SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
พุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่:
พุทธวิธีคลายเครียด
กายเครียด ใจก็เครียด
• ตัวอย่างที่แสดงให้เห็น
ชัดเจนก็คือ เมื่อสมัยที่พระองค์
ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาทรมาน
พระวรกายก็ด้วยทรงมีความ
เข้าใจว่าคนจะมีสุขได้ ก็ด้วย
ความทุกข์ หมายความว่าต้อง
ผ่านความทุกข์ยากมาก่อนจึงจะ
สามารถเข้าถึงความสุขได้ นี่คือ
เหตุผลสาคัญที่ทาให้พระพุทธ
องค์ต้องทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา
อะไรคือเหตุผลที่ทาให้พระพุทธองค์
บาเพ็ญทุกรกิริยา ??
• ต่อมาก็ได้ทรงค้นพบความจริงว่า ความสุขไม่จาเป็นต้องเข้าถึงด้วยความ
ทุกข์ ความสุขสามารถเข้าถึงด้วยความสุข กล่าวคือ ความสุขจะเข้าถึงได้
ด้วยการทาเหตุปัจจัยของความสุข
• เมื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามเหตุปัจจัย คนที่มีปราโมทย์ มีปีติ มีปัสสัทธิ ก็
ย่อมมีจะมีความสุข เพราะได้ทาเห็นปัจจัยของความสุขถูกต้อง
• ปัญหาสาคัญของการทาทุกกรกิริยา คือ การทาให้ร่างกาย
เครียด พระพุทธเจ้าตรัสเล่าว่า ขณะที่ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา
ทรมานพระวรกายนั้น ความเพียรก็เป็นไปด้วยดี สติของ
พระองค์ก็ดีมีความชัดเจน แต่ไม่สาเร็จประโยชน์เพราะกาย
เครียด และความเครียดนี้พระพุทธองค์ตรัสว่า เป็นอกุศลธรรม
เป็นบาปที่จะต้องกาจัดออกไป
อกุศลธรรม ๑๐ ประการ
• ๑. โลภะ ความคิดจะเอาของคนอื่น
• ๒. โทสะ ความขัดเคืองคับแค้นใจ
• ๓. ถีนมิทธะ ความหดหู่ท้อแท้วุ่นวายใจ
• ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้ งซ่านวุ่นวายใจ
• ๕. วิจิกิจฉา ความระแวงคลางแคลงใน
• ๖. โกธนะ ความมักโกรธ ความโกรธบ่อยๆ
• ๗. สังกิลิฎฐะ ความมีจิตขุ่นมัว
• ๘. สารัทธกาย ความมีกายเครียด
• ๙. กุสีตะ ความเกียจคร้าน
• ๑๐. อสมาหิตะ ความไม่มีสมาธิ
ความเครียดคืออะไร
• ความเครียด เป็นภาวะของอารมณ์ หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้น
เมื่อเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ที่ทาให้รู้สึกไม่สบายใจ คับข้องใจ
หรือถูกบีบคั้น กดดันจนทาให้เกิดความรู้สึกทุกข์ใจ สับสน โกรธ
หรือเสียใจ
• ในวงการแพทย์ยอมรับว่าความเครียด (Stress) ทาให้เกิด
โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง ความเครียดทาให้การสร้างภูมิ
ต้านทานของร่ายกายลดลง เกิดภาวะไม่สมดุลทางฮอร์โมน
กลายเป็นตัวส่งเสริมให้เซลล์มะเร็งขยายตัวได้ง่าย
ความเครียดเกิดจากอะไร
• ๑ เครียดเพราะอารมณ์สุดโต่ง เช่น รักมาก โลภมาก โกรธมาก
เกลียดมาก หลงมาก อิจฉามาก ริษยามาก นินทามาก
สุนัขตายอื้อ ขนย้ายบอบช้า
ความเครียดเกิดจากอะไร
• ๒. เครียดเพราะความคิดที่เป็นพิษ เช่น คิดว่าตนถูกใส่ร้าย คิด
ว่าตนถูกกลั่นแกล้ง คิดว่าตนไม่สมหวัง คิดว่าเราต้องเอาชนะ
