ในสภาวะสมดุล ด้วยกระบวนการ 2 ประการคือ การจัดและ รวบรวม (Oganization) และ การปรับตัว (Adaptation) ซึ่งพัฒนาการทางสติปัญญาของคนมี ลักษณะแตกต่างกันตามช่วงอายุที่แตกต่างกัน เป็นการพัฒนา อย่างต่อเนื่องตามลาดับขั้น ผู้เรียนในวัยช่วงชั้นที่ 3 (อายุ 12 ปี ขึ้นไป) มีพัฒนาการเริ่มเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ และมีความสามารถคิด หาเหตุผลในเชิงนามธรรมได้
  • 20. ข้อเด่น ข้อจากัด • ข้อเด่น คือ การที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้โดยตัวเอง สร้างความรู้จากประสบการณ์ของตนที่เรียนรู้มา • ข้อจากัด คือ ผู้สอนไม่สามารถถ่ายทอดเนื้อหาให้กับผู้เรียนได้โดยตรง อาจทาให้เนื้อหาที่ได้รับไม่สมบูรณ์
  • 22. สมาชิกในกลุ่ม นางสาวพัชรีวรรณ จินาเพศ 042 นายภานุวัฒน์ เจริญยศ 047 นางสาวเมษา ลิ้มสุวรรณเกสร 059 นางสาวศิวพร โพประยูร 063