SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com
8 กรกฎาคม 2557
by Tracy Huston
 แนวคิดเรื่อง ดีจากภายใน (Inside-Out) โดย Tracy Huston มี
ที่มาจาก U-Theory ในหนังสือบัดเดี๋ยวนี้ (Presencing) ซึ่ง
ประพันธ์โดย Peter Senge
 เป็นวิธีการใช้พัฒนาผู้นา เพื่อมุ่งสู่อนาคตที่ต้องการ
 Huston ใช้ประสบการณ์มากมายจากการเล่าเรื่อง และการทา
กิจกรรมกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการเปลี่ยนแปลงระบบ
ที่เริ่มจากภายในออกมา
Inside-out
เพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่อนาคตที่ดีกว่าอย่างยั่งยืน ควรเริ่มจากภายในออกมา
5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา
 1. อุปนิสัยเดิมทาให้เรามีข้อจากัด (Habits hardwire us into
limited ways of being) เรามักใช้โครงสร้างแบบลาดับชั้น
(Hierarchical constructs) เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ต่าง ๆ
ในอนาคต
 วิธีการนี้ ที่มีทั้งข้อดีและข้อด้อยคือ โครงสร้างแบบลาดับชั้นที่มี
อยู่ อาจทาให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ทันกาล เพื่อแก้ไขอุปนิสัยนี้
เราต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและมุมมอง ที่เริ่มมาจากภายใน
5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา
 2. เราเชื่อมั่นในสิ่งที่เราคิดว่าเรารู้ (We base our self-worth on
what we know) เราชื่นชมผู้เชี่ยวชาญ และคัดสรรว่าจ้างผู้นาที่
คาดว่าจะมีคาตอบ แต่นี่คือกับดัก
 ทฤษฎีว่าด้วยความซับซ้อน (Complexity Theory) แสดงให้เห็นว่า
ความแน่นอนคือความไม่แน่นอน ความรู้สึกจากข้างในจะ
สามารถช่วยเราได้ และช่วยให้เราได้พัฒนาตนเองอีกด้วย
5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา
 3. เรารู้สึกสบายใจเมื่ออยู่ได้ในบริเวณที่จัดไว้ให้จาเพาะตัว (We
are most comfortable working in silos) ด้วยโครงสร้างที่ต่างคน
ต่างอยู่ ทาให้เราแยกตัวจากผู้อื่น
 แต่สิ่งที่สมควรทาคือ การทางานแบบสหสาขา (cross-
functionally and across boundaries) เพื่อเติมเต็มให้แก่กันและกัน
5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา
 4. เรานิยมการครองอาณาเขตและการมีอานาจเหนือผู้อื่น (We
like to hold on to territory and power over others) ผลการวิจัย
พบว่า เมื่อได้รับการแต่งตั้ง ผู้คนมักหวงอานาจ
 เพื่อหาหนทางใหม่ ผู้ที่มีอานาจ ควรรู้จักการแบ่งปันอานาจ
 ความรู้สึกที่ดีมาจากภายใน จะช่วยให้รู้จักการปล่อยวาง
5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา
 5. เราสร้างป้อมปราการเพื่อให้เรารู้สึกเข้มแข็ง (We invest in
fortresses as if these will make us strong) เรื่องนี้ ไม่เกี่ยวกับ
โครงสร้างทางกายภาพ
 ความเข้มแข็งที่แท้จริงต้องมาจากภายใน ที่มีความตั้งมั่นและ
พากเพียรไม่ท้อถอย
The interior of the self
กระบวนการและโครงสร้างไม่สามารถก่อเกิดการปฏิบัติ ต้องอาศัยบุคคล
ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ
 1. มีความรู้สึกร่วมที่ชัดเจน (There is a very clear and shared
sense of a common situation) สถานการณ์ (situation) เป็น
บริบทสาคัญที่ทาให้เกิดการกระทา ก่อเกิดเป็นจุดมุ่งหมาย หรือ
วิสัยทัศน์
 สถานการณ์รวมถึง เวลา สถานที่ เหตุการณ์ และบุคคล ทั้งที่เป็น
ปัจจุบันและอดีตที่ผ่านมา
 สถานการณ์เป็นตัวกาหนดให้เราต้องผูกพันกัน มีความเข้าใจ
ร่วมกัน มีความจาเป็นต้องลงมือทาร่วมกัน
ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ
 2. มีความรู้สึกผูกพัน และปรารถนาร่วมกันในการลงมือปฏิบัติ
(There is a collective will to engage in the situation – a shared
sense of determination that transcends the ordinary, calls us into
action) เมื่อเกิดวิกฤต ทาให้เราต้องลงมือทาในสิ่งที่สาคัญโดย
เร่งด่วน ตามพันธสัญญาที่เป็นความหวังร่วมกัน
 ความหวังร่วม เกิดจากมีความปรารถนา ความเชื่อ และความ
ต้องการร่วมกัน ทั้งในระดับการปฏิบัติและจิตวิญญาณ
 ความหวังร่วม ต้องร่วมมือกัน จึงจะมีพลัง
ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ
 3. ไม่มีสิ่งใดมาเป็นอุปสรรคต่อความต้องการนั้น ๆ (There are
no structural obstacles – people are free to do what is needed,
unencumbered by formal rules and protocols) ลักษณะทาง
กายภาพหรือกระบวนการ ไม่ใช่สิ่งกีดขวางในการร่วมมือกัน ใน
การจัดการกับวิกฤตที่เผชิญอยู่
 มนุษย์ไม่ใช่เครื่องจักรที่จะควบคุมได้ มนุษย์มีความสามารถใน
การจัดระเบียบรูปแบบ ของความจาเป็น ได้ด้วยตนเอง
ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ
 4. เราต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน (We remember we need each
other – not soloists but ensemble performers) เราไม่สามารถทา
ได้สาเร็จเพียงลาพัง
 ต้องร่วมมือกันและกัน เพราะเรามีความหวังร่วมกัน
Many instruments, playing a shared song
เครื่องดนตรีหลากชิ้ น เล่นเป็ นเพลงร่วมกัน
 De-mechanization Methods เป็นการรับรู้รับทราบความเป็นจริง
โดยใช้ทุกประสาทสัมผัส และไม่มีการตัดสินถูกผิดตามความเชื่อ
ที่ปรุงแต่งของเรา
 หลายคนใช้โยคะหรือการทาสมาธิ เพื่อเป็นการเชื่อมโยงระหว่าง
กายและจิตภายใน
 เช่นเดียวกับศิลปินที่ปล่อยกายและใจ ให้ดูดดื่มไปกับการรับรู้
ของระบบสัมผัสอย่างเสรี
 ต่อไป จะเป็นตัวอย่างที่ใช้ในการปลดปล่อยละวาง ความเป็น
ตัวตนของตนก่อนเข้าสู่กิจกรรมที่เป็นเนื้ อหาหลัก
ก่อนเริ่มกิจกรรม (ใช้เวลา 5 นาที)
 นั่งหรือนอนราบในท่าที่สบาย หลับตาให้สนิทตลอดรายการ
หายใจลึก ๆ ช้า ๆ เข้าทางจมูก ออกทางปาก 2-3 รอบ
 จากนั้นให้นึกถึงดวงแก้วใสและอบอุ่นลูกเล็ก ๆ วิ่งโคจรจาก
ปลายเท้าซ้ายขึ้นมาตามขาผ่านกระดูกสันหลังไปไหล่ซ้าย แขน
ซ้าย มือซ้าย ปลายนิ้ ว แล้วเลื่อนไปที่ท้ายทอย ขึ้นบนศีรษะ ผ่าน
หน้าผาก ใบหน้า ตาซ้าย ตาขวา จมูก ปาก คาง ลาคอ ไปไหล่
ขวา แขนขวา มือขวา นิ้ วมือ ขึ้นมาไหล่ขวา ไปตามสันหลัง ลงไป
ขาขวา เข่าขวา เท้าขวา ข้อเท้าขวา นิ้ วเท้าขวา ลืมตาช้า ๆ (จบ)
ฝึกการรับรู้ร่างกาย
 นั่งบนเก้าอี้ ให้ถือหนังสือ 1 เล่ม หลับตาให้สนิทตลอดการฝึก
 ยืนช้า ๆ ให้รับรู้การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้ อทุกมัดที่ทาหน้าที่
ค่อย ๆ ก้าวไปข้างหน้า 1 ก้าวช้า ๆ ให้รู้สึกการทางานของ
ร่างกายทุกส่วน ก้าวอีก 1 ก้าว ช้า ๆ รับรู้ความรู้สึก ปล่อย
หนังสือจากมือ ใช้ทุกประสาทรับรู้หนังสือตก ค่อย ๆ ก้มลงหยิบ
หนังสือโดยไม่เปิดตาอย่างช้า ๆ รับรู้การทางานของร่างกาย
ค่อย ๆ ยืนขึ้นช้า ๆ รับรู้ความรู้สึกของร่างกาย ลืมตาช้าๆ (จบ)
 ต่อไปตลอดวัน ให้พยายามฝึกรับรู้การเคลื่อนไหวของร่างกาย
การปลดปล่อยอารมณ์เสีย
 แทนที่จะแสดงอารมณ์ออกมา ให้ปรับเปลี่ยนอารมณ์เป็นการ
แสดงออกทางกายแทน
 วิธีการ นั่งสบาย ๆ หลับตา ปิดเปลือกตาแน่น ๆ แล้วปล่อย 9
ครั้ง ทาจมูกบานแล้วหุบ 9 ครั้ง ทาปากจู๋แล้วแยกเขี้ยว 9 ครั้ง
 หายใจเข้ายาวทางจมูก ให้รู้สึกถึงในท้อง คือท้องพอง แล้วปล่อย
ลมหายใจออกทางปาก หายใจเข้ารู้ว่าหายใจเข้าถึงพุง หายใจ
ออกทางปาก เน้นการรู้สึกถึงลมหายใจเข้าออก
 สักพัก จะรู้สึกถึงการได้ปลดปล่อยความเครียด จิตใจจะสบาย
 กิจกรรมกลุ่มที่แนะนาให้ทานี้ เพื่อพัฒนาแรงบันดาลใจร่วมกัน
และสร้างพลังแห่งการเปลี่ยนแปลง
 โดยเฉพาะกรณีมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ที่ต้องอาศัยความ
ร่วมมือกันแบบข้ามขอบเขต เพื่อสร้างสิ่งแตกต่างไปจากเดิมได้
อย่างยั่งยืน
 แบ่งผู้เข้าประชุมกลุ่มละ 6-10 คน
 ให้แต่ละคนวาดภาพ (หรือบรรยาย) สถานการณ์ปัจจุบันของ
องค์กร หรือสิ่งแวดล้อม ในมุมมองของแต่ละคนออกมาเสนอให้
คนในกลุ่มฟัง โดยไม่มีการตัดสินถูกผิด
 ผู้ประสานงาน (Facilitator) พยายามรวบรวมสิ่งที่ทุกคนนาเสนอ
ออกมาเป็นภาพรวมที่เป็นความจริงร่วมกัน (Shared Current
Reality) โดยใช้เทคนิค Café dialog เพื่อได้เป็นภาพรวมของกลุ่ม
 แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอ
 แต่ละกลุ่มทบทวนภาพสถานการณ์ร่วมของกลุ่ม
 เลือกใช้การตั้งสติ จากวิธีก่อนเข้าสู่กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง
 สมาชิกกลุ่มแต่ละคน ให้หลับตาแล้วนึกว่าตนเองอยู่ในภาพนั้น
แล้วถามตนเองว่า เราต้องการอะไร หรือเราตั้งใจจะทาอะไร ให้
นึกต่อไปว่าตนเองได้ทาในสิ่งที่ต้องการนั้น
 แต่ละคนวาดภาพที่ตนได้คาดหวังไว้ แล้วนาเสนอให้คนในกลุ่ม
ฟัง จากนั้นนาภาพติดไว้ที่ฝาผนัง
 ผู้ประสานงาน รวบรวมแนวคิดหรือคาบรรยาย พยายามปรับ
รูปภาพของกลุ่มให้เป็นที่ยอมรับ
 เขียนบทบาทหรือหน้าที่ ของแต่ละกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ว่ามีส่วนในการขับเคลื่อนระบบใหม่อย่างไร มีปฏิสัมพันธ์หรือ
ต้องทางานร่วมมือกับใครบ้าง มีบทบาทในการสนับสนุนอย่างไร
เช่นเดียวกับเครื่องดนตรีหลากชิ้น ที่ร่วมกันเล่นเพลงเดียวกัน
 ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงาน
One Square Mile
การเริ่มต้นใหม่ อาจเป็นหนทางออกของปัญหาที่ติดขัดมานาน
 การเริ่มต้นใหม่ ให้สมมุติว่ามีพื้นที่เปล่าๆ อยู่ 1 ตารางไมล์
 ให้ถามตนเองว่า จริง ๆ แล้ว เราต้องการอะไรบ้างที่จาเป็น แล้ว
สิ่งที่ต้องการนั้น จะทาให้ความหวังเกิดเป็นจริงได้อย่างไร
 ระดมสมอง หาวิธีการใหม่ที่ไม่ซ้ากับของเดิมที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็น
การจัดรูปแบบโครงสร้างหรือกระบวนการ โดยถามว่า ต้องใช้ใคร
เขาต้องการสิ่งใดบ้าง ทาอย่างไรเขาจึงจะรู้สึกปลอดภัยและมี
ความสุข ต้องมีสิ่งแวดล้อมอย่างไรในการสนับสนุนเขา โดย
พยายามมองนอกกรอบ
 นาความคิดมาวาดลงในกระดาษ หาวิธีทาให้เป็นจริง แล้วนาเสนอ
Gandhi
ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล
ที่กรุณาให้หนังสือเล่มนี้ มาศึกษา

More Related Content

What's hot

ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดPadvee Academy
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิTeacher Sophonnawit
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 

What's hot (20)

ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิศาสตร์แห่งสมาธิ
ศาสตร์แห่งสมาธิ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๔ ลำดับขั้นตอนการปฏิบัิติวิปัสสนากรรมฐาน
 
พระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซนพระพุทธศาสนานิกายเซน
พระพุทธศาสนานิกายเซน
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 

Viewers also liked

ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership maruay songtanin
 
บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders
บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders
บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders maruay songtanin
 
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPOmaruay songtanin
 
การเขียนโครงการ Project writing
การเขียนโครงการ Project writing การเขียนโครงการ Project writing
การเขียนโครงการ Project writing maruay songtanin
 
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing maruay songtanin
 
เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures
เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures
เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures maruay songtanin
 
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons maruay songtanin
 
แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7
แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7 แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7
แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7 maruay songtanin
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy maruay songtanin
 
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines maruay songtanin
 
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity maruay songtanin
 
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips 6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips maruay songtanin
 
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำDecoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำmaruay songtanin
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6 maruay songtanin
 
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics maruay songtanin
 
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century maruay songtanin
 
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1 ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1 maruay songtanin
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4) maruay songtanin
 
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence maruay songtanin
 
วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life
วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life
วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
 
บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders
บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders
บริหารจัดการข้ามพรมแดน Managing across borders
 
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง Five keys to building HPO
 
การเขียนโครงการ Project writing
การเขียนโครงการ Project writing การเขียนโครงการ Project writing
การเขียนโครงการ Project writing
 
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
 
เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures
เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures
เรียนรู้จากความล้มเหลว Learning from spectacular failures
 
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
 
แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7
แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7 แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7
แนวทางการให้คะแนน - PMK internal assessor 7
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
 
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
แนวทางการให้คะแนนของ Blazey - Blazey's scoring guidlines
 
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
 
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips 6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
6 กลเม็ดการติดต่อสื่อสาร 6 powerful communication tips
 
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำDecoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น - PMK internal assessor 6
 
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
การวิเคราะห์ทุนมนุษย์ Human capital analytics
 
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
 
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1 ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
 
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ Tips on journey to excellence
 
วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life
วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life
วิธีจัดการกับชีวิตและการงาน Work vs life
 

Similar to ดีจากภายใน Inside out

มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2Prapaporn Boonplord
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5Moo Ect
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge
บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge
บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge maruay songtanin
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนKasem S. Mcu
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 

Similar to ดีจากภายใน Inside out (20)

มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
มนุษยสัมพันธ์กับการทำงานเป็นทีม2
 
N310552 5
N310552 5N310552 5
N310552 5
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge
บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge
บัดเดี๋ยวนี้ Presence by Peter Senge
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
51105
5110551105
51105
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 

More from maruay songtanin

070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
051 มหาสีลวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
051 มหาสีลวชาดก  พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...051 มหาสีลวชาดก  พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
051 มหาสีลวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
070 กุททาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
069 วิสวันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
067 อุจฉังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
066 มุทุลักขณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
065 อนภิรติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
064 ทุราชานชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
063 ตักกปัณฑิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
062 อัณฑภูตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
061 อสาตมันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
058 ตโยธัมมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
057 วานรินทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
056 กัญจนักขันธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...055  ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
055 ปัญจาวุธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
054 ผลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
053 ปุณณปาติชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
052 จูฬชนกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
051 มหาสีลวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
051 มหาสีลวชาดก  พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...051 มหาสีลวชาดก  พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
051 มหาสีลวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
050 ทุมเมธชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
049 นักขัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
048 เวทัพพชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

ดีจากภายใน Inside out

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 8 กรกฎาคม 2557
  • 3.  แนวคิดเรื่อง ดีจากภายใน (Inside-Out) โดย Tracy Huston มี ที่มาจาก U-Theory ในหนังสือบัดเดี๋ยวนี้ (Presencing) ซึ่ง ประพันธ์โดย Peter Senge  เป็นวิธีการใช้พัฒนาผู้นา เพื่อมุ่งสู่อนาคตที่ต้องการ  Huston ใช้ประสบการณ์มากมายจากการเล่าเรื่อง และการทา กิจกรรมกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการเปลี่ยนแปลงระบบ ที่เริ่มจากภายในออกมา
  • 5. 5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา  1. อุปนิสัยเดิมทาให้เรามีข้อจากัด (Habits hardwire us into limited ways of being) เรามักใช้โครงสร้างแบบลาดับชั้น (Hierarchical constructs) เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ในอนาคต  วิธีการนี้ ที่มีทั้งข้อดีและข้อด้อยคือ โครงสร้างแบบลาดับชั้นที่มี อยู่ อาจทาให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ทันกาล เพื่อแก้ไขอุปนิสัยนี้ เราต้องมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดและมุมมอง ที่เริ่มมาจากภายใน
  • 6. 5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา  2. เราเชื่อมั่นในสิ่งที่เราคิดว่าเรารู้ (We base our self-worth on what we know) เราชื่นชมผู้เชี่ยวชาญ และคัดสรรว่าจ้างผู้นาที่ คาดว่าจะมีคาตอบ แต่นี่คือกับดัก  ทฤษฎีว่าด้วยความซับซ้อน (Complexity Theory) แสดงให้เห็นว่า ความแน่นอนคือความไม่แน่นอน ความรู้สึกจากข้างในจะ สามารถช่วยเราได้ และช่วยให้เราได้พัฒนาตนเองอีกด้วย
  • 7. 5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา  3. เรารู้สึกสบายใจเมื่ออยู่ได้ในบริเวณที่จัดไว้ให้จาเพาะตัว (We are most comfortable working in silos) ด้วยโครงสร้างที่ต่างคน ต่างอยู่ ทาให้เราแยกตัวจากผู้อื่น  แต่สิ่งที่สมควรทาคือ การทางานแบบสหสาขา (cross- functionally and across boundaries) เพื่อเติมเต็มให้แก่กันและกัน
  • 8. 5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา  4. เรานิยมการครองอาณาเขตและการมีอานาจเหนือผู้อื่น (We like to hold on to territory and power over others) ผลการวิจัย พบว่า เมื่อได้รับการแต่งตั้ง ผู้คนมักหวงอานาจ  เพื่อหาหนทางใหม่ ผู้ที่มีอานาจ ควรรู้จักการแบ่งปันอานาจ  ความรู้สึกที่ดีมาจากภายใน จะช่วยให้รู้จักการปล่อยวาง
  • 9. 5 ข้อเสนอแนะที่ให้เริ่มจากภายในออกมา  5. เราสร้างป้อมปราการเพื่อให้เรารู้สึกเข้มแข็ง (We invest in fortresses as if these will make us strong) เรื่องนี้ ไม่เกี่ยวกับ โครงสร้างทางกายภาพ  ความเข้มแข็งที่แท้จริงต้องมาจากภายใน ที่มีความตั้งมั่นและ พากเพียรไม่ท้อถอย
  • 10. The interior of the self กระบวนการและโครงสร้างไม่สามารถก่อเกิดการปฏิบัติ ต้องอาศัยบุคคล
  • 11. ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ  1. มีความรู้สึกร่วมที่ชัดเจน (There is a very clear and shared sense of a common situation) สถานการณ์ (situation) เป็น บริบทสาคัญที่ทาให้เกิดการกระทา ก่อเกิดเป็นจุดมุ่งหมาย หรือ วิสัยทัศน์  สถานการณ์รวมถึง เวลา สถานที่ เหตุการณ์ และบุคคล ทั้งที่เป็น ปัจจุบันและอดีตที่ผ่านมา  สถานการณ์เป็นตัวกาหนดให้เราต้องผูกพันกัน มีความเข้าใจ ร่วมกัน มีความจาเป็นต้องลงมือทาร่วมกัน
  • 12. ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ  2. มีความรู้สึกผูกพัน และปรารถนาร่วมกันในการลงมือปฏิบัติ (There is a collective will to engage in the situation – a shared sense of determination that transcends the ordinary, calls us into action) เมื่อเกิดวิกฤต ทาให้เราต้องลงมือทาในสิ่งที่สาคัญโดย เร่งด่วน ตามพันธสัญญาที่เป็นความหวังร่วมกัน  ความหวังร่วม เกิดจากมีความปรารถนา ความเชื่อ และความ ต้องการร่วมกัน ทั้งในระดับการปฏิบัติและจิตวิญญาณ  ความหวังร่วม ต้องร่วมมือกัน จึงจะมีพลัง
  • 13. ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ  3. ไม่มีสิ่งใดมาเป็นอุปสรรคต่อความต้องการนั้น ๆ (There are no structural obstacles – people are free to do what is needed, unencumbered by formal rules and protocols) ลักษณะทาง กายภาพหรือกระบวนการ ไม่ใช่สิ่งกีดขวางในการร่วมมือกัน ใน การจัดการกับวิกฤตที่เผชิญอยู่  มนุษย์ไม่ใช่เครื่องจักรที่จะควบคุมได้ มนุษย์มีความสามารถใน การจัดระเบียบรูปแบบ ของความจาเป็น ได้ด้วยตนเอง
  • 14. ผลดีของการรวมความรู้สึกจากภายใน 4 ประการ  4. เราต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน (We remember we need each other – not soloists but ensemble performers) เราไม่สามารถทา ได้สาเร็จเพียงลาพัง  ต้องร่วมมือกันและกัน เพราะเรามีความหวังร่วมกัน
  • 15. Many instruments, playing a shared song เครื่องดนตรีหลากชิ้ น เล่นเป็ นเพลงร่วมกัน
  • 16.  De-mechanization Methods เป็นการรับรู้รับทราบความเป็นจริง โดยใช้ทุกประสาทสัมผัส และไม่มีการตัดสินถูกผิดตามความเชื่อ ที่ปรุงแต่งของเรา  หลายคนใช้โยคะหรือการทาสมาธิ เพื่อเป็นการเชื่อมโยงระหว่าง กายและจิตภายใน  เช่นเดียวกับศิลปินที่ปล่อยกายและใจ ให้ดูดดื่มไปกับการรับรู้ ของระบบสัมผัสอย่างเสรี  ต่อไป จะเป็นตัวอย่างที่ใช้ในการปลดปล่อยละวาง ความเป็น ตัวตนของตนก่อนเข้าสู่กิจกรรมที่เป็นเนื้ อหาหลัก
  • 17. ก่อนเริ่มกิจกรรม (ใช้เวลา 5 นาที)  นั่งหรือนอนราบในท่าที่สบาย หลับตาให้สนิทตลอดรายการ หายใจลึก ๆ ช้า ๆ เข้าทางจมูก ออกทางปาก 2-3 รอบ  จากนั้นให้นึกถึงดวงแก้วใสและอบอุ่นลูกเล็ก ๆ วิ่งโคจรจาก ปลายเท้าซ้ายขึ้นมาตามขาผ่านกระดูกสันหลังไปไหล่ซ้าย แขน ซ้าย มือซ้าย ปลายนิ้ ว แล้วเลื่อนไปที่ท้ายทอย ขึ้นบนศีรษะ ผ่าน หน้าผาก ใบหน้า ตาซ้าย ตาขวา จมูก ปาก คาง ลาคอ ไปไหล่ ขวา แขนขวา มือขวา นิ้ วมือ ขึ้นมาไหล่ขวา ไปตามสันหลัง ลงไป ขาขวา เข่าขวา เท้าขวา ข้อเท้าขวา นิ้ วเท้าขวา ลืมตาช้า ๆ (จบ)
  • 18. ฝึกการรับรู้ร่างกาย  นั่งบนเก้าอี้ ให้ถือหนังสือ 1 เล่ม หลับตาให้สนิทตลอดการฝึก  ยืนช้า ๆ ให้รับรู้การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้ อทุกมัดที่ทาหน้าที่ ค่อย ๆ ก้าวไปข้างหน้า 1 ก้าวช้า ๆ ให้รู้สึกการทางานของ ร่างกายทุกส่วน ก้าวอีก 1 ก้าว ช้า ๆ รับรู้ความรู้สึก ปล่อย หนังสือจากมือ ใช้ทุกประสาทรับรู้หนังสือตก ค่อย ๆ ก้มลงหยิบ หนังสือโดยไม่เปิดตาอย่างช้า ๆ รับรู้การทางานของร่างกาย ค่อย ๆ ยืนขึ้นช้า ๆ รับรู้ความรู้สึกของร่างกาย ลืมตาช้าๆ (จบ)  ต่อไปตลอดวัน ให้พยายามฝึกรับรู้การเคลื่อนไหวของร่างกาย
  • 19. การปลดปล่อยอารมณ์เสีย  แทนที่จะแสดงอารมณ์ออกมา ให้ปรับเปลี่ยนอารมณ์เป็นการ แสดงออกทางกายแทน  วิธีการ นั่งสบาย ๆ หลับตา ปิดเปลือกตาแน่น ๆ แล้วปล่อย 9 ครั้ง ทาจมูกบานแล้วหุบ 9 ครั้ง ทาปากจู๋แล้วแยกเขี้ยว 9 ครั้ง  หายใจเข้ายาวทางจมูก ให้รู้สึกถึงในท้อง คือท้องพอง แล้วปล่อย ลมหายใจออกทางปาก หายใจเข้ารู้ว่าหายใจเข้าถึงพุง หายใจ ออกทางปาก เน้นการรู้สึกถึงลมหายใจเข้าออก  สักพัก จะรู้สึกถึงการได้ปลดปล่อยความเครียด จิตใจจะสบาย
  • 20.  กิจกรรมกลุ่มที่แนะนาให้ทานี้ เพื่อพัฒนาแรงบันดาลใจร่วมกัน และสร้างพลังแห่งการเปลี่ยนแปลง  โดยเฉพาะกรณีมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลายกลุ่ม ที่ต้องอาศัยความ ร่วมมือกันแบบข้ามขอบเขต เพื่อสร้างสิ่งแตกต่างไปจากเดิมได้ อย่างยั่งยืน
  • 21.  แบ่งผู้เข้าประชุมกลุ่มละ 6-10 คน  ให้แต่ละคนวาดภาพ (หรือบรรยาย) สถานการณ์ปัจจุบันของ องค์กร หรือสิ่งแวดล้อม ในมุมมองของแต่ละคนออกมาเสนอให้ คนในกลุ่มฟัง โดยไม่มีการตัดสินถูกผิด  ผู้ประสานงาน (Facilitator) พยายามรวบรวมสิ่งที่ทุกคนนาเสนอ ออกมาเป็นภาพรวมที่เป็นความจริงร่วมกัน (Shared Current Reality) โดยใช้เทคนิค Café dialog เพื่อได้เป็นภาพรวมของกลุ่ม  แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอ
  • 22.  แต่ละกลุ่มทบทวนภาพสถานการณ์ร่วมของกลุ่ม  เลือกใช้การตั้งสติ จากวิธีก่อนเข้าสู่กิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง  สมาชิกกลุ่มแต่ละคน ให้หลับตาแล้วนึกว่าตนเองอยู่ในภาพนั้น แล้วถามตนเองว่า เราต้องการอะไร หรือเราตั้งใจจะทาอะไร ให้ นึกต่อไปว่าตนเองได้ทาในสิ่งที่ต้องการนั้น  แต่ละคนวาดภาพที่ตนได้คาดหวังไว้ แล้วนาเสนอให้คนในกลุ่ม ฟัง จากนั้นนาภาพติดไว้ที่ฝาผนัง  ผู้ประสานงาน รวบรวมแนวคิดหรือคาบรรยาย พยายามปรับ รูปภาพของกลุ่มให้เป็นที่ยอมรับ
  • 23.  เขียนบทบาทหรือหน้าที่ ของแต่ละกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ว่ามีส่วนในการขับเคลื่อนระบบใหม่อย่างไร มีปฏิสัมพันธ์หรือ ต้องทางานร่วมมือกับใครบ้าง มีบทบาทในการสนับสนุนอย่างไร เช่นเดียวกับเครื่องดนตรีหลากชิ้น ที่ร่วมกันเล่นเพลงเดียวกัน  ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงาน
  • 24. One Square Mile การเริ่มต้นใหม่ อาจเป็นหนทางออกของปัญหาที่ติดขัดมานาน
  • 25.  การเริ่มต้นใหม่ ให้สมมุติว่ามีพื้นที่เปล่าๆ อยู่ 1 ตารางไมล์  ให้ถามตนเองว่า จริง ๆ แล้ว เราต้องการอะไรบ้างที่จาเป็น แล้ว สิ่งที่ต้องการนั้น จะทาให้ความหวังเกิดเป็นจริงได้อย่างไร  ระดมสมอง หาวิธีการใหม่ที่ไม่ซ้ากับของเดิมที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็น การจัดรูปแบบโครงสร้างหรือกระบวนการ โดยถามว่า ต้องใช้ใคร เขาต้องการสิ่งใดบ้าง ทาอย่างไรเขาจึงจะรู้สึกปลอดภัยและมี ความสุข ต้องมีสิ่งแวดล้อมอย่างไรในการสนับสนุนเขา โดย พยายามมองนอกกรอบ  นาความคิดมาวาดลงในกระดาษ หาวิธีทาให้เป็นจริง แล้วนาเสนอ
  • 26. Gandhi ขอขอบคุณ พันเอกหญิง อังคณา สุเมธสิทธิกุล ที่กรุณาให้หนังสือเล่มนี้ มาศึกษา