คนนั้นให้ได้ เราแพ้ไม่ได้ ความคิดเช่นนี้ จะทาให้เรามีปมด้อย
ในชีวิต
ความเครียดเกิดจากอะไร
• ๓. เครียดเพราะปากท้อง คนที่ไม่มีจะกินก็ทุกข์เพราะไม่รู้ว่า พรุ่งนี้จะหา
อาหารที่ไหนมาใส่ท้อง ไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะนอนที่ใด ส่วนคนมีกินแล้ว มีที่อยู่
ปลอดภัยแล้วก็กังวลเป็นทุกข์จะถูกปล้นจี้ ถูกขโมย ถูกเอาเปรียบ
วิธีคลายเครียดด้วยสมาธิ
• สมาธิ คือ การทาใจและอารมณ์ให้นิ่ง ปัญหาต่างๆ ที่เราแก้
ไม่ได้ มองไม่เห็น เมื่อใจนิ่ง อารมณ์เย็น ก็จะเปิ ดออกมาให้เรา
เห็นปม
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา
• วิธีที่ ๑ กล้าเผชิญความจริง
• ความเครียด ทั้งปวงเกิดจากความวิตกกังวล คนเราจะวิตกกังวลทุกอย่าง
เมื่อความจริงยังไม่ปรากฏ แต่เมื่อเผชิญความจริงแล้ว สติปัญญาที่จะ
แก้ปัญหาก็มาเอง
• แม้เรื่องอริยสัจ ๔ ก็เป็นเรื่องสอนให้คนกล้าเผชิญความจริง โดยเฉพาะ
ทรงสอนเรื่อง ”ทุกข์” ทรงนาเสนอความทุกข์ประเภทต่างๆ เช่น ทรงสอน
วิธีหาเหตุแห่งทุกข์นั้นว่ามาจากความทะยานอยาก เมื่อเรารู้ชัดถึงเหตุ
แห่งทุกแล้ว วิธีการแก้ไขปัญหาก็จะตามมา
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา
• วิธีที่ ๒ เข้าใจเรื่องอารมณ์ของตนและของคน “จริต ๖”
• พระพุทธเจ้า ตรัสแสดงความแตกต่างของคนไว้ที่ จริต คนเหมือนกัน แต่
ถ้าจริตต่างกัน ก็จะมีอารมณ์ต่างๆ กัน ความต่างกันของอารมณ์นี่เอง ที่
ทาให้มนุษย์เราคิดต่างกัน เกิดความขัดแย้งกันตลอดเวลา กระทั่งนา
ความเครียดมาให้เรา ด้วยเหตุนี้ เราจึงจาเป็นต้องเรียนรู้พฤติกรรมของ
คนในจริต ๖ เมื่อเราเข้าใจลักษณะของคนแล้ว เราก็จะไม่เครียด
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา
• วิธีที่ ๓ ไม่คาดหวัง แต่พิจารณาความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง
• ความเครียดอย่างหนึ่งมักเกิดจากความคาดหวัง เป็นธรรมดาที่มนุษย์ทา
อะไรมักหวังผลตอบสนอง เมื่อลงทุนก็หวังกาไร ไม่มีใครหวังขาดทุน แม้
ทาบุญยังหวังผลบุญ เมื่อหวังจึงมีทั้งสมหวังและผิดหวัง สมเด็จพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงสอนให้คนรู้จักหลักความจริง ๓ ข้อ คือ
▫ ความเปลี่ยนแปลง
▫ ความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้
▫ และความที่เราไม่อาจยื้อสิ่งใดๆ ไว้ในอานาจได้ตลอดไป
หมั่นพิจารณาสรรพสิ่งที่เราเผชิญว่า
• “ทุกอย่างล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป”
• “ชีวิตมีได้มีเสียเสมอ การเสียบางอย่าง ก็เพื่อให้ได้บางอย่างมา”
• “ไม่มีใครได้ตลอด แก้วที่เต็มน้าแล้วจะรับน้าใหม่ไม่ได้ เราหัด
ทาชีวิตให้พร่องบ้างก็ดีเพื่อรองรับสิ่งใหม่”
• “สิ่งที่ดีที่สุดไม่มี มีแต่สิ่งที่ดีพอสมควร”
• “อย่าแสวงหาคนดีที่ดีที่สุดในชีวิต ท่านจะหาอะไรไม่ได้เลย”
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา
• วิธีที่ ๔ ปิ ด เปิ ดประตูรับรู้ให้เป็นเวลา
