Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

หลักธรรมพุทธศาสนา

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad

Check these out next

1 of 78 Ad

More Related Content

Slideshows for you (20)

Viewers also liked (20)

Advertisement

Similar to หลักธรรมพุทธศาสนา (20)

หลักธรรมพุทธศาสนา

  1. 1. หลักธรรมทางศาสนาพุทธ ธรรมมีอุปการมาก 2 อยาง 1.สติ คือความระลึกได หมายความวาระลึก ไดขณะพูด ขณะคิด ขณะทํา 2. สัมปชัญญะ คือความรูตัว หมายความวา รูตัวขณะพูด ขณะคิด ขณะทํา
  2. 2. ธรรมที่คุมครองโลก 2 อยาง( เทวธรรม ) 1.หิริ คือความละอาแกใจ หมายความ วาละอายตอบาป ละอายตอสิ่งที่ ที่ทําความชั่ว 2. โอตตัปปะ คือความเกรงกลัวตอบาป ที่ตัวเองไดทํา
  3. 3. ธรรมอันธรรมใหงาม 2 อยาง 1.ขันติ คือความอดทน อดทนตอความ ลําบาก อดทนตอความไมสบายใจ 2. โสรัจจะ คือความเสงียม ความเจียมตัว ่
  4. 4. ไตรลักษณ ( สามัญลักษณ ) 1.อนิจตา(อนิจจัง) คือความไมเที่ยง 2. ทุกขตา(ทุกขัง) คือความเปนทุกข 3. อนัตตตา(อนัตตา) คือความไมมี ตัวตน
  5. 5. บุตรมี 3 ประเภท 1. อวชาตบุตร คือบุตรที่ดวยกวาบิดามารดา 2. อนุชาตบุตร คือบุตรที่มีความเสมอบิดา มารดา 3. อภิชาตบุตร คือบุตรที่ดีกวาบิดามารดา
  6. 6. สมาธิ 3 1.ขณิกสมาธิ คือสมาธิชั่วขณะ 2. อุปจารสมาธิ คือสมาธิเฉียด ๆ 3. อัปปนาสมาธิ คือสมาธิแนวแนที่ เขาฌานสมาบัติคือบรรลุธรรม
  7. 7. ปญญา 3 1. สุตมยปญญา คือปญญาเกิดจากการฟง 2. จินตามยปญญา คือปญญาเกิดจาก ความคิด คือคิดกอนทําคิดกอนพูด 3. ภาวนามยปญญา คือปญญาเกิดจากการ บรมการฝกสมาธิ
  8. 8. สุตมยปญญา มี 2 ดับ ตมย 1.ระดับธรรมดา ไดแกการศึกษาเลาเรียน เชน การพูด การฟง การอาน การเขียน ผูเรียนจะตองมีความสนใจและความตั้งใจ เรียนตาสมควร
  9. 9. 2. ระดับสูง เปนการศึกษาระดับสูงไดแก พหูสูต หรือนักปราชญ มี 5 ประการไดแก สุตา ตั้งใจ 2. ธตา จําได 3.วจสา ปริจตา ทองไดหรือพูดใหผูอนฟงได ื่ 4.มนสานุเปกขิตา 5.ทิฏฐิยา สุปฏิวิทยา
  10. 10. 2. จินตามยปญญา มี 2 ระดับ 1.ระดับธรรมดา หมายถึงการนํารูที่ กระจัดกระจายอยูมาจัดใหเปนระบบ มี ความสัมพันธกันเรื่อง ๆ ไป
  11. 11. 2. ระดับสูง มีดังนี้ 1.กาจัดโดยปริมาณ คือความมากนอย จํานวนหรือขนาด 2.การจัดโดยคุณภาพ คือดีเยี่ยม ดีมาก ดี ปานกลาง 3.การจัดโดยกาลเวลาเปนยุค สมัย ศตวรรษ
  12. 12. 2. ระดับสูง (ตอ) 4.การจัดโดยสถานที่ ไดแก ทวีป ภูมภาค ิ ประเทศ จังหวัด อําเภอ ตําบล หมูบาน 5.การจัดตามเหตุผล วาอะไรเปนเหตุ อะไรเปนผล
