SlideShare a Scribd company logo
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
ผลการจัดกิจกรรมโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปน
สําคัญรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
วิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ป พ.ศ. 2555
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
เรื่อง
ผลการจัดกิจกรรมโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปน
สําคัญรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
วิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
ป พ.ศ. 2555
ก.
งานวิจัยในชั้นเรียน (Teacher research)
เรื่อง
ผลการจัดกิจกรรมโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญรายวิชา
วิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
บทคัดยอ :
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกลุมสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร ประกอบดวยสาระหลัก 8 สาระ ซึ่งมีเปาหมายใหผูเรียนทุกคนที่จะไดรับการพัฒนาทั้ง
ดานความรู กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา ความสามารถในการ
สื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค
คุณธรรมและคานิยมที่ถูกตองเหมาะสม โดยมุงเนนความเปนไทยควบคูกับสากลหรือ “เปนคนเกง
เปนคนดี และเปนคนที่มีความสุข” แตปจจุบันกลับผลวาผลสัมฤทิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร
โดยสวนใหญไมผานเกณฑมาตรฐานและมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ อีกทั้งผูวิจัยไดรับหนาที่สอนรายวิชา
วิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จึงมี
ความสนใจที่จะหาแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสูงขึ้นบนพื้นฐานความรูความ
เขาใจและความสามารถหรือความพรอมที่แตกตางกันของผูเรียนแตละคน ดังนั้น ผูวิจัยจึงเกิดแนวคิด
ที่จะนํานวัตกรรมแบบเรียนสําเร็จรูปที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือประกอบการจัดการเรียนรูแบบ
เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ผลปรากฏวา ผลคะแนนจาก
การทดสอบหลังการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญก็จะสูงกวาผล
คะแนนจากการทดสอบกอนการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05 ซึ่งผลการวิจัยพบวาคาเฉลี่ยผลการทดสอบหลัง
เรียนดวยแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ ( X = 2.81 ,SD = 2.19)
สูงกวาคาเฉลี่ยผลการทดสอบกอนเรียนแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปน
สําคัญ ( X = 4.36 ,SD = 2.49) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = -3.47) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%
(sig = 0.001) และผลคะแนนการทําแบบประเมินโดยผูเรียนที่มีความคิดเห็นวาแบบเรียนสําเร็จรูปมี
ความสอดคลองเหมาะสมกับวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) มากที่สุด ( X =3.59 ,SD = 0.50) แตยังมี
รูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจและกระตุนใหอยากเรียนรูนอยที่สุด ( X =2.95 ,SD = 0.76) ซึ่งผูวิจัย
จะตองนําไปพัฒนาปรับปรุงแบบเรียนสําเร็จรูปใหเหมาะสมกับการเรียนรูของผูเรียนอยางตอเนื่อง
ตอไป
ข.
กิตติกรรมประกาศ
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้จะไมสบประความสําเร็จไดเลยถาขาดการเปดโอกาสจาก
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน อีกทั้งการอํานวยความสะดวกในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทาน
ผูอํานวยการโรงเรียนนายสกุล ทองเอียด และนางวนิดา เรียวไพศาลศักดา หัวหนากลุมสาระ
วิทยาศาสตรที่คอยชวยเหลือและสนับสนุนเปนอยางดีมาโดยตลอด
ขอกราบขอบพระคุณรศ.ดร. อัมพร มาคนอง รองคณะคณบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ทานไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูดานการทําวิจัยในชั้น
เรียนทําใหเลมรายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้มีมาตรฐานและความถูกตองตามหลักวิชาการ
ขอขอบคุณครูอาจารยโรงเรียนศีลาจารพิพัฒนทุกทาน โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมสาระการ
เรียนรูวิทยาศาสตรที่ไดชวยเหลือแนะนําการทํางานดานตางๆ ทําใหไดเรียนรูและสั่งสมประสบการณ
เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนซึ่งทําใหการทํางานวิจัยครั้งนี้มีความถูกตองมากยิ่งขึ้น
ขอขอบคุณมูลนิธิศักดิ์พรทรัพย ,สถาบันการศึกษาทางไกลและคณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปนอยางสูงที่ไดใหโอกาสใหผูวิจัยไดเขารับการอบรมพัฒนาทักษะและองค
ความรูเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง อันเปนสวนสําคัญยิ่งที่ทําใหเกิดงานวิจัยในชั้น
เรียนฉบับนี้
หากรายงานการวิจัยฉบับนี้ทําใหเกิดประโยชนแกครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษาและ
ผูสนใจศึกษาหาความรูทั่วไป ขอมอบคุณงามความดีอันพึงมีในครั้งนี้แดครอบครัว ครูบาอาจารยและ
ผูเกี่ยวของทุกทานที่ไดอบรมเลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูตางๆแดผูวิจัย จนทําใหผูวิจัยมี
ความรูความสามรถที่จะดําเนินการวิจัยในครั้งนี้เปนผลสําเร็จ
วิชัย ลิขิตพรรักษ
ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน
ค.
สารบัญ
หนา
ปก ก.
บทคัดยอ ข.
กิตติกรรมประกาศ ค.
สารบัญ ง.-จ.
บทที่ 1 : บทนํา 1-3
- ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
- วัตถุประสงคของการวิจัย 1
- ขอบเขตของการวิจัย 2
- นิยามเชิงศัพท 2
- สมมติฐานของการวิจัย 2
- ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 3
บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 4-20
- ยุคสังคมแหงการเรียนรู 4
- หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 4-5
- สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร 6-7
- คุณภาพของผูเรียนเมื่อจบชั้น ม.6 7-8
- บทเรียนสําเร็จรูป 9-16
- การจัดการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ 17-19
- กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย 20
บทที่ 3 : วิธีดําเนินการวิจัย 21-24
- ขั้นตอนและวิธีดําเนินการวิจัย 21
- ประชากรและกลุมตัวอยาง 21-22
- ตัวแปร 22
- ขอมูลที่ใชในการวิจัย 22
- เครื่องมือในการวิจัย 22-23
- การรวบรวมขอมูล 23-24
- การวิเคราะหขอมูล 24
- การนําเสนอขอมูล 24
ง.
บทที่ 4 : ผลการวิจัย 25-34
บทที่ 5 : วิเคราะห สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ 35-38
- วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย 35-36
- อภิปรายผล 36-37
- ขอเสนอแนะ 37-38
ภาคผนวก
บรรณานุกรม
ประวัติผูวิจัย
จ.
บทที่ 1 บทนํา
ความเปนมา และความสําคัญของปญหา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกลุมสาระการ
เรียนรูวิทยาศาสตร ประกอบดวยสาระหลัก 8 สาระ ซึ่งมีเปาหมายใหผูเรียนทุกคนที่จะไดรับการ
พัฒนาทั้งดานความรู กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา ความสามารถใน
การสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค
คุณธรรมและคานิยมที่ถูกตองเหมาะสม โดยมุงเนนความเปนไทยควบคูกับสากลหรือ “เปนคนเกง
เปนคนดี และเปนคนที่มีความสุข”
วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทําใหมนุษยมีความคิด
สรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไดอยางถี่
ถวนรอบคอบ ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจแกปญหาและนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยาง
ถูกตองเหมาะสม นอกจากนี้วิทยาศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศึกษาทางดาน เทคโนโลยีและศาสตร
อื่นๆอีกมากมาย วิทยาศาสตรจึงมีประโยชนตอการดําเนินชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น และ
สามารถอยูรวมกับคนอื่นไดอยางมีความสุข
ปจจุบันเมื่อทําการสํารวจผลการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เมื่อพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน
ภาพรวมปรากฏวาสวนใหญต่ํากวาเกณฑมาตรฐานและมีแนวโนมลดลง ซึ่งสวนหนึ่งอาจมาจาก
ธรรมชาติของรายวิชาที่ตองอาศัยกระบวนการคิดที่ซับซอนและยากตอความเขาใจเพราะมีเนื้อหา
จํานวนมาก นอกจากนี้ ยังขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูความเขาใจและความสามารถหรือความพรอมที่
แตกตางกันของผูเรียนแตละคน ดังนั้น ผูวิจัยจึงเกิดแนวคิดที่จะนํานวัตกรรมแบบเรียนสําเร็จรูปที่
จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเองตามขั้นตอนที่
กําหนดไวพรอมกับแนวการจัดการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญในชั้นเรียนเพื่อกระตุนใหผูเรียน
เกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคล ก็นาจะชวยใหนักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี เกิดการพัฒนาเพิ่มขึ้นจากเดิม
1.
วัตถุประสงค
1. เพื่อพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญรายวิชา
วิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี ระหวางกอนและหลังการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและ
แนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ
3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปและ
แนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ รายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เนื้อหาบทเรียน
เรื่อง พันธะเคมี โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
นิยามเชิงศัพท
บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผูสอนจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรม
การเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง ในแตละสาระการเรียนรูที่กําหนดไวในแตละบทเรียน โดยเริ่ม
จากเนื้อหาสาระที่งาย ๆ ไปสูเนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามลําดับ เปนบทเรียนที่สรางขึ้นโดยกําหนด
วัตถุประสงค เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไวลวงหนา ผูเรียนสามารถศึกษา คนควา และ
ประเมินผลการเรียนดวยตนเองตามขั้นตอนที่กําหนดไว
การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หมายถึง การจัดกิจกรรมโดยวิธีตางๆ อยาง
หลากหลายที่มุงใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูอยางแทจริงเกิดการพัฒนาตนและสั่งสมคุณลักษณะที่จําเปน
สําหรับการเปนสมาชิกที่ดีของสังคมของประเทศชาติตอไป การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุง
พัฒนาผูเรียน จึงตองใชเทคนิควิธีการเรียนรูรูปแบบการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอนใน
หลากหลายวิธี
ผลสัมฤทธิ์การเรียนของผูเรียน หมายถึง ผลคะแนนที่ไดจากการทดสอบดวยเครื่องมือ
แบบทดสอบที่ครูผูสอนจัดทําขึ้นโดยยึดตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชาวิทยาศาสตร
(เคมี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง พันธะ
เคมี
2.
สมมติฐานการวิจัย
นักเรียนที่เรียนจากการจัดกิจกรรมโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียน
เปนสําคัญรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาผล
คะแนนจากการทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05
ขอจํากัดงานวิจัย
รายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเฉพาะบทเรียนสําเร็จรูปและ
แนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญพรอมเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียน
และหลังเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมีเทานั้น มิไดเปรียบเทียบทั้งปการศึกษา
และทุกเนื้อหาการเรียนรู นอกจากนี้ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะเนนเฉพาะผลคะแนนจาก
การทดสอบทางดานพุทธิพิสัยเทานั้นมิไดครอบคลุมดานทักษะพิสัยและดานจิตพิสัย
ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย
1. เปนการประยุกตใชนวัตกรรมทางการศึกษาแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนน
ผูเรียนเปนสําคัญเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของชาติ
2. เปนวิธีการหรือแบบอยางแกครู อาจารย หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ สามารถนําไปใช
เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนตอไป
3. เปนการสงเสริมองคความรูและพื้นฐานความเขาใจของการวิจัยในชั้นเรียนทางดานการศึกษา
ผลการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ
3.
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ
ยุคสังคมแหลงการเรียนรู (learning –based society)
ในสังคมแหงการเรียนรู หรือในยุคปฏิรูปการเรียนรูนั้น การพัฒนาผูเรียนใหเปนผูเกง ดี มี
ความสุข คือ การพัฒนาดานตอไปนี้
1) พัฒนาดานปญญา คือ ใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจในสาระมีทักษะการคิดและ
กระบวนการคิด รวมทั้งพัฒนาปญญาอยางหลากหลาย เชน ปญญาทางดนตรี ปญญาทางศิลปะ เปน
ตน
2) พัฒนาดานอารมณ คือ ใหผูเรียนมีอารมณรื่นเริง แจมใส มองโลกในแงดี เปนผูมีมนุษย
สัมพันธ มีสุขภาพจิตดี
3) พัฒนาทางดานสังคม คือ ใหผูเรียนมีการปรับตัวเขากับสังคมไดงาย ปรับตัวเขากับบุคคล
ในทุกระดับที่เกี่ยวของไดงาย มีปฏิสัมพันธกับบุคคลตางๆ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น คือ ทํางานเปน
กลุม ทํางานเปนทีมไดอยางดี
4) พัฒนาดานรางกาย คือ ใหผูเรียนเปนผูที่มีการเจริญทางรางกายเปนไปตามพัฒนาการทาง
กาย มีสุขภาพกายแข็งแรง ไมเปนโรคและปลอดจากยาเสพติด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทําขึ้นเพื่อใหเขตพื้นที่
การศึกษา หนวยงานระดับทองถิ่นและสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดนําไปใช
เปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย
ทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีการกําหนดวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญ
ของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูพรอมใหรายละเอียดในแตละกลุมสาระ
การเรียนรู ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนาคุณภาพผูเรียน
มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึง
ประสงค ที่ตองการใหเกิดแกผูเรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้น มาตรฐานการเรียนรู
ยังเปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอน
ใหทราบวาตองการอะไร ตองสอนอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเครื่องมือ
ในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา รวมถึงการกําหนดตัวชี้วัดระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรู
และปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับชั้น ซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มี
ความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นําไปใชในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู
จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑสําคัญสําหรับการวัดและประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพ
ผูเรียน
4.
5.
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2.
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6.
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
1.
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
จุดหมาย
1.
ษฐกิจพอเพียง
2.
ทักษะชีวิต
3.
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมือ
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5.
ละอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
๑.กิจกรรมแนะแนว
๒.กิจกรรมนักเรียน
๓.
สาธารณประโยชน์
วิสัยทัศน์
ด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม
การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้
สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ
สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบ
ตางๆของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรู
ไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอ
มนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา
ความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางๆในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยบชน
มาตรฐาน ว 2.2 เขใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติระดับทองถิ่น
ประเทศและโลก นําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยาง
ยั่งยืน
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึด
เหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา
ความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู
และนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 5 พลังงาน
มาตรฐาน 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
6.
มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ
กระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มี
กระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว.7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่และเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบ
สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ดานเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร
สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
สาร
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การ
แกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปรางที่แนนอนสามารถอธิบายและ
ตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
คุณภาพของผูเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6
1. เขาใจการรักษาดุลยภาพของเซลลและกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
2. เขาใจกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน-มิวเทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปจจัยที่มีผลตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอมตางๆ
3. เขาใจกระบวนการ ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอมนุษย สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
4. เขาใจอนุภาคสําคัญที่เปนสวนประกอบในโครงสรางอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การ
เกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5. เขาใจชนิดแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคและสมบัติตางๆของสารที่มีความสัมพันธกับแรงยึดเหนี่ยว
6. เขาใจการเกิดปโตรเลียม การแยกแกสธรรมชาติและการกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ การนําผลิตภัณฑ
ปโตรเลียมไปใชประโยชนและผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
7. เขาใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สําคัญของพอลิเมอรและสารชีวโมเลกุล
8. เขาใจความสัมพันธระหวางปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบตางๆ สมบัติของคลื่นกล คุณภาพ
ของเสียงและการไดยิน สมบัติ ประโยชนและโทษของคลื่นแมเหล็กไฟฟา กัมมันตภาพรังสีและ
พลังงานนิวเคลียร
9. เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณทางธรณีที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดลอม
7.
10. เขาใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่ เอกภพ และความสําคัญของเทคโนโลยี
อวกาศ
11. เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตางๆและกร
พัฒนาเทคโนโลยีที่สงผลใหมีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรที่กาวหนา ผลของเทคโนโลยีตอชีวิต
สังคมและสิ่งแวดลอม
12. ระบุปญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ
สืบคนขอมูลจากหลายหลากแหลง ตั้งสมมติฐานที่เปนไปไดหลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบ
สมมติฐานที่เปนไปได
13. วางแผนการสํารวจตรวจสอบเพื่อแกปญหาหรือตอบคําถาม วิเคราะห เชื่อมโยง ความสัมพันธ
ของตัวแปรตางๆ โดยใชสมการทางคณิตศาสตรหรือสรางแบบจําลองจากผลหรือความรูที่ไดรับจาก
การสํารวจตรวจสอบ
14. สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ
15. ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทํา
โครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ
16. แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรูโดยใช
เครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตองเชื่อถือได
17. ตระหนักถึงคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจําวัน การประกอบ
อาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกยอง อางอิงผลงาน ชิ้นงานที่เปนผลจากภูมิปญญาทองถิ่นและ
การพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย
18. แสดงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอมของทองถิ่น
19. แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณคาในกรคนพบความรู พบคําตอบ หรือแกปญหาได
20. ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรคแสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอางอิงและเหตุผลประกอบ
เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใชวิทยาศาตรและเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรมตอสังคมและ
สิ่งแวดลอม และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
8.
บทเรียนสําเร็จรูป
บทเรียนสําเร็จรูปเปนสื่อสําหรับเรียนดวยตนเอง อาจใชสําหรับศึกษาเปนรายบุคคล รายกลุม
ซึ่งอาจจะพบวามีชื่อเรียกแตกตางกันไป ตามลักษณะของการนําไปใช เชน บทเรียนสําเร็จรูป
แบบเรียนสําเร็จรูป บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนดวยตนเอง เปนตน ถึงแมจะมีชื่อ
เรียกแตกตางกัน แตลักษณะโดยทั่วไปของบทเรียนสําเร็จรูปมีความคลายคลึงกัน คือเปนวิธีการจัด
กระบวนการเรียนรูวิธีหนึ่ง
1. ความหมาย
บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผูสอนจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัด
กิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง ในแตละสาระการเรียนรูที่กําหนดไวในแตละบทเรียน
โดยเริ่มจากเนื้อหาสาระที่งาย ๆ ไปสูเนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามลําดับ เปนบทเรียนที่สรางขึ้นโดยกําหนด
วัตถุประสงค เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไวลวงหนา ผูเรียนสามารถศึกษา คนควา และ
ประเมินผลการเรียนดวยตนเองตามขั้นตอนที่กําหนดไว
2. จุดมุงหมายของบทเรียนสําเร็จรูป
1) เพื่อใหผูเรียนสามารถประกอบกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองอยางเต็มความสามารถ โดย
ครูคอยใหคําแนะนําชวยเหลือเมื่อผูเรียนมีปญหา
2) เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูไปตามลําดับขั้น จากงายไปหายาก
3) เพื่อใหผูเรียนสามารถประเมินตนเอง และทราบถึงพัฒนาการในการเรียนรูของตนเอง
4) เพื่อใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจ เมื่อประสบความสําเร็จในการเรียนรู
3. หลักการเรียนรูดวยบทเรียนสําเร็จรูป
1) ผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม หรือมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรม
2) ผูเรียนไดประเมินตนเอง และรูคําตอบไดทันที
3) มีการเสริมแรงใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจเมื่อสามารถปฏิบัติไดถูกตอง และมีความ
พยายามที่จะแกไขสวนที่บกพรอง
4) ผูเรียนไดเรียนรูไปที่ละลําดับ จากงายไปยากตามศักยภาพและความสามารถของ แตละ
คน
9.
4. ลักษณะของบทเรียนสําเร็จรูป
ลักษณะสําคัญของบทเรียนสําเร็จรูป คือ การออกแบบการบรรจุเนื้อหาและสาระการเรียนรู
ออกเปน กรอบ (Frame) ซึ่งเนื้อหาและสาระการเรียนรูดังกลาวนั้นจะนํามาจัดทําเปนหนวยการ
เรียนรูยอย ๆ แลวบรรจุเนื้อหาสาระการเรียนรูหนวยยอย ๆ ดังกลาวลงไปในกรอบแตละกรอบใหมี
ความสัมพันธและเรียงลําดับเนื้อหาจากงายไปยาก กรอบสาระการเรียนรู (Frame) ในแตละกรอบ
ของบทเรียนสําเร็จรูปประกอบดวย
1) การอธิบายเนื้อหา
2) แบบประเมินผลกอนเรียน
3) เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู
4) คําถาม
5) เฉลยคําตอบ
6) แบบประเมินผลหลังเรียน
5. ชนิดของกรอบในบทเรียนสําเร็จรูป
กรอบสาระการเรียนรูในบทเรียนสําเร็จรูปกําหนดไว 4 ชนิด ดังนี้
1) กรอบตั้งตน (Set Frame) เปนกรอบที่เปนเสมือนกรอบนําเขาสูบทเรียน ในกรอบนี้จะ
เปนขอมูลการเรียนรูหลักการ ทฤษฎี และคําถามงาย ๆ ที่กําหนดใหผูเรียนตอบคําถามไดถูกตอง ทั้งนี้
เพื่อเปนการใหกําลังใจหรือเสริมแรงใหมีความสุขกับการเรียนรู
2) กรอบฝกหัด (Practice Frame) เปนกรอบที่ใหผูเรียนไดมีโอกาสฝกหัดทํากิจกรรมที่มี
เนื้อหาสาระเชื่อมโยงมาจากรอบตั้งตน ในกรอบฝกหัดนี้เปนกรอบสําหรับการฝกทักษะเชน การอาน
การคิด การวิเคราะห และการเขียน ซึ่งเนื้อหาสาระการเรียนรูจะเพิ่มมากขึ้นกวากรอบตั้งตน
3) กรอบรองกรอบสงทาย (Sub-Terminal Frame) เปนกรอบการเรียนรูกอนที่จะถึงกรอบ
การเรียนรู สรุป ที่ผูเรียนไดผานกิจกรรมการเรียนรูมาตามลําดับ โดยมีเนื้อหาสาระที่เขมขนขึ้นทั้งนี้
เพื่อใหผูเรียนใกลจะสรุปองคความรูที่สมบูรณที่ผานกระบวนการเรียนรูจากบทเรียนสําเร็จรูปไดอยาง
ชัดเจนถูกตอง
4) กรอบสงทาย (Terminal Frame) เปนกรอบสาระการเรียนรูสรุปสุดทาย หรือกรอบจบ
ของบทเรียนสําเร็จรูป เปนกรอบที่มีเนื้อหาสาระเขมขน และยากกวากรอบสาระการเรียนรูอื่นที่ผาน
มา
10.
6. ชนิดของบทเรียนสําเร็จรูป
ในปจจุบันบทเรียนสําเร็จรูปที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูมี 3 ชนิด ไดแก
1) บทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง (Linear Programme)
บทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรงจะจัดทําเปนกรอบเนื้อหาสาระเรียงลําดับไวตั้งแตกรอบที่ 1-
2-3… จนถึงกรอบจบ ตามที่ผูสอนไดออกแบบไว ลักษณะกรอบเนื้อหาสาระสําหรับการเรียนรูจะมี
ลักษณะดังนี้
การเรียนรูตามบทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง ผูเรียนจะเริ่มตนกิจกรรมการเรียนรูในกรอบ
เนื้อหาสาระการเรียนรูที่ 1-2-3-4 หรือมากกวานี้ตามลําดับตอเนื่องกันไปจนถึงกรอบเนื้อหาสาระ
สุดทายซึ่งเปนกรอบจบ มีคําถามเสมอวาการเรียนรูตามบทเรียนสําเร็จรูปจะเรียนรูขามกรอบได
หรือไม คําตอบก็คือไมได เพราะผูสอนไดออกแบบเนื้อหาสาระการเรียนรูจากงายไปหายาก ซึ่งเนื้อหา
ทั้งหมดจะสานสัมพันธตอเนื่องกันไป ถาขามกรอบการเรียนรูใดกรอบการเรียนรูหนึ่ง เนื้อหาสาระจะ
ขาดหายไป การเรียนรูก็จะไมเปนไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ลักษณะเดนของบทเรียนสําเร็จรูป
แบบเสนตรงก็คือผูเรียนเกงจะเรียนรูไดเร็วและจบเร็ว การทําบทเรียนก็งาย เพราะแตละกรอบสาระ
การเรียนรูจะบรรจุเนื้อหาสาระไมมากนัก
2) บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา (Branchine Programme)
บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขาเปนบทเรียนที่มีการจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู เปน
กรอบการเรียนรูหลัก (กรอบยืน) เหมือนบทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง แตมีความแตกตางเพิ่มเติม
ตรงที่นอกจากจะมีกรอบสาระการเรียนรูหลักแลว จะมีกรอบสาระการเรียนรูสาขาเพิ่มเติมหรือกรอบ
สาระการเรียนรูสาขาเขามา
กรอบสาระการเรียนรูสาขาเปนกรอบที่มีเนื้อหาสาระการเรียนรูพื้นฐานเพิ่มเติมแกผูเรียนที่
ยังขาดความพรอมยังไมเขาใจเนื้อหาสาระหรือยังไมพรอมที่จะเรียนรูในกรอบตอไปในแตละกรอบ
สาระการเรียนรูหลัก จะมีกรอบสาขาการเรียนรู 1 หรือ 2 กรอบเสมอ ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนที่ตอบ
คําถามผิดพลาดไดมีโอกาสศึกษาเรียนรูเพิ่มเติมในกรอบสาระการเรียนรูสาขา
11.
บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขายังมีอีกหลายรูปแบบ ดังนี้
กรอบสาขาดังกลาวนี้เรียกวา Remedial Loops ถาผูเรียนไมสามารถตอบคําถามในกรอบ
สาระการเรียนรูหลักไดแลวจะตองเขาไปศึกษาเรียนรูเพิ่มเติมในกรอบสาระการเรียนรูสาขาที่แตก
แขนงออกมาตั้งแตสองสาขาขึ้นไป ศึกษาสาระการเรียนรูสาขาแรกแลวก็สามารถกลับไปศึกษาใน
กรอบสาระการเรียนรูหลักไดในทันที แตถายังไมผานก็ศึกษาในสาระการเรียนรูสาขาอื่น ๆ จนพรอม
12.
แลวจึงกลับไปศึกษาและทดสอบในกรอบสาระการเรียนรูหลักอีกครั้ง เมื่อผานแลวก็ศึกษาในกรอบฯ
ถัดไป
กรอบสาขาลักษณะนี้เรียกวา Secondary Tracks เมื่อผูเรียนศึกษาเรียนรูในกรอบสาระ
การเรียนรูที่ 1 และสามารถตอบคําถามไดก็ผานไปเรียนรูในกรอบฯ ที่ 2 ถาไมผานตองกลับไปศึกษา
ในกรอบฯ สาขา 1 ถาตอบไดถูกตองก็ไปเรียนในกรอบฯ ที่ 2 แตถาตอบผิดก็ตองไปเรียนในกรอบ
สาขาฯ 2 จนกวาจะผาน
13.
กรอบสาขาประเภทนี้เรียกวา Gate Frame เมื่อศึกษาในกรอบสาระการเรียนรู 1 แลว สามารถที่
จะขามกรอบฯ ไปขางหนาไดหลายกรอบ แตเมื่อขามกรอบฯ ไปแลวไมสามารถตอบคําถามในกรอบฯ
ที่ขามไดตองถอยกลับคืนไปกรอบฯ ที่ 1 เพื่อศึกษาเพิ่มเติมอีกครั้ง เปนตน
3) บทเรียนสําเร็จรูปแบบไมแยกกรอบ
บทเรียนสําเร็จรูปแบบไมแยกกรอบ เปนบทเรียนสําเร็จรูปที่มีการนําเสนอเนื้อหา
สาระเพิ่มขึ้นทีละนอยตามลําดับขั้น ในบทเรียนจะมีแบบทดสอบและแบบเฉลยใหตรวจสอบได
ในทันทีเหมือนบทเรียนสําเร็จรูปแบบที่ 1-2 หากแตการนําเสนอเนื้อหาสาระไมนําเสนอในรูปของ
กรอบ เนื้อหาที่นําเสนอตองตอเนื่องกัน เหมือนกับการเขียนตําราหรือบทความ
7. กระบวนการผลิตและพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูป
ขั้นตอนการผลิตและพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูปมี 4 ขั้นตอน
1) ขั้นวางแผน (Planning)
- ศึกษาหลักสูตร เพื่อใหทราบถึงเนื้อหาสาระที่จะนํามาจัดทําเปนบทเรียนสําเร็จรูป
- กําหนดเนื้อหาสาระที่จะนํามาจัดทําบทเรียน
- กําหนดมาตรฐานการเรียนรูและองคประกอบอื่น ๆ เชน
- จุดประสงคนําทาง จุดประสงคปลายทาง
- ผลการเรียนรูที่คาดหวังวา เมื่อผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูจบแลว ผูเรียนไดเรียนรู
อะไรบาง
- วิเคราะหความยาก-งายของเนื้อหา
- เตรียมสรางแบบทดสอบทั้งกอนและหลังเรียนในแตละกรอบสาระการเรียนรูใหครอบคลุม
- ความรู (Knowledge)
- ทักษะ/กระบวนการ (Skills Practice/Process)
- เจตคติ (Attitude)
2) ขั้นการผลิต (Production)
(1) เขียนบทเรียนสําเร็จรูปประกอบดวย
- จุดประสงคของบทเรียนสําเร็จรูป
- ขอทดสอบกอนและหลังเรียน
- กิจกรรมการเรียนรูในแตละกรอบสาระการเรียนรูหลักและกรอบสาระการเรียนรูสาขา
- นําไปจัดกิจกรรมการเรียนรูตามที่วางแผนไว
- การวัดผลประเมินผล
14.
(2) สรางแผนการเรียนรู
- ศึกษาวิธีการสรางแผนการเรียนรู
- ศึกษาบทเรียนสําเร็จรูป
- เขียนแผนการเรียนรูตามเนื้อหา โดยพิจารณาความสอดคลองกับจุดประสงค เนื้อหาและ
เวลาที่ใชในการจัดกระบวนการเรียนรู
- นําแผนการเรียนรูใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ
- ปรับปรุงแกไข ตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ
8. ขั้นการทดลองตนฉบับ (Prototype testing)
นําบทเรียนสําเร็จรูปตนฉบับไปทดลองกับกลุมทดลองที่ไมใชกลุมตัวอยาง ตามขั้นตอน
ดังตอไปนี้
ขั้นหนึ่งตอหนึ่ง นําบทเรียนสําเร็จรูปไปทดลองกับกลุมทดลองที่ยังไมเคยศึกษาเรื่องนั้น
มากอน เพื่อดูความถูกตองของเนื้อหา ขั้นตอนตาง ๆ ในการเรียนรู ความเหมาะสมของเวลาที่ใช
จากนั้นจึงนําผลและขอบทพรองที่พบ มาปรับปรุงแกไข เพื่อใชในการทดลองขั้นกลุมเล็กตอไป
ขั้นกลุมเล็ก นําบทเรียนสําเร็จรูปที่ผานการปรับปรุงแกไขในขั้นหนึ่งตอหนึ่งไปทดลอง
กับกลุมทดลองที่กําลังเรียนเนื้อหาวิชานั้น เพื่อตรวจสอบความบกพรองของบทเรียน และเพื่อหา
ประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีความรูตามเกณฑที่ตั้งไวหรือไม เมื่อ
ทดลองแลวพบวาประสิทธิภาพยังต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว จะตองปรับปรุงแกไขเนื้อหาของบทเรียน
สําเร็จรูป และปรับปรุงกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งแบบทดสอบใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น
ขั้นกลุมใหญ นําบทเรียนสําเร็จรูปไปทดลองกับกลุมทดลองที่กําลังเรียนเนื้อหาวิชานั้น
และเปนกลุมทดลองที่มีลักษณะและคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจริง ๆ วาสามารถพัฒนา
ผูเรียนใหมีความรูตามเกณฑที่ตั้งไวหรือไม เมื่อทดลองแลวพบวามีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ตั้งไวก็
ดําเนินการจัดทําตนฉบับเพื่อนําไปใชกับกลุมตัวอยางตอไป
9. ขั้นทดลองใชจริง
การทดลองใชจริง เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนสําเร็จรูป มีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้
1) การจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยบทเรียนสําเร็จรูป
1.1 ใหผูเรียน ศึกษา และทําความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการเรียนอยางละเอียด โดยอาน
จากคําชี้แจง/คําแนะนําในการศึกษาดวยบทเรียนสําเร็จรูป
1.2 ใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) ครูตรวจแบบทดสอบกอนเรียนและให
คะแนน
1.3 ผูเรียนทํากิจกรรมการเรียนที่ระบุไวในบทเรียนสําเร็จรูปครบถวนแลว ใหทําแบบฝกหัด
และตรวจตําตอบจากคําเฉลยที่ใหไว ทําเชนนี้ทุกหนวยการเรียนรูจนครบ
1.4 ครูตรวจสอบการตอบคําถามในแตละกรอบและการทําแบบฝกหัดของผูเรียนทุกหนวย
การเรียนรู
15.
1.5 หลังจากผูเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ในบทเรียนสําเร็จรูปจบแลวใหผูเรียนทํา
แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest)
2) เครื่องมือที่ใชในการหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป
2.1 แบบฝกหัด
2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3) การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู
เครื่องมือที่ใชวัดผลการเรียนรู เชน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะตองใหได
ขอมูลตรงกับวัตถุประสงคที่ตองการทราบ ครอบคลุมเนื้อหา สอดคลองกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม
และไมงายหรือยากจนเกินไป อาจจะตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญหรือโดยการวิเคราะห ดังนี้
3.1 หาความตรงเนื้อหา เปนการหาวาแบบวัดจะวัดไดครอบคลุมสิ่งที่ตองการวัดหรือไมโดย
อาศัยการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญหลาย ๆ คน ซึ่งเหมาะกับเครื่องมือแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ
และแบบทดสอบ
3.2 หาความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม โดยใหผูเชี่ยวชาญ
พิจารณา ใชสูตรการคํานวณ ดังนี้
กําหนดคะแนนของผูเชี่ยวชาญอาจจะเปน +1 หรือ 0 หรือ -1 ดังนี้
+1 = แนใจวาขอสอบขอนั้นวัดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่ระบุไวจริง
0 = ไมแนใจวาขอสอบขอนั้นวัดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่ระบุไวจริง
-1 = แนใจวาขอสอบขอนั้นไมไดวัดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่ระบุไวจริง
คาดัชนีความสอดคลองที่ยอมรับไดตองมีคาตั้งแต 0.50 ขึ้นไป ในกรณีที่กําหนดการใหคะแนนของ
ผูเชี่ยวชาญเปน 3
16.
การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ
กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หมายถึง การจัดการศึกษาที่ถือวาผูเรียนสําคัญ
ที่สุด เปนกระบวนการจัดการศึกษาที่ตองเนนใหผูเรียนแสวงหาความรู และพัฒนาความรูไดดวย
ตนเอง หรือรวมทั้งมีการฝกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทํางาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคม
และการประยุกตใช มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการใหผูเรียนไดคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมิน
และสรางสรรคสิ่งตางๆ
นอกจากนี้ ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดย
สะทอนจากการที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทําโครงงานหรือชิ้นงานในหัวขอที่
สนใจในขอบเขตเนื้อหาของวิชานั้นๆ
รูปแบบการจัดการเรียนรูในระดับการอุดมศึกษาตามแนวทางเนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมุง
พัฒนาความรูและทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม มีปรากฏในวงการศึกษาไทยหลาย
รูปแบบตัวอยางเชน
1) การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem-based Learning : PBL)
เปนรูปแบบการเรียนรูที่ใหผูเรียนควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนคิดและดําเนินการ
เรียนรู กําหนดวัตถุประสงค และเลือกแหลงเรียนรูดวยตนเอง โดยผูสอนเปนผูใหคําแนะนํา เปนการ
สงเสริมใหเกิดการแกปญหามากกวาการจําเนื้อหาขอเท็จจริง เปนการสงเสริมการทํางานเปนกลุม
และพัฒนาทักษะทางสังคม ซึ่งวิธีการนี้จะทําไดดีในการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เพราะ
ผูเรียนมีระดับความสามารถทางการคิดและการดําเนินการดวยตนเองไดดี
เงื่อนไขที่ทําใหเกิดการเรียนรู ประกอบดวย ความรูเดิมของผูเรียน ทําใหเกิดความเขาใจ
ขอมูลใหมได การจัดสถานการณที่เหมือนจริง สงเสริมการแสดงออกและการนําไปใชอยางมี
ประสิทธิภาพ การใหโอกาสผูเรียนไดไตรตรองขอมูลอยางลึกซึ้ง ทําใหผูเรียนตอบคําถาม จดบันทึก
สอนเพื่อน สรุป วิพากษวิจารณสมมติฐานที่ไดตั้งไวไดดี
2) การเรียนรูเปนรายบุคคล (individual study)
เนื่องจากผูเรียนแตละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู และความสนใจในการเรียนรูที่
แตกตางกัน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีเทคนิคหลายวิธี เพื่อชวยใหการจัดการเรียนในกลุมใหญ
สามารถตอบสนองผูเรียนแตละคนที่แตกตางกันไดดวย อาทิ
2.1 เทคนิคการใช Concept Mapping ที่มีหลักการใชตรวจสอบความคิดของผูเรียนวาคิด
อะไร เขาใจสิ่งที่เรียนอยางไรแลวแสดงออกมาเปนกราฟฟก
2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผูเรียนกับผูสอนรวมกันกําหนด เพื่อใชเปน
หลักยึดในการเรียนวาจะเรียนอะไร อยางไร เวลาใด ใชเกณฑอะไรประเมิน
2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใชเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม ผสมผสานกับ
การใช Mapping ความรูเดิม เทคนิคการรายงานหนาชั้นที่ใหผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเองมา
นําเสนอหนาชั้นซึ่งอาจมีกิจกรรมทดสอบผูฟงดวย
17.
2.4 เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียนที่ทําใหผูเรียนไดรวมมือกัน
แลกเปลี่ยนความรูความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เพื่อแกปญหาใหสําเร็จตาม
วัตถุประสงค
3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism)
การเรียนรูแบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานวา “ผูเรียนเปนผูสรางความรูโดยการอาศัยประสบการณ
แหงชีวิตที่ไดรับเพื่อคนหาความจริง โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่
หลากหลาย ซึ่งนักทฤษฎีสรรคนิยมไดประยุกตทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาดังกลาวใน
รูปแบบและมุมมองใหม ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ
3.1 กลุมที่เนนกระบวนการรูคิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personal
Constructivism or cognitive oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนน
การเรียนรูของมนุษยเปนรายบุคคล โดยมีความเชื่อวามนุษยแตละคนรูวิธีเรียนและรูวิธี
คิด เพื่อสรางองคความรูดวยตนเอง
3.2 กลุมที่เนนการสรางความรูโดยอาศัยปฏิสัมพันธทางสังคม (Social constructivism or
socially oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนวา ความรู คือ ผลผลิต
ทางสังคม โดยมีขอตกลงเบื้องตนสองประการ คือ 1) ความรูตองสัมพันธกับชุมชน
2) ปจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตรมีผลตอการเรียนรู ดังนั้น ครูจึงมี
บทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู
4) การเรียนรูจากการสอนแบบเอส ไอ พี
การสอนแบบเอส ไอ พี เปนรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อฝกทักษะทางการสอนใหกับ
ผูเรียนระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาใหมีความรูความเขาใจ และความสามารถเกี่ยวกับทักษะ
การสอน โดยผลที่เกิดกับผูเรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรู ความเขาใจ
เกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางออม คือ การสรางความรูดวยตนเอง ความรวมมือในการ
เรียนรู และความพึงพอใจในการเรียนรู
วิธีการที่ใชในการสอน คือ การทดลองฝกปฏิบัติจริงอยางเขมขน ตอเนื่อง และเปนระบบ
โดยการสอนแบบจุลภาค มีที่ใหผูเรียนทุกคนมีบทบาทในการฝกทดลองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝก
ขั้นตอนการสอน คือ ขั้นความรูความเขาใจ ขั้นสํารวจ วิเคราะหและออกแบบการฝกทักษะ
ขั้นฝกทักษะ ขั้นประเมินผล โครงสรางทางสังคมของรูปแบบการสอนอยูในระดับปานกลางถึงต่ํา
ในขณะที่ผูเรียนฝกทดลองทักษะการสอนนั้น ผูสอนตองใหการชวยเหลือสนับสนุนอยางใกลชิดสิ่งที่จะ
ทําใหการฝกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ความพรอมของระบบสนับสนุน ไดแก
หองปฏิบัติการสอน หองสื่อเอกสารหลักสูตรและการสอน และเครื่องมือโสตทัศนูปกรณตาง ๆ ที่
เกี่ยวของ
18.
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี

More Related Content

What's hot

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
Preeyapat Lengrabam
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชลธิกาญจน์ จินาจันทร์
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
ทศพล พรหมภักดี
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
Ariyaporn Suaekong
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรองชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการจำแนกสาร ชุดที่ 1 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 

Viewers also liked

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงIntrapan Suwan
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
Krupol Phato
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านthkitiya
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
Wichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (20)

งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียงรายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
รายงานวิจัย ฯ เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียนเคมี

วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
Kongkrit Pimpa
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
โรงเรียนเดชอุดม
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
paween
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
salinkarn sampim
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
Aphitsada Phothiklang
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
Aj Ob Panlop
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ krupornpana55
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
burin rujjanapan
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
inkkuaoy1
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
apiwat97
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
apiwat97
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
apiwat97
 

Similar to วิจัยในชั้นเรียนเคมี (20)

วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
บทคัดย่อ พัฒนา
บทคัดย่อ  พัฒนาบทคัดย่อ  พัฒนา
บทคัดย่อ พัฒนา
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
ส่วนหน้าของแผนการจัดการเรียนรู้
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

วิจัยในชั้นเรียนเคมี

  • 1. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปน สําคัญรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน วิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2555
  • 2. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปน สําคัญรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน วิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รายงานการวิจัยฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติงาน โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2555 ก.
  • 3. งานวิจัยในชั้นเรียน (Teacher research) เรื่อง ผลการจัดกิจกรรมโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญรายวิชา วิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน บทคัดยอ : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ประกอบดวยสาระหลัก 8 สาระ ซึ่งมีเปาหมายใหผูเรียนทุกคนที่จะไดรับการพัฒนาทั้ง ดานความรู กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา ความสามารถในการ สื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค คุณธรรมและคานิยมที่ถูกตองเหมาะสม โดยมุงเนนความเปนไทยควบคูกับสากลหรือ “เปนคนเกง เปนคนดี และเปนคนที่มีความสุข” แตปจจุบันกลับผลวาผลสัมฤทิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร โดยสวนใหญไมผานเกณฑมาตรฐานและมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ อีกทั้งผูวิจัยไดรับหนาที่สอนรายวิชา วิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน จึงมี ความสนใจที่จะหาแนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหสูงขึ้นบนพื้นฐานความรูความ เขาใจและความสามารถหรือความพรอมที่แตกตางกันของผูเรียนแตละคน ดังนั้น ผูวิจัยจึงเกิดแนวคิด ที่จะนํานวัตกรรมแบบเรียนสําเร็จรูปที่จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือประกอบการจัดการเรียนรูแบบ เนนผูเรียนเปนสําคัญเพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางตอเนื่อง ผลปรากฏวา ผลคะแนนจาก การทดสอบหลังการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญก็จะสูงกวาผล คะแนนจากการทดสอบกอนการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05 ซึ่งผลการวิจัยพบวาคาเฉลี่ยผลการทดสอบหลัง เรียนดวยแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ ( X = 2.81 ,SD = 2.19) สูงกวาคาเฉลี่ยผลการทดสอบกอนเรียนแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปน สําคัญ ( X = 4.36 ,SD = 2.49) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (t = -3.47) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (sig = 0.001) และผลคะแนนการทําแบบประเมินโดยผูเรียนที่มีความคิดเห็นวาแบบเรียนสําเร็จรูปมี ความสอดคลองเหมาะสมกับวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) มากที่สุด ( X =3.59 ,SD = 0.50) แตยังมี รูปแบบการนําเสนอที่นาสนใจและกระตุนใหอยากเรียนรูนอยที่สุด ( X =2.95 ,SD = 0.76) ซึ่งผูวิจัย จะตองนําไปพัฒนาปรับปรุงแบบเรียนสําเร็จรูปใหเหมาะสมกับการเรียนรูของผูเรียนอยางตอเนื่อง ตอไป ข.
  • 4. กิตติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้จะไมสบประความสําเร็จไดเลยถาขาดการเปดโอกาสจาก โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน อีกทั้งการอํานวยความสะดวกในดานตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทาน ผูอํานวยการโรงเรียนนายสกุล ทองเอียด และนางวนิดา เรียวไพศาลศักดา หัวหนากลุมสาระ วิทยาศาสตรที่คอยชวยเหลือและสนับสนุนเปนอยางดีมาโดยตลอด ขอกราบขอบพระคุณรศ.ดร. อัมพร มาคนอง รองคณะคณบดีฝายวิจัยและบริการวิชาการ คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ทานไดประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูดานการทําวิจัยในชั้น เรียนทําใหเลมรายงานการวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้มีมาตรฐานและความถูกตองตามหลักวิชาการ ขอขอบคุณครูอาจารยโรงเรียนศีลาจารพิพัฒนทุกทาน โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตรที่ไดชวยเหลือแนะนําการทํางานดานตางๆ ทําใหไดเรียนรูและสั่งสมประสบการณ เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนซึ่งทําใหการทํางานวิจัยครั้งนี้มีความถูกตองมากยิ่งขึ้น ขอขอบคุณมูลนิธิศักดิ์พรทรัพย ,สถาบันการศึกษาทางไกลและคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง เปนอยางสูงที่ไดใหโอกาสใหผูวิจัยไดเขารับการอบรมพัฒนาทักษะและองค ความรูเกี่ยวกับการทําวิจัยในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง อันเปนสวนสําคัญยิ่งที่ทําใหเกิดงานวิจัยในชั้น เรียนฉบับนี้ หากรายงานการวิจัยฉบับนี้ทําใหเกิดประโยชนแกครู อาจารย บุคลากรทางการศึกษาและ ผูสนใจศึกษาหาความรูทั่วไป ขอมอบคุณงามความดีอันพึงมีในครั้งนี้แดครอบครัว ครูบาอาจารยและ ผูเกี่ยวของทุกทานที่ไดอบรมเลี้ยงดูและประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูตางๆแดผูวิจัย จนทําใหผูวิจัยมี ความรูความสามรถที่จะดําเนินการวิจัยในครั้งนี้เปนผลสําเร็จ วิชัย ลิขิตพรรักษ ตําแหนงครูผูชวย กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน ค.
  • 5. สารบัญ หนา ปก ก. บทคัดยอ ข. กิตติกรรมประกาศ ค. สารบัญ ง.-จ. บทที่ 1 : บทนํา 1-3 - ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1 - วัตถุประสงคของการวิจัย 1 - ขอบเขตของการวิจัย 2 - นิยามเชิงศัพท 2 - สมมติฐานของการวิจัย 2 - ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 3 บทที่ 2 : เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 4-20 - ยุคสังคมแหงการเรียนรู 4 - หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 4-5 - สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร 6-7 - คุณภาพของผูเรียนเมื่อจบชั้น ม.6 7-8 - บทเรียนสําเร็จรูป 9-16 - การจัดการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ 17-19 - กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย 20 บทที่ 3 : วิธีดําเนินการวิจัย 21-24 - ขั้นตอนและวิธีดําเนินการวิจัย 21 - ประชากรและกลุมตัวอยาง 21-22 - ตัวแปร 22 - ขอมูลที่ใชในการวิจัย 22 - เครื่องมือในการวิจัย 22-23 - การรวบรวมขอมูล 23-24 - การวิเคราะหขอมูล 24 - การนําเสนอขอมูล 24 ง.
  • 6. บทที่ 4 : ผลการวิจัย 25-34 บทที่ 5 : วิเคราะห สรุป อภิปราย และขอเสนอแนะ 35-38 - วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย 35-36 - อภิปรายผล 36-37 - ขอเสนอแนะ 37-38 ภาคผนวก บรรณานุกรม ประวัติผูวิจัย จ.
  • 7. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมา และความสําคัญของปญหา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของกลุมสาระการ เรียนรูวิทยาศาสตร ประกอบดวยสาระหลัก 8 สาระ ซึ่งมีเปาหมายใหผูเรียนทุกคนที่จะไดรับการ พัฒนาทั้งดานความรู กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา ความสามารถใน การสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค คุณธรรมและคานิยมที่ถูกตองเหมาะสม โดยมุงเนนความเปนไทยควบคูกับสากลหรือ “เปนคนเกง เปนคนดี และเปนคนที่มีความสุข” วิทยาศาสตรมีบทบาทสําคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทําใหมนุษยมีความคิด สรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบมีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไดอยางถี่ ถวนรอบคอบ ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจแกปญหาและนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยาง ถูกตองเหมาะสม นอกจากนี้วิทยาศาสตรยังเปนเครื่องมือในการศึกษาทางดาน เทคโนโลยีและศาสตร อื่นๆอีกมากมาย วิทยาศาสตรจึงมีประโยชนตอการดําเนินชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น และ สามารถอยูรวมกับคนอื่นไดอยางมีความสุข ปจจุบันเมื่อทําการสํารวจผลการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน เมื่อพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน ภาพรวมปรากฏวาสวนใหญต่ํากวาเกณฑมาตรฐานและมีแนวโนมลดลง ซึ่งสวนหนึ่งอาจมาจาก ธรรมชาติของรายวิชาที่ตองอาศัยกระบวนการคิดที่ซับซอนและยากตอความเขาใจเพราะมีเนื้อหา จํานวนมาก นอกจากนี้ ยังขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูความเขาใจและความสามารถหรือความพรอมที่ แตกตางกันของผูเรียนแตละคน ดังนั้น ผูวิจัยจึงเกิดแนวคิดที่จะนํานวัตกรรมแบบเรียนสําเร็จรูปที่ จัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเองตามขั้นตอนที่ กําหนดไวพรอมกับแนวการจัดการเรียนรูแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญในชั้นเรียนเพื่อกระตุนใหผูเรียน เกิดการเรียนรูอยางตอเนื่องบนพื้นฐานความแตกตางระหวางบุคคล ก็นาจะชวยใหนักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี เกิดการพัฒนาเพิ่มขึ้นจากเดิม 1.
  • 8. วัตถุประสงค 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญรายวิชา วิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี ระหวางกอนและหลังการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและ แนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปและ แนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ รายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 4 เรื่อง พันธะเคมี ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เนื้อหาบทเรียน เรื่อง พันธะเคมี โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร นิยามเชิงศัพท บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผูสอนจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรม การเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง ในแตละสาระการเรียนรูที่กําหนดไวในแตละบทเรียน โดยเริ่ม จากเนื้อหาสาระที่งาย ๆ ไปสูเนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามลําดับ เปนบทเรียนที่สรางขึ้นโดยกําหนด วัตถุประสงค เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไวลวงหนา ผูเรียนสามารถศึกษา คนควา และ ประเมินผลการเรียนดวยตนเองตามขั้นตอนที่กําหนดไว การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หมายถึง การจัดกิจกรรมโดยวิธีตางๆ อยาง หลากหลายที่มุงใหผูเรียนเกิดการ เรียนรูอยางแทจริงเกิดการพัฒนาตนและสั่งสมคุณลักษณะที่จําเปน สําหรับการเปนสมาชิกที่ดีของสังคมของประเทศชาติตอไป การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุง พัฒนาผูเรียน จึงตองใชเทคนิควิธีการเรียนรูรูปแบบการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอนใน หลากหลายวิธี ผลสัมฤทธิ์การเรียนของผูเรียน หมายถึง ผลคะแนนที่ไดจากการทดสอบดวยเครื่องมือ แบบทดสอบที่ครูผูสอนจัดทําขึ้นโดยยึดตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 แผนการเรียนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง พันธะ เคมี 2.
  • 9. สมมติฐานการวิจัย นักเรียนที่เรียนจากการจัดกิจกรรมโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียน เปนสําคัญรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวาผล คะแนนจากการทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น .05 ขอจํากัดงานวิจัย รายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเฉพาะบทเรียนสําเร็จรูปและ แนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญพรอมเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกอนเรียน และหลังเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร (เคมี) เรื่อง พันธะเคมีเทานั้น มิไดเปรียบเทียบทั้งปการศึกษา และทุกเนื้อหาการเรียนรู นอกจากนี้ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะเนนเฉพาะผลคะแนนจาก การทดสอบทางดานพุทธิพิสัยเทานั้นมิไดครอบคลุมดานทักษะพิสัยและดานจิตพิสัย ประโยชนที่ไดรับจากการวิจัย 1. เปนการประยุกตใชนวัตกรรมทางการศึกษาแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนน ผูเรียนเปนสําคัญเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของชาติ 2. เปนวิธีการหรือแบบอยางแกครู อาจารย หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่นๆ สามารถนําไปใช เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียนตอไป 3. เปนการสงเสริมองคความรูและพื้นฐานความเขาใจของการวิจัยในชั้นเรียนทางดานการศึกษา ผลการใชแบบเรียนสําเร็จรูปและแนวการสอนแบบเนนผูเรียนเปนสําคัญ 3.
  • 10. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ ยุคสังคมแหลงการเรียนรู (learning –based society) ในสังคมแหงการเรียนรู หรือในยุคปฏิรูปการเรียนรูนั้น การพัฒนาผูเรียนใหเปนผูเกง ดี มี ความสุข คือ การพัฒนาดานตอไปนี้ 1) พัฒนาดานปญญา คือ ใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจในสาระมีทักษะการคิดและ กระบวนการคิด รวมทั้งพัฒนาปญญาอยางหลากหลาย เชน ปญญาทางดนตรี ปญญาทางศิลปะ เปน ตน 2) พัฒนาดานอารมณ คือ ใหผูเรียนมีอารมณรื่นเริง แจมใส มองโลกในแงดี เปนผูมีมนุษย สัมพันธ มีสุขภาพจิตดี 3) พัฒนาทางดานสังคม คือ ใหผูเรียนมีการปรับตัวเขากับสังคมไดงาย ปรับตัวเขากับบุคคล ในทุกระดับที่เกี่ยวของไดงาย มีปฏิสัมพันธกับบุคคลตางๆ สามารถทํางานรวมกับผูอื่น คือ ทํางานเปน กลุม ทํางานเปนทีมไดอยางดี 4) พัฒนาดานรางกาย คือ ใหผูเรียนเปนผูที่มีการเจริญทางรางกายเปนไปตามพัฒนาการทาง กาย มีสุขภาพกายแข็งแรง ไมเปนโรคและปลอดจากยาเสพติด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทําขึ้นเพื่อใหเขตพื้นที่ การศึกษา หนวยงานระดับทองถิ่นและสถานศึกษาทุกสังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดนําไปใช เปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทย ทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีการกําหนดวิสัยทัศน หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญ ของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูพรอมใหรายละเอียดในแตละกลุมสาระ การเรียนรู ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมายสําคัญของการพัฒนาคุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรูระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมที่พึง ประสงค ที่ตองการใหเกิดแกผูเรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้น มาตรฐานการเรียนรู ยังเปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจะสะทอน ใหทราบวาตองการอะไร ตองสอนอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเครื่องมือ ในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา รวมถึงการกําหนดตัวชี้วัดระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรู และปฏิบัติได รวมทั้งคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับชั้น ซึ่งสะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มี ความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นําไปใชในการกําหนดเนื้อหา จัดทําหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑสําคัญสําหรับการวัดและประเมินผล เพื่อตรวจสอบคุณภาพ ผูเรียน 4.
  • 11. 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 1. 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี จุดหมาย 1. ษฐกิจพอเพียง 2. ทักษะชีวิต 3. 4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมือ ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. ละอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑.กิจกรรมแนะแนว ๒.กิจกรรมนักเรียน ๓. สาธารณประโยชน์ วิสัยทัศน์ ด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม การศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้ สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์ 4. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ
  • 12. สาระและมาตรฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสรางและหนาที่ของระบบ ตางๆของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกันมีกระบวนการสืบเสาะหาความรื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรู ไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต มาตรฐาน ว 1.2 เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอ มนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม มาตรฐาน ว 2.1 เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตางๆในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยบชน มาตรฐาน ว 2.2 เขใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติระดับทองถิ่น ประเทศและโลก นําความรูไปใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยาง ยั่งยืน สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัติของสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรงยึด เหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา ความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม มาตรฐาน ว 4.2 เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 5 พลังงาน มาตรฐาน 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการ สืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก 6.
  • 13. มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ กระบวนการตางๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก มี กระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน สาระที่ 7 ดาราศาสตรและอวกาศ มาตรฐาน ว.7.1 เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่และเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบ สุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว 7.2 เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ดานเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม สาร สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การ แกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปรางที่แนนอนสามารถอธิบายและ ตรวจสอบไดภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน คุณภาพของผูเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 1. เขาใจการรักษาดุลยภาพของเซลลและกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต 2. เขาใจกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม การแปรผัน-มิวเทชัน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความ หลากหลายของสิ่งมีชีวิตและปจจัยที่มีผลตอการอยูรอดของสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอมตางๆ 3. เขาใจกระบวนการ ความสําคัญและผลของเทคโนโลยีชีวภาพตอมนุษย สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม 4. เขาใจอนุภาคสําคัญที่เปนสวนประกอบในโครงสรางอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ การ เกิดปฏิกิริยาเคมีและเขียนสมการเคมี ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี 5. เขาใจชนิดแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคและสมบัติตางๆของสารที่มีความสัมพันธกับแรงยึดเหนี่ยว 6. เขาใจการเกิดปโตรเลียม การแยกแกสธรรมชาติและการกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ การนําผลิตภัณฑ ปโตรเลียมไปใชประโยชนและผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม 7. เขาใจชนิด สมบัติ ปฏิกิริยาที่สําคัญของพอลิเมอรและสารชีวโมเลกุล 8. เขาใจความสัมพันธระหวางปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบตางๆ สมบัติของคลื่นกล คุณภาพ ของเสียงและการไดยิน สมบัติ ประโยชนและโทษของคลื่นแมเหล็กไฟฟา กัมมันตภาพรังสีและ พลังงานนิวเคลียร 9. เขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกและปรากฏการณทางธรณีที่มีผลตอสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดลอม 7.
  • 14. 10. เขาใจการเกิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี่ เอกภพ และความสําคัญของเทคโนโลยี อวกาศ 11. เขาใจความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรที่มีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทตางๆและกร พัฒนาเทคโนโลยีที่สงผลใหมีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรที่กาวหนา ผลของเทคโนโลยีตอชีวิต สังคมและสิ่งแวดลอม 12. ระบุปญหา ตั้งคําถามที่จะสํารวจตรวจสอบ โดยมีการกําหนดความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆ สืบคนขอมูลจากหลายหลากแหลง ตั้งสมมติฐานที่เปนไปไดหลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบ สมมติฐานที่เปนไปได 13. วางแผนการสํารวจตรวจสอบเพื่อแกปญหาหรือตอบคําถาม วิเคราะห เชื่อมโยง ความสัมพันธ ของตัวแปรตางๆ โดยใชสมการทางคณิตศาสตรหรือสรางแบบจําลองจากผลหรือความรูที่ไดรับจาก การสํารวจตรวจสอบ 14. สื่อสารความคิด ความรูจากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใชเทคโนโลยี สารสนเทศ 15. ใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดํารงชีวิต การศึกษาหาความรูเพิ่มเติม ทํา โครงงานหรือสรางชิ้นงานตามความสนใจ 16. แสดงถึงความสนใจ มุงมั่น รับผิดชอบ รอบคอบและซื่อสัตยในการสืบเสาะหาความรูโดยใช เครื่องมือและวิธีการที่ใหไดผลถูกตองเชื่อถือได 17. ตระหนักถึงคุณคาของความรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ใชในชีวิตประจําวัน การประกอบ อาชีพ แสดงถึงความชื่นชม ภูมิใจ ยกยอง อางอิงผลงาน ชิ้นงานที่เปนผลจากภูมิปญญาทองถิ่นและ การพัฒนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย 18. แสดงความซาบซึ้ง หวงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใชการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางรูคุณคา เสนอตัวเองรวมมือปฏิบัติกับชุมชนในการปองกัน ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของทองถิ่น 19. แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณคาในกรคนพบความรู พบคําตอบ หรือแกปญหาได 20. ทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรคแสดงความคิดเห็นโดยมีขอมูลอางอิงและเหตุผลประกอบ เกี่ยวกับผลของการพัฒนาและการใชวิทยาศาตรและเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรมตอสังคมและ สิ่งแวดลอม และยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 8.
  • 15. บทเรียนสําเร็จรูป บทเรียนสําเร็จรูปเปนสื่อสําหรับเรียนดวยตนเอง อาจใชสําหรับศึกษาเปนรายบุคคล รายกลุม ซึ่งอาจจะพบวามีชื่อเรียกแตกตางกันไป ตามลักษณะของการนําไปใช เชน บทเรียนสําเร็จรูป แบบเรียนสําเร็จรูป บทเรียนโปรแกรม โปรแกรมการสอน แบบเรียนดวยตนเอง เปนตน ถึงแมจะมีชื่อ เรียกแตกตางกัน แตลักษณะโดยทั่วไปของบทเรียนสําเร็จรูปมีความคลายคลึงกัน คือเปนวิธีการจัด กระบวนการเรียนรูวิธีหนึ่ง 1. ความหมาย บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง บทเรียนที่ผูสอนจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนเครื่องมือในการจัด กิจกรรมการเรียนรูใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง ในแตละสาระการเรียนรูที่กําหนดไวในแตละบทเรียน โดยเริ่มจากเนื้อหาสาระที่งาย ๆ ไปสูเนื้อหาที่ยากขึ้นไปตามลําดับ เปนบทเรียนที่สรางขึ้นโดยกําหนด วัตถุประสงค เนื้อหา วิธีการ และสื่อการเรียนการสอนไวลวงหนา ผูเรียนสามารถศึกษา คนควา และ ประเมินผลการเรียนดวยตนเองตามขั้นตอนที่กําหนดไว 2. จุดมุงหมายของบทเรียนสําเร็จรูป 1) เพื่อใหผูเรียนสามารถประกอบกิจกรรมการเรียนรูดวยตนเองอยางเต็มความสามารถ โดย ครูคอยใหคําแนะนําชวยเหลือเมื่อผูเรียนมีปญหา 2) เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูไปตามลําดับขั้น จากงายไปหายาก 3) เพื่อใหผูเรียนสามารถประเมินตนเอง และทราบถึงพัฒนาการในการเรียนรูของตนเอง 4) เพื่อใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจ เมื่อประสบความสําเร็จในการเรียนรู 3. หลักการเรียนรูดวยบทเรียนสําเร็จรูป 1) ผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรม หรือมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรม 2) ผูเรียนไดประเมินตนเอง และรูคําตอบไดทันที 3) มีการเสริมแรงใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจเมื่อสามารถปฏิบัติไดถูกตอง และมีความ พยายามที่จะแกไขสวนที่บกพรอง 4) ผูเรียนไดเรียนรูไปที่ละลําดับ จากงายไปยากตามศักยภาพและความสามารถของ แตละ คน 9.
  • 16. 4. ลักษณะของบทเรียนสําเร็จรูป ลักษณะสําคัญของบทเรียนสําเร็จรูป คือ การออกแบบการบรรจุเนื้อหาและสาระการเรียนรู ออกเปน กรอบ (Frame) ซึ่งเนื้อหาและสาระการเรียนรูดังกลาวนั้นจะนํามาจัดทําเปนหนวยการ เรียนรูยอย ๆ แลวบรรจุเนื้อหาสาระการเรียนรูหนวยยอย ๆ ดังกลาวลงไปในกรอบแตละกรอบใหมี ความสัมพันธและเรียงลําดับเนื้อหาจากงายไปยาก กรอบสาระการเรียนรู (Frame) ในแตละกรอบ ของบทเรียนสําเร็จรูปประกอบดวย 1) การอธิบายเนื้อหา 2) แบบประเมินผลกอนเรียน 3) เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนรู 4) คําถาม 5) เฉลยคําตอบ 6) แบบประเมินผลหลังเรียน 5. ชนิดของกรอบในบทเรียนสําเร็จรูป กรอบสาระการเรียนรูในบทเรียนสําเร็จรูปกําหนดไว 4 ชนิด ดังนี้ 1) กรอบตั้งตน (Set Frame) เปนกรอบที่เปนเสมือนกรอบนําเขาสูบทเรียน ในกรอบนี้จะ เปนขอมูลการเรียนรูหลักการ ทฤษฎี และคําถามงาย ๆ ที่กําหนดใหผูเรียนตอบคําถามไดถูกตอง ทั้งนี้ เพื่อเปนการใหกําลังใจหรือเสริมแรงใหมีความสุขกับการเรียนรู 2) กรอบฝกหัด (Practice Frame) เปนกรอบที่ใหผูเรียนไดมีโอกาสฝกหัดทํากิจกรรมที่มี เนื้อหาสาระเชื่อมโยงมาจากรอบตั้งตน ในกรอบฝกหัดนี้เปนกรอบสําหรับการฝกทักษะเชน การอาน การคิด การวิเคราะห และการเขียน ซึ่งเนื้อหาสาระการเรียนรูจะเพิ่มมากขึ้นกวากรอบตั้งตน 3) กรอบรองกรอบสงทาย (Sub-Terminal Frame) เปนกรอบการเรียนรูกอนที่จะถึงกรอบ การเรียนรู สรุป ที่ผูเรียนไดผานกิจกรรมการเรียนรูมาตามลําดับ โดยมีเนื้อหาสาระที่เขมขนขึ้นทั้งนี้ เพื่อใหผูเรียนใกลจะสรุปองคความรูที่สมบูรณที่ผานกระบวนการเรียนรูจากบทเรียนสําเร็จรูปไดอยาง ชัดเจนถูกตอง 4) กรอบสงทาย (Terminal Frame) เปนกรอบสาระการเรียนรูสรุปสุดทาย หรือกรอบจบ ของบทเรียนสําเร็จรูป เปนกรอบที่มีเนื้อหาสาระเขมขน และยากกวากรอบสาระการเรียนรูอื่นที่ผาน มา 10.
  • 17. 6. ชนิดของบทเรียนสําเร็จรูป ในปจจุบันบทเรียนสําเร็จรูปที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูมี 3 ชนิด ไดแก 1) บทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง (Linear Programme) บทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรงจะจัดทําเปนกรอบเนื้อหาสาระเรียงลําดับไวตั้งแตกรอบที่ 1- 2-3… จนถึงกรอบจบ ตามที่ผูสอนไดออกแบบไว ลักษณะกรอบเนื้อหาสาระสําหรับการเรียนรูจะมี ลักษณะดังนี้ การเรียนรูตามบทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง ผูเรียนจะเริ่มตนกิจกรรมการเรียนรูในกรอบ เนื้อหาสาระการเรียนรูที่ 1-2-3-4 หรือมากกวานี้ตามลําดับตอเนื่องกันไปจนถึงกรอบเนื้อหาสาระ สุดทายซึ่งเปนกรอบจบ มีคําถามเสมอวาการเรียนรูตามบทเรียนสําเร็จรูปจะเรียนรูขามกรอบได หรือไม คําตอบก็คือไมได เพราะผูสอนไดออกแบบเนื้อหาสาระการเรียนรูจากงายไปหายาก ซึ่งเนื้อหา ทั้งหมดจะสานสัมพันธตอเนื่องกันไป ถาขามกรอบการเรียนรูใดกรอบการเรียนรูหนึ่ง เนื้อหาสาระจะ ขาดหายไป การเรียนรูก็จะไมเปนไปตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว ลักษณะเดนของบทเรียนสําเร็จรูป แบบเสนตรงก็คือผูเรียนเกงจะเรียนรูไดเร็วและจบเร็ว การทําบทเรียนก็งาย เพราะแตละกรอบสาระ การเรียนรูจะบรรจุเนื้อหาสาระไมมากนัก 2) บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา (Branchine Programme) บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขาเปนบทเรียนที่มีการจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู เปน กรอบการเรียนรูหลัก (กรอบยืน) เหมือนบทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง แตมีความแตกตางเพิ่มเติม ตรงที่นอกจากจะมีกรอบสาระการเรียนรูหลักแลว จะมีกรอบสาระการเรียนรูสาขาเพิ่มเติมหรือกรอบ สาระการเรียนรูสาขาเขามา กรอบสาระการเรียนรูสาขาเปนกรอบที่มีเนื้อหาสาระการเรียนรูพื้นฐานเพิ่มเติมแกผูเรียนที่ ยังขาดความพรอมยังไมเขาใจเนื้อหาสาระหรือยังไมพรอมที่จะเรียนรูในกรอบตอไปในแตละกรอบ สาระการเรียนรูหลัก จะมีกรอบสาขาการเรียนรู 1 หรือ 2 กรอบเสมอ ทั้งนี้เพื่อใหผูเรียนที่ตอบ คําถามผิดพลาดไดมีโอกาสศึกษาเรียนรูเพิ่มเติมในกรอบสาระการเรียนรูสาขา 11.
  • 18. บทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขายังมีอีกหลายรูปแบบ ดังนี้ กรอบสาขาดังกลาวนี้เรียกวา Remedial Loops ถาผูเรียนไมสามารถตอบคําถามในกรอบ สาระการเรียนรูหลักไดแลวจะตองเขาไปศึกษาเรียนรูเพิ่มเติมในกรอบสาระการเรียนรูสาขาที่แตก แขนงออกมาตั้งแตสองสาขาขึ้นไป ศึกษาสาระการเรียนรูสาขาแรกแลวก็สามารถกลับไปศึกษาใน กรอบสาระการเรียนรูหลักไดในทันที แตถายังไมผานก็ศึกษาในสาระการเรียนรูสาขาอื่น ๆ จนพรอม 12.
  • 19. แลวจึงกลับไปศึกษาและทดสอบในกรอบสาระการเรียนรูหลักอีกครั้ง เมื่อผานแลวก็ศึกษาในกรอบฯ ถัดไป กรอบสาขาลักษณะนี้เรียกวา Secondary Tracks เมื่อผูเรียนศึกษาเรียนรูในกรอบสาระ การเรียนรูที่ 1 และสามารถตอบคําถามไดก็ผานไปเรียนรูในกรอบฯ ที่ 2 ถาไมผานตองกลับไปศึกษา ในกรอบฯ สาขา 1 ถาตอบไดถูกตองก็ไปเรียนในกรอบฯ ที่ 2 แตถาตอบผิดก็ตองไปเรียนในกรอบ สาขาฯ 2 จนกวาจะผาน 13.
  • 20. กรอบสาขาประเภทนี้เรียกวา Gate Frame เมื่อศึกษาในกรอบสาระการเรียนรู 1 แลว สามารถที่ จะขามกรอบฯ ไปขางหนาไดหลายกรอบ แตเมื่อขามกรอบฯ ไปแลวไมสามารถตอบคําถามในกรอบฯ ที่ขามไดตองถอยกลับคืนไปกรอบฯ ที่ 1 เพื่อศึกษาเพิ่มเติมอีกครั้ง เปนตน 3) บทเรียนสําเร็จรูปแบบไมแยกกรอบ บทเรียนสําเร็จรูปแบบไมแยกกรอบ เปนบทเรียนสําเร็จรูปที่มีการนําเสนอเนื้อหา สาระเพิ่มขึ้นทีละนอยตามลําดับขั้น ในบทเรียนจะมีแบบทดสอบและแบบเฉลยใหตรวจสอบได ในทันทีเหมือนบทเรียนสําเร็จรูปแบบที่ 1-2 หากแตการนําเสนอเนื้อหาสาระไมนําเสนอในรูปของ กรอบ เนื้อหาที่นําเสนอตองตอเนื่องกัน เหมือนกับการเขียนตําราหรือบทความ 7. กระบวนการผลิตและพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูป ขั้นตอนการผลิตและพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูปมี 4 ขั้นตอน 1) ขั้นวางแผน (Planning) - ศึกษาหลักสูตร เพื่อใหทราบถึงเนื้อหาสาระที่จะนํามาจัดทําเปนบทเรียนสําเร็จรูป - กําหนดเนื้อหาสาระที่จะนํามาจัดทําบทเรียน - กําหนดมาตรฐานการเรียนรูและองคประกอบอื่น ๆ เชน - จุดประสงคนําทาง จุดประสงคปลายทาง - ผลการเรียนรูที่คาดหวังวา เมื่อผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรูจบแลว ผูเรียนไดเรียนรู อะไรบาง - วิเคราะหความยาก-งายของเนื้อหา - เตรียมสรางแบบทดสอบทั้งกอนและหลังเรียนในแตละกรอบสาระการเรียนรูใหครอบคลุม - ความรู (Knowledge) - ทักษะ/กระบวนการ (Skills Practice/Process) - เจตคติ (Attitude) 2) ขั้นการผลิต (Production) (1) เขียนบทเรียนสําเร็จรูปประกอบดวย - จุดประสงคของบทเรียนสําเร็จรูป - ขอทดสอบกอนและหลังเรียน - กิจกรรมการเรียนรูในแตละกรอบสาระการเรียนรูหลักและกรอบสาระการเรียนรูสาขา - นําไปจัดกิจกรรมการเรียนรูตามที่วางแผนไว - การวัดผลประเมินผล 14.
  • 21. (2) สรางแผนการเรียนรู - ศึกษาวิธีการสรางแผนการเรียนรู - ศึกษาบทเรียนสําเร็จรูป - เขียนแผนการเรียนรูตามเนื้อหา โดยพิจารณาความสอดคลองกับจุดประสงค เนื้อหาและ เวลาที่ใชในการจัดกระบวนการเรียนรู - นําแผนการเรียนรูใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบคุณภาพ - ปรับปรุงแกไข ตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ 8. ขั้นการทดลองตนฉบับ (Prototype testing) นําบทเรียนสําเร็จรูปตนฉบับไปทดลองกับกลุมทดลองที่ไมใชกลุมตัวอยาง ตามขั้นตอน ดังตอไปนี้ ขั้นหนึ่งตอหนึ่ง นําบทเรียนสําเร็จรูปไปทดลองกับกลุมทดลองที่ยังไมเคยศึกษาเรื่องนั้น มากอน เพื่อดูความถูกตองของเนื้อหา ขั้นตอนตาง ๆ ในการเรียนรู ความเหมาะสมของเวลาที่ใช จากนั้นจึงนําผลและขอบทพรองที่พบ มาปรับปรุงแกไข เพื่อใชในการทดลองขั้นกลุมเล็กตอไป ขั้นกลุมเล็ก นําบทเรียนสําเร็จรูปที่ผานการปรับปรุงแกไขในขั้นหนึ่งตอหนึ่งไปทดลอง กับกลุมทดลองที่กําลังเรียนเนื้อหาวิชานั้น เพื่อตรวจสอบความบกพรองของบทเรียน และเพื่อหา ประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปวาสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีความรูตามเกณฑที่ตั้งไวหรือไม เมื่อ ทดลองแลวพบวาประสิทธิภาพยังต่ํากวาเกณฑที่ตั้งไว จะตองปรับปรุงแกไขเนื้อหาของบทเรียน สําเร็จรูป และปรับปรุงกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งแบบทดสอบใหมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น ขั้นกลุมใหญ นําบทเรียนสําเร็จรูปไปทดลองกับกลุมทดลองที่กําลังเรียนเนื้อหาวิชานั้น และเปนกลุมทดลองที่มีลักษณะและคุณสมบัติใกลเคียงกับกลุมตัวอยางจริง ๆ วาสามารถพัฒนา ผูเรียนใหมีความรูตามเกณฑที่ตั้งไวหรือไม เมื่อทดลองแลวพบวามีประสิทธิภาพตามเกณฑที่ตั้งไวก็ ดําเนินการจัดทําตนฉบับเพื่อนําไปใชกับกลุมตัวอยางตอไป 9. ขั้นทดลองใชจริง การทดลองใชจริง เพื่อหาประสิทธิภาพบทเรียนสําเร็จรูป มีขั้นตอนในการดําเนินการดังนี้ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรูดวยบทเรียนสําเร็จรูป 1.1 ใหผูเรียน ศึกษา และทําความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนในการเรียนอยางละเอียด โดยอาน จากคําชี้แจง/คําแนะนําในการศึกษาดวยบทเรียนสําเร็จรูป 1.2 ใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) ครูตรวจแบบทดสอบกอนเรียนและให คะแนน 1.3 ผูเรียนทํากิจกรรมการเรียนที่ระบุไวในบทเรียนสําเร็จรูปครบถวนแลว ใหทําแบบฝกหัด และตรวจตําตอบจากคําเฉลยที่ใหไว ทําเชนนี้ทุกหนวยการเรียนรูจนครบ 1.4 ครูตรวจสอบการตอบคําถามในแตละกรอบและการทําแบบฝกหัดของผูเรียนทุกหนวย การเรียนรู 15.
  • 22. 1.5 หลังจากผูเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ในบทเรียนสําเร็จรูปจบแลวใหผูเรียนทํา แบบทดสอบหลังเรียน (Posttest) 2) เครื่องมือที่ใชในการหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป 2.1 แบบฝกหัด 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู เครื่องมือที่ใชวัดผลการเรียนรู เชน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จะตองใหได ขอมูลตรงกับวัตถุประสงคที่ตองการทราบ ครอบคลุมเนื้อหา สอดคลองกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม และไมงายหรือยากจนเกินไป อาจจะตรวจสอบโดยผูเชี่ยวชาญหรือโดยการวิเคราะห ดังนี้ 3.1 หาความตรงเนื้อหา เปนการหาวาแบบวัดจะวัดไดครอบคลุมสิ่งที่ตองการวัดหรือไมโดย อาศัยการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญหลาย ๆ คน ซึ่งเหมาะกับเครื่องมือแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบทดสอบ 3.2 หาความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม โดยใหผูเชี่ยวชาญ พิจารณา ใชสูตรการคํานวณ ดังนี้ กําหนดคะแนนของผูเชี่ยวชาญอาจจะเปน +1 หรือ 0 หรือ -1 ดังนี้ +1 = แนใจวาขอสอบขอนั้นวัดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่ระบุไวจริง 0 = ไมแนใจวาขอสอบขอนั้นวัดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่ระบุไวจริง -1 = แนใจวาขอสอบขอนั้นไมไดวัดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่ระบุไวจริง คาดัชนีความสอดคลองที่ยอมรับไดตองมีคาตั้งแต 0.50 ขึ้นไป ในกรณีที่กําหนดการใหคะแนนของ ผูเชี่ยวชาญเปน 3 16.
  • 23. การเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ กระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ หมายถึง การจัดการศึกษาที่ถือวาผูเรียนสําคัญ ที่สุด เปนกระบวนการจัดการศึกษาที่ตองเนนใหผูเรียนแสวงหาความรู และพัฒนาความรูไดดวย ตนเอง หรือรวมทั้งมีการฝกและปฏิบัติในสภาพจริงของการทํางาน มีการเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับสังคม และการประยุกตใช มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการใหผูเรียนไดคิดวิเคราะห สังเคราะห ประเมิน และสรางสรรคสิ่งตางๆ นอกจากนี้ ตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดย สะทอนจากการที่นักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชา หรือเลือกทําโครงงานหรือชิ้นงานในหัวขอที่ สนใจในขอบเขตเนื้อหาของวิชานั้นๆ รูปแบบการจัดการเรียนรูในระดับการอุดมศึกษาตามแนวทางเนนผูเรียนเปนสําคัญ ซึ่งมุง พัฒนาความรูและทักษะทางวิชาชีพ ทักษะชีวิตและทักษะสังคม มีปรากฏในวงการศึกษาไทยหลาย รูปแบบตัวอยางเชน 1) การเรียนรูจากกรณีปญหา (Problem-based Learning : PBL) เปนรูปแบบการเรียนรูที่ใหผูเรียนควบคุมการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนคิดและดําเนินการ เรียนรู กําหนดวัตถุประสงค และเลือกแหลงเรียนรูดวยตนเอง โดยผูสอนเปนผูใหคําแนะนํา เปนการ สงเสริมใหเกิดการแกปญหามากกวาการจําเนื้อหาขอเท็จจริง เปนการสงเสริมการทํางานเปนกลุม และพัฒนาทักษะทางสังคม ซึ่งวิธีการนี้จะทําไดดีในการจัดการเรียนการสอนระดับอุดมศึกษา เพราะ ผูเรียนมีระดับความสามารถทางการคิดและการดําเนินการดวยตนเองไดดี เงื่อนไขที่ทําใหเกิดการเรียนรู ประกอบดวย ความรูเดิมของผูเรียน ทําใหเกิดความเขาใจ ขอมูลใหมได การจัดสถานการณที่เหมือนจริง สงเสริมการแสดงออกและการนําไปใชอยางมี ประสิทธิภาพ การใหโอกาสผูเรียนไดไตรตรองขอมูลอยางลึกซึ้ง ทําใหผูเรียนตอบคําถาม จดบันทึก สอนเพื่อน สรุป วิพากษวิจารณสมมติฐานที่ไดตั้งไวไดดี 2) การเรียนรูเปนรายบุคคล (individual study) เนื่องจากผูเรียนแตละบุคคลมีความสามารถในการเรียนรู และความสนใจในการเรียนรูที่ แตกตางกัน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีเทคนิคหลายวิธี เพื่อชวยใหการจัดการเรียนในกลุมใหญ สามารถตอบสนองผูเรียนแตละคนที่แตกตางกันไดดวย อาทิ 2.1 เทคนิคการใช Concept Mapping ที่มีหลักการใชตรวจสอบความคิดของผูเรียนวาคิด อะไร เขาใจสิ่งที่เรียนอยางไรแลวแสดงออกมาเปนกราฟฟก 2.2 เทคนิค Learning Contracts คือ สัญญาที่ผูเรียนกับผูสอนรวมกันกําหนด เพื่อใชเปน หลักยึดในการเรียนวาจะเรียนอะไร อยางไร เวลาใด ใชเกณฑอะไรประเมิน 2.3 เทคนิค Know –Want-Learned ใชเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม ผสมผสานกับ การใช Mapping ความรูเดิม เทคนิคการรายงานหนาชั้นที่ใหผูเรียนไปศึกษาคนควาดวยตนเองมา นําเสนอหนาชั้นซึ่งอาจมีกิจกรรมทดสอบผูฟงดวย 17.
  • 24. 2.4 เทคนิคกระบวนการกลุม (Group Process) เปนการเรียนที่ทําใหผูเรียนไดรวมมือกัน แลกเปลี่ยนความรูความคิดซึ่งกันและกัน เพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน เพื่อแกปญหาใหสําเร็จตาม วัตถุประสงค 3) การเรียนรูแบบสรรคนิยม (Constructivism) การเรียนรูแบบนี้มีความเชื่อพื้นฐานวา “ผูเรียนเปนผูสรางความรูโดยการอาศัยประสบการณ แหงชีวิตที่ไดรับเพื่อคนหาความจริง โดยมีรากฐานจากทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาที่ หลากหลาย ซึ่งนักทฤษฎีสรรคนิยมไดประยุกตทฤษฎีจิตวิทยาและปรัชญาการศึกษาดังกลาวใน รูปแบบและมุมมองใหม ซึ่งแบงออกเปน 2 กลุมใหญ คือ 3.1 กลุมที่เนนกระบวนการรูคิดในตัวบุคคล (radical constructivism or personal Constructivism or cognitive oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนน การเรียนรูของมนุษยเปนรายบุคคล โดยมีความเชื่อวามนุษยแตละคนรูวิธีเรียนและรูวิธี คิด เพื่อสรางองคความรูดวยตนเอง 3.2 กลุมที่เนนการสรางความรูโดยอาศัยปฏิสัมพันธทางสังคม (Social constructivism or socially oriented constructivist theories) เปนกลุมที่เนนวา ความรู คือ ผลผลิต ทางสังคม โดยมีขอตกลงเบื้องตนสองประการ คือ 1) ความรูตองสัมพันธกับชุมชน 2) ปจจัยทางวัฒนธรรมสังคมและประวัติศาสตรมีผลตอการเรียนรู ดังนั้น ครูจึงมี บทบาทเปนผูอํานวยความสะดวกในการเรียนรู 4) การเรียนรูจากการสอนแบบเอส ไอ พี การสอนแบบเอส ไอ พี เปนรูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นเพื่อฝกทักษะทางการสอนใหกับ ผูเรียนระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาการศึกษาใหมีความรูความเขาใจ และความสามารถเกี่ยวกับทักษะ การสอน โดยผลที่เกิดกับผูเรียนมีผลทางตรง คือ การมีทักษะการสอน การมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับทักษะทางการสอนและผลทางออม คือ การสรางความรูดวยตนเอง ความรวมมือในการ เรียนรู และความพึงพอใจในการเรียนรู วิธีการที่ใชในการสอน คือ การทดลองฝกปฏิบัติจริงอยางเขมขน ตอเนื่อง และเปนระบบ โดยการสอนแบบจุลภาค มีที่ใหผูเรียนทุกคนมีบทบาทในการฝกทดลองตั้งแตเริ่มตนจนสิ้นสุดการฝก ขั้นตอนการสอน คือ ขั้นความรูความเขาใจ ขั้นสํารวจ วิเคราะหและออกแบบการฝกทักษะ ขั้นฝกทักษะ ขั้นประเมินผล โครงสรางทางสังคมของรูปแบบการสอนอยูในระดับปานกลางถึงต่ํา ในขณะที่ผูเรียนฝกทดลองทักษะการสอนนั้น ผูสอนตองใหการชวยเหลือสนับสนุนอยางใกลชิดสิ่งที่จะ ทําใหการฝกเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล คือ ความพรอมของระบบสนับสนุน ไดแก หองปฏิบัติการสอน หองสื่อเอกสารหลักสูตรและการสอน และเครื่องมือโสตทัศนูปกรณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของ 18.