• พระพุทธเจ้า ทรงสอนให้รู้จักผัสสะ คือ รสชาติแห่งการรับสัมผัสทางตา หู
จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่หลง และที่สาคัญมีสติ ปิ ด เปิ ด เมื่อถึงเวลาอัน
เหมาะสมเหมือนกับใช้โทรศัพท์มือถือ ต้องรู้จักปิ ดเมื่อขับขี่ยานพาหนะ
ต้องรู้จักปิ ดเมื่ออยู่ในที่ประชุม หรือชุมชน หรือเวลานอน เป็นต้น โลกยุค
ใหม่ อาจมองดูเหมือนโก้เก๋ทันสมัย แต่แท้จริงแล้วนั่นคือ สายในที่ต่อท่อ
ความเครียดเข้ามาถึงใต้หมอน หากไม่รู้จักปิ ด เปิ ด
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา
• วิธีที่ ๕ คนส่วนมากเครียดเรื่องของคนอื่นมิใช่เรื่องของตน
• โดยธรรมชาติ คนเรามักเป็นทุกข์ เพราะเรื่องคนอื่น เรื่องของตนมีน้อย
เรื่องของคนอื่นที่ไม่ใช่เรื่องส่วนรวม เราควรทิ้งไว้นอกประตูบ้าน ไม่นา
ขยะความคิดใดๆ เข้าบ้านของเราเอง การนาไฟในออก นาไฟนอกเข้ามา
บ้าน คือ ปัญหาที่สังคมแก้ไม่ตก บ้านใดเรือนใด ครอบครัวใด ฉลาดเรื่อง
ไฟ ก็จะไม่ถูกไฟเผาไหม้ให้ร้อนรน
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา
• วิธีที่ ๖ ฝึกแผ่เมตตา นึกถึงกฎแห่งกรรมมากกว่ากฎหมาย
• ในทางพระพุทธศาสนา ทรงสอนให้รู้จักผ่อนคลายด้วยการนึกถึงกฎแห่ง
กรรม นึกว่า สัตว์โลกมีกรรมเป็นของๆ ตน มีกรรมเป็นผู้ให้ผล มีกรรม
เป็นแดนเกิด มีกรรมเป็นผู้ติดตาม มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย ไม่ว่าจะทา
กรรมใดๆ ดีหรือชั่ว ก็จักได้รับผลของกรรมนั้นสืบไป ไม่มีเปลี่ยนแปลง
คิดได้อย่างนี้แล้วสบายใจ
วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา (สุดท้าย)
• วิธีที่ ๗ นึกถึงธรรมชาติที่เหมือนกันของสัตว์ทั้งหลาย
• มองให้เห็นความเสมอกันระหว่างสัตว์ทั้งหลาย รวมทั้งคนอื่นและตัวเรา
เองว่า ต้องเผชิญความลาบากในสังสารวัฏเหมือนกัน คือ ต้องดูแลขันธ์ ๕
ต้องถูกโรคภัยเบียดเบียน ต้องแก่ ต้องเจ็บ และสุดท้าย “สัตว์ทั้งหลาย
ต้องตาย” ความตายเป็นปลายทางของชีวิตเหมือนกันหมด ไม่ว่าผู้นั้นจะ
ยากดีมีจนอย่างไร เขาและเราก็ไม่ต่างอะไรกัน เราไม่ต้องเครียดเพราะ
น้อยใจไปอิจฉาเขา ไม่ต้องเครียดไปโกรธเขา หากแต่มองให้เห็นปัญหา
ต่างๆ ในชีวิตเขาเหมือนกันกับเรา
บทสรุป
• ความสุขมักซ่อนตัวอยู่ใจกลางความเศร้า ความเหงามักซ่อน
ตัวอยู่ในความเริงร่า ความกล้ามักซ่อนตัวอยู่ในความกลัว ขอให้
มั่นใจเถิดว่า ปัญญามักซ่อนตัวอยู่ภายในปัญหาเสมอ ขอให้เรานิ่ง
คิด หยุดแล้วคิดให้นิ่ง ลึกซึ้งและหยุดความคิดให้ได้ ก็จะเห็นว่า
ปัญหาแต่ละอย่างนั้นมีทางออกเสมอ
• ความเครียด คลายได้ และความเครียดก็กาจัดให้หมดไปได้
ตามขั้นตอนต่างๆ ผ่านพุทธวิธีแบบประยุกต์ดังได้กล่าวมาแล้วนี้
ความสุขเกิดขึ้นได้เพราะความสงบ
ที่ใดสงบ..นั่นแหละที่นั่นมีสุข :)
The End
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตThanawut Rattanadon
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกวุฒิชาติ มาตย์นอก
 

What's hot (20)

อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
บทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิตบทบาทของผู้ผลิต
บทบาทของผู้ผลิต
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดกหน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 

Viewers also liked

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมPadvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ Padvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโลPadvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาPadvee Academy
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยPadvee Academy
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaardแนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
แนวคิดสำคัญของนักปรัชญาอัตถิภาวนิยม Soren kierkegaard
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
เสรีภาพและอัตถิภาวะแท้ของมนุษย์
 

Similar to พุทธวิธีคลายเครียด

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับWatpadhammaratana Pittsburgh
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์Rath Saadying
 
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์Manarom Hospital
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Watpadhammaratana Pittsburgh
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราSuradet Sriangkoon
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา Min Kannita
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมhuloo
 

Similar to พุทธวิธีคลายเครียด (20)

เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับLunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
Lunch talk - ธรรมะข้างสำรับ
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
สมาธิกับหลักวิทยาศาสตร์
 
สาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียดสาเหตุของปัญหาความเครียด
สาเหตุของปัญหาความเครียด
 
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
วารสาร"พลังใจดี เริ่มที่มนารมย์" ปีที่ 7 ฉบับที่ 17 โรงพยาบาลมนารมย์
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔ Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
Dhammaratana journal 13 - วารสารธรรมรัตน์ฉบับที่ ๑๓ ปีที่ ๔
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
The good buddhist
The good buddhistThe good buddhist
The good buddhist
 
Mindfulness in-organization
Mindfulness in-organizationMindfulness in-organization
Mindfulness in-organization
 
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเราความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
ความสุขนั้น เกิดจากใจของเรา
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
Sp1 sp5
Sp1 sp5Sp1 sp5
Sp1 sp5
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหมคุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
คุณเคยสวดมนต์ก่อนนอนไหม
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

พุทธวิธีคลายเครียด

  • 2. กายเครียด ใจก็เครียด • ตัวอย่างที่แสดงให้เห็น ชัดเจนก็คือ เมื่อสมัยที่พระองค์ ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยาทรมาน พระวรกายก็ด้วยทรงมีความ เข้าใจว่าคนจะมีสุขได้ ก็ด้วย ความทุกข์ หมายความว่าต้อง ผ่านความทุกข์ยากมาก่อนจึงจะ สามารถเข้าถึงความสุขได้ นี่คือ เหตุผลสาคัญที่ทาให้พระพุทธ องค์ต้องทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา อะไรคือเหตุผลที่ทาให้พระพุทธองค์ บาเพ็ญทุกรกิริยา ??
  • 3. • ต่อมาก็ได้ทรงค้นพบความจริงว่า ความสุขไม่จาเป็นต้องเข้าถึงด้วยความ ทุกข์ ความสุขสามารถเข้าถึงด้วยความสุข กล่าวคือ ความสุขจะเข้าถึงได้ ด้วยการทาเหตุปัจจัยของความสุข • เมื่อปฏิบัติให้ถูกต้องตามเหตุปัจจัย คนที่มีปราโมทย์ มีปีติ มีปัสสัทธิ ก็ ย่อมมีจะมีความสุข เพราะได้ทาเห็นปัจจัยของความสุขถูกต้อง
  • 4. • ปัญหาสาคัญของการทาทุกกรกิริยา คือ การทาให้ร่างกาย เครียด พระพุทธเจ้าตรัสเล่าว่า ขณะที่ทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา ทรมานพระวรกายนั้น ความเพียรก็เป็นไปด้วยดี สติของ พระองค์ก็ดีมีความชัดเจน แต่ไม่สาเร็จประโยชน์เพราะกาย เครียด และความเครียดนี้พระพุทธองค์ตรัสว่า เป็นอกุศลธรรม เป็นบาปที่จะต้องกาจัดออกไป
  • 5. อกุศลธรรม ๑๐ ประการ • ๑. โลภะ ความคิดจะเอาของคนอื่น • ๒. โทสะ ความขัดเคืองคับแค้นใจ • ๓. ถีนมิทธะ ความหดหู่ท้อแท้วุ่นวายใจ • ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้ งซ่านวุ่นวายใจ • ๕. วิจิกิจฉา ความระแวงคลางแคลงใน • ๖. โกธนะ ความมักโกรธ ความโกรธบ่อยๆ • ๗. สังกิลิฎฐะ ความมีจิตขุ่นมัว • ๘. สารัทธกาย ความมีกายเครียด • ๙. กุสีตะ ความเกียจคร้าน • ๑๐. อสมาหิตะ ความไม่มีสมาธิ
  • 6. ความเครียดคืออะไร • ความเครียด เป็นภาวะของอารมณ์ หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้น เมื่อเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ที่ทาให้รู้สึกไม่สบายใจ คับข้องใจ หรือถูกบีบคั้น กดดันจนทาให้เกิดความรู้สึกทุกข์ใจ สับสน โกรธ หรือเสียใจ
  • 7. • ในวงการแพทย์ยอมรับว่าความเครียด (Stress) ทาให้เกิด โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง ความเครียดทาให้การสร้างภูมิ ต้านทานของร่ายกายลดลง เกิดภาวะไม่สมดุลทางฮอร์โมน กลายเป็นตัวส่งเสริมให้เซลล์มะเร็งขยายตัวได้ง่าย
  • 8. ความเครียดเกิดจากอะไร • ๑ เครียดเพราะอารมณ์สุดโต่ง เช่น รักมาก โลภมาก โกรธมาก เกลียดมาก หลงมาก อิจฉามาก ริษยามาก นินทามาก
  • 10. ความเครียดเกิดจากอะไร • ๒. เครียดเพราะความคิดที่เป็นพิษ เช่น คิดว่าตนถูกใส่ร้าย คิด ว่าตนถูกกลั่นแกล้ง คิดว่าตนไม่สมหวัง คิดว่าเราต้องเอาชนะ คนนั้นให้ได้ เราแพ้ไม่ได้ ความคิดเช่นนี้ จะทาให้เรามีปมด้อย ในชีวิต
  • 11. ความเครียดเกิดจากอะไร • ๓. เครียดเพราะปากท้อง คนที่ไม่มีจะกินก็ทุกข์เพราะไม่รู้ว่า พรุ่งนี้จะหา อาหารที่ไหนมาใส่ท้อง ไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะนอนที่ใด ส่วนคนมีกินแล้ว มีที่อยู่ ปลอดภัยแล้วก็กังวลเป็นทุกข์จะถูกปล้นจี้ ถูกขโมย ถูกเอาเปรียบ
  • 12.
  • 13. วิธีคลายเครียดด้วยสมาธิ • สมาธิ คือ การทาใจและอารมณ์ให้นิ่ง ปัญหาต่างๆ ที่เราแก้ ไม่ได้ มองไม่เห็น เมื่อใจนิ่ง อารมณ์เย็น ก็จะเปิ ดออกมาให้เรา เห็นปม
  • 14. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา • วิธีที่ ๑ กล้าเผชิญความจริง • ความเครียด ทั้งปวงเกิดจากความวิตกกังวล คนเราจะวิตกกังวลทุกอย่าง เมื่อความจริงยังไม่ปรากฏ แต่เมื่อเผชิญความจริงแล้ว สติปัญญาที่จะ แก้ปัญหาก็มาเอง • แม้เรื่องอริยสัจ ๔ ก็เป็นเรื่องสอนให้คนกล้าเผชิญความจริง โดยเฉพาะ ทรงสอนเรื่อง ”ทุกข์” ทรงนาเสนอความทุกข์ประเภทต่างๆ เช่น ทรงสอน วิธีหาเหตุแห่งทุกข์นั้นว่ามาจากความทะยานอยาก เมื่อเรารู้ชัดถึงเหตุ แห่งทุกแล้ว วิธีการแก้ไขปัญหาก็จะตามมา
  • 15. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา • วิธีที่ ๒ เข้าใจเรื่องอารมณ์ของตนและของคน “จริต ๖” • พระพุทธเจ้า ตรัสแสดงความแตกต่างของคนไว้ที่ จริต คนเหมือนกัน แต่ ถ้าจริตต่างกัน ก็จะมีอารมณ์ต่างๆ กัน ความต่างกันของอารมณ์นี่เอง ที่ ทาให้มนุษย์เราคิดต่างกัน เกิดความขัดแย้งกันตลอดเวลา กระทั่งนา ความเครียดมาให้เรา ด้วยเหตุนี้ เราจึงจาเป็นต้องเรียนรู้พฤติกรรมของ คนในจริต ๖ เมื่อเราเข้าใจลักษณะของคนแล้ว เราก็จะไม่เครียด
  • 16. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา • วิธีที่ ๓ ไม่คาดหวัง แต่พิจารณาความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง • ความเครียดอย่างหนึ่งมักเกิดจากความคาดหวัง เป็นธรรมดาที่มนุษย์ทา อะไรมักหวังผลตอบสนอง เมื่อลงทุนก็หวังกาไร ไม่มีใครหวังขาดทุน แม้ ทาบุญยังหวังผลบุญ เมื่อหวังจึงมีทั้งสมหวังและผิดหวัง สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงสอนให้คนรู้จักหลักความจริง ๓ ข้อ คือ ▫ ความเปลี่ยนแปลง ▫ ความทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ ▫ และความที่เราไม่อาจยื้อสิ่งใดๆ ไว้ในอานาจได้ตลอดไป
  • 17. หมั่นพิจารณาสรรพสิ่งที่เราเผชิญว่า • “ทุกอย่างล้วนเกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป” • “ชีวิตมีได้มีเสียเสมอ การเสียบางอย่าง ก็เพื่อให้ได้บางอย่างมา” • “ไม่มีใครได้ตลอด แก้วที่เต็มน้าแล้วจะรับน้าใหม่ไม่ได้ เราหัด ทาชีวิตให้พร่องบ้างก็ดีเพื่อรองรับสิ่งใหม่” • “สิ่งที่ดีที่สุดไม่มี มีแต่สิ่งที่ดีพอสมควร” • “อย่าแสวงหาคนดีที่ดีที่สุดในชีวิต ท่านจะหาอะไรไม่ได้เลย”
  • 18. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา • วิธีที่ ๔ ปิ ด เปิ ดประตูรับรู้ให้เป็นเวลา • พระพุทธเจ้า ทรงสอนให้รู้จักผัสสะ คือ รสชาติแห่งการรับสัมผัสทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่หลง และที่สาคัญมีสติ ปิ ด เปิ ด เมื่อถึงเวลาอัน เหมาะสมเหมือนกับใช้โทรศัพท์มือถือ ต้องรู้จักปิ ดเมื่อขับขี่ยานพาหนะ ต้องรู้จักปิ ดเมื่ออยู่ในที่ประชุม หรือชุมชน หรือเวลานอน เป็นต้น โลกยุค ใหม่ อาจมองดูเหมือนโก้เก๋ทันสมัย แต่แท้จริงแล้วนั่นคือ สายในที่ต่อท่อ ความเครียดเข้ามาถึงใต้หมอน หากไม่รู้จักปิ ด เปิ ด
  • 19. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา • วิธีที่ ๕ คนส่วนมากเครียดเรื่องของคนอื่นมิใช่เรื่องของตน • โดยธรรมชาติ คนเรามักเป็นทุกข์ เพราะเรื่องคนอื่น เรื่องของตนมีน้อย เรื่องของคนอื่นที่ไม่ใช่เรื่องส่วนรวม เราควรทิ้งไว้นอกประตูบ้าน ไม่นา ขยะความคิดใดๆ เข้าบ้านของเราเอง การนาไฟในออก นาไฟนอกเข้ามา บ้าน คือ ปัญหาที่สังคมแก้ไม่ตก บ้านใดเรือนใด ครอบครัวใด ฉลาดเรื่อง ไฟ ก็จะไม่ถูกไฟเผาไหม้ให้ร้อนรน
  • 20. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา • วิธีที่ ๖ ฝึกแผ่เมตตา นึกถึงกฎแห่งกรรมมากกว่ากฎหมาย • ในทางพระพุทธศาสนา ทรงสอนให้รู้จักผ่อนคลายด้วยการนึกถึงกฎแห่ง กรรม นึกว่า สัตว์โลกมีกรรมเป็นของๆ ตน มีกรรมเป็นผู้ให้ผล มีกรรม เป็นแดนเกิด มีกรรมเป็นผู้ติดตาม มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย ไม่ว่าจะทา กรรมใดๆ ดีหรือชั่ว ก็จักได้รับผลของกรรมนั้นสืบไป ไม่มีเปลี่ยนแปลง คิดได้อย่างนี้แล้วสบายใจ
  • 21. วิธีกาจัดความเครียดด้วยปัญญา (สุดท้าย) • วิธีที่ ๗ นึกถึงธรรมชาติที่เหมือนกันของสัตว์ทั้งหลาย • มองให้เห็นความเสมอกันระหว่างสัตว์ทั้งหลาย รวมทั้งคนอื่นและตัวเรา เองว่า ต้องเผชิญความลาบากในสังสารวัฏเหมือนกัน คือ ต้องดูแลขันธ์ ๕ ต้องถูกโรคภัยเบียดเบียน ต้องแก่ ต้องเจ็บ และสุดท้าย “สัตว์ทั้งหลาย ต้องตาย” ความตายเป็นปลายทางของชีวิตเหมือนกันหมด ไม่ว่าผู้นั้นจะ ยากดีมีจนอย่างไร เขาและเราก็ไม่ต่างอะไรกัน เราไม่ต้องเครียดเพราะ น้อยใจไปอิจฉาเขา ไม่ต้องเครียดไปโกรธเขา หากแต่มองให้เห็นปัญหา ต่างๆ ในชีวิตเขาเหมือนกันกับเรา
  • 22. บทสรุป • ความสุขมักซ่อนตัวอยู่ใจกลางความเศร้า ความเหงามักซ่อน ตัวอยู่ในความเริงร่า ความกล้ามักซ่อนตัวอยู่ในความกลัว ขอให้ มั่นใจเถิดว่า ปัญญามักซ่อนตัวอยู่ภายในปัญหาเสมอ ขอให้เรานิ่ง คิด หยุดแล้วคิดให้นิ่ง ลึกซึ้งและหยุดความคิดให้ได้ ก็จะเห็นว่า ปัญหาแต่ละอย่างนั้นมีทางออกเสมอ • ความเครียด คลายได้ และความเครียดก็กาจัดให้หมดไปได้ ตามขั้นตอนต่างๆ ผ่านพุทธวิธีแบบประยุกต์ดังได้กล่าวมาแล้วนี้
  • 24.

Editor's Notes

  1. โพชฌงค์ หรือ โพชฌงค์ 7 คือธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้ หรือองค์ของผู้ตรัสรู้ มีเจ็ดอย่างคือ สติ (สติสัมโพชฌงค์) ความระลึกได้ สำนึกพร้อมอยู่ ใจอยู่กับกิจ จิตอยู่กับเรื่อง ธัมมวิจยะ (ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์) ความเฟ้นธรรม ความสอดส่องสืบค้นธรรม วิริยะ (วิริยสัมโพชฌงค์) ความเพียร ปีติ (ปีติสัมโพชฌงค์) ความอิ่มใจ ปัสสัทธิ (ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์) ความสงบกายใจ สมาธิ (สมาธิสัมโพชฌงค์) ความมีใจตั้งมั่น จิตแน่วในอารมณ์ อุเบกขา (อุเบกขาสัมโพชฌงค์) ความมีใจเป็นกลาง เพราะเห็นตามเป็นจริง
  2. ยกตัวอย่างนักกีฬาก่อนแข่งขันก็วิตกกังวลเกรงจะแพ้แต่เมื่อการแข่งขันเริ่มขึ้น ยอมความจริงของตัวเอง เช่น ถ้าเราเป็นหนี้ก็ยอมรับว่าเราเป็นหนี้ คือเป็นหนี้อยู่เท่าไร วิธีการแก้ไขปัญหาถึงจะตามมา
  3. ข้อนี้มีความสำคัญมากต่อการคลายเครียด หรือกำจัดความเครียด