  13. 13. 3. ภาวนามยปญญามี 2 ระดับ 1. ระดับธรรมดา หมายถึง การลงมือ ปฏิบัติดวยตนเอง เมือไดศึกษาทฤษฎี ่ ก็ศึกษาภาคปฏิบัติตอไป เชน การทดลอง วิทยาศาสตร เปนตน
  14. 14. 2. ระรับสูง คือปญญาที่เกิดจากการเจริญสมาธิ เรียกวา วิปสสนาปญญา เปนปญญาที่รูแจงเห็นจริง และสามารถกําจัดกิเลสใหนอยลงหรือหมด สิ้นไปได
  15. 15. ไตรสิกขา 3 1.สีลสิกขา คือการปฏิบัติรักษาศีลดวย กาย วาจา ใจ 2. จิตตสิกขา คือการปฏิบัติในทางสมาธิให เกิดขึ้นกับตนเอง 3. ปญญาสิกขา คือการปฏิบัติกรรมฐานให บรรลุถึงปญญา
  16. 16. ทุจริต 3 อยาง 1. กายทุจริต ประพฤติชั่วดวยกาย 2. วจีทุจริต ประพฤติชั่วดวยวาจา 3. มโนทุจริต ประพฤติชั่วดวยใจ
  17. 17. สุจริต 3 อยาง 1. กายสุจริต ประพฤติชอบดวยกาย 2. วจีสุตจริต ประพฤติชอบดวยวาจา 3. มโนสุจริต ประพฤติชอบดวยใจ
  18. 18. ไตรลักษณ 3 อยาง 1. อนิจจตา ความเปนของไมเทียง 2. ทุกตา ความเปนทุกข 3. อนัตตตา ความเปนของไมใชตน
  19. 19. บุญกิริยาวัตถุ 3 1.ทานมัย บุญสําเร็จดวยการบริจาคทาน 2.สีลมัย บุญสําเร็จดวยการรักษาศีล 3.ภาวนามัย บุญสําเร็จดวยการเจริญภาวนา
  20. 20. บุญกิริยาวัตถุ 3 บุญ คือ ความดี กิริยา คือ การกระทํา วัตถุ คือ ที่ตั้ง รวมแลว หมายความวาที่ตั้งแหงการทําความดี
  21. 21. หัวใจโอวาทปาฏิโมกข 3 โมกข 1.สัพพปาปสสะ อะกะระณัง เวนจากการทําชั่วทั้งปวง 2.กุลสสูปสัมปทา ทําแตความดี ั 3.สจิตตปริโยทปทัง ทําจิตใจใหบริสุทธิ์
  22. 22. อบายมุข (หนทางแหงความเสือม) ่ อบายมุข 4 1.เปนนักเลงผูหญิง 2.เปนนักเลงสุรา 3.เปนนักเลงการพนัน 4.คบคนชั่วเปนมิตร
  23. 23. อบายมุข 6 1.ดื่มน้ําเมา 2.เที่ยวกลางคืน 3.เที่ยวดูการละเลน 4.เลนการพนัน 5.คบคนชั่วเปนมิตร 6.เกียจครานทําการงาน
  24. 24. อิทธิบาท 4 1. ฉันทะ คือความพอใจรักใครในสิงนั้น ่ 2. วิริยะ คือความขยันหมั่นเพียร 3. จิตตะ คือการเอาใจฝกใฝในสิ่งนั้น 4. วิมังสา คือการหมั่นตริตรองพิจาณา เหตุผลในสิ่งที่ทํา
  25. 25. พรหมวิหาร 4 1. เมตตา คือความปรารถนาใหผูอนเปนสุข ื่ 2. กรุณา คือคิดจะชวยใหผูอนใหพนทุกข ื่  3. มุทิตา คือความพลอยยินดีเมื่อผูอื่นไดดี  4. อุเบกขา คือความวางเฉยไมดีใจไมเสียใจ
  26. 26. อริยสัจ 4 1. ทุกข คือความไมสบายกายไมสบายใจ เรียกวาทุกข 2. สมุทัย คือเหตุใหเกิดความทุกข 3. นิโรธ คือความดับทุกข 4. มรรค คือหนทางในการปฏิบัติใหถึง ั 
  27. 27. อริยสัจจะ 4 ทุกข แบงออกเปน 2 ประเภท 1.ทุกขประจํา มี 3 ประการ ความเกิด ความแก ความตาย
  28. 28. หัวใจนักปราชญ 4 ประการ 1. สุ = สุตะ คือการฟง 2. จิ = จิตนา คือความคิด 3. ปุ = ปุจฉา คือคําถาม 4. ลิ = ลิขิต คือขีดเขียนจดบันทึก
  29. 29. เบญจศีล 5 ประการ 1. เวนจากการฆาสัตว 2. เวนจากการลักขโมย 3. เวนจากประพฤติในกาม 4. เวนจากการพูดเท็จ 5. เวนจากการดื่นสุรา
  30. 30. เบญจธรรม 5 ประการ 1.เมตตากรุณา ตอสัตวและมนุษยดวยกัน 2.สัมมาอาชีวะ การเลียงชีพชอบ ้ 3.กามสังวร ใหเดินสายกลาง 4.สัจจะ พูดแตความจริง 5.สติสัมปชัญญะ ควรระลึกอยูเ สมอ
  31. 31. คุณสมบัติกลยาณมิตรธรรมมี 7 ประการ ั 1. ปโย หรือ ปยะ นารัก เปนกันเอง 2. ครุ นาเคารพ 3. ภาวนิโย มีความรูจริง 4. วัตตา รูจักชี้แจงใหเขาใจ 5. วจนักขโม อดทนที่จะรับฟง
  32. 32. กัลยาณมิตรธรรม 7 ประการ (ตอ) 6. คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา แถลงเรื่องล้ําลึกได 7. โน จัฏฐาเน นิโยชะเย ไมชักจูงไปทางเสือมเสีย ่
  33. 33. อปริหานิยาธรรม 7 ( ฝายอาณาจักร) 1.หมั่นประชุมกันเนื่องนิตย 2.เมือประชุมกันก็พรอมเพรียงกันประชุม ่ เมือเลิกก็พรอมกันเลิก ่ 3.ไมบัญญัติขอทีพระพุทธเจาไมบัญญัติ ่ 4.ทานเหลาใดเปนใหญประธานในที่ประชุม
  34. 34. อปริหานิยาธรรม 7 (ตอ) 5.ไมลแกอานาจแกความอยากที่เกิดขึ้น ุ ํ 6.ยินดีในเสนาสนะของตนเอง 7.จัดใหความอารักขาคุมครองปองกัน
  35. 35. 2. ทุกขจรมี 8 ประการ (ตอ) 1.ความโศก ไดแก ความเศราใจ 2.ความพิไรรําพัน ไดแก ความคร่ําครวญ 3.ความทุกขทางกาย ไดแก ความเจ็บไข 4.ความโทมนัส ไดแก ความไมสบายใจ 5.ความคับแคนใจ ไดแก ความตรอมใจ
  36. 36. 2.ทุกขจร (ตอ) 6. ความพลัดพรากจากสิ่งที่รักที่ชอบใจ 7.ความประสบกับสิ่งที่ไมรักไมชอบใจ 8. ความปรารถนาสิ่งใดแลวไมไดสิ่งนั้น
  37. 37. 2.สมุทัย มี 3 ประการ 1.กามตัณหา คือความยากในกาม 2.ภวตัณหา คืออยากเปนนั้นอยากเปนนี้ 3.วิภวตัณหา คือความทะยานอยากใน ในความไมเปน
  38. 38. 3.นิโรธ นิโรธ หรือ ทุกขนิโรธ แปลวา ความ ดับทุกขหมายความวากับดับกิเลส หมายเหตุ ทุกข-นิโรธ เปน ผล สมุทัย-มรรค เปน เหตุ
  39. 39. อคติ 4 คือการลําเอียง 1.ฉันทาคติ คือลําเอียงเพราะรักใคร 2.โทสาคติ คือลําเอียงเพราะไมชอบ 3.โมหาคติ คือลําเอียงเขลา 4.ภยาคติ คือลําเอียงเพราะกลัว
  40. 40. คุณธรรมที่ทําใหมนุษยเจริญรุงเรือง 1.สัปปุริสูปสังเสวะ คือกระทําชอบทั้งกายวาจาใจ 2.สัทธัมมัสสวนะ คือฟงคําสั่งสอนของทาน 3.โยนิโสมนสิการ คือพิจาณาตริตรองสิงดีและ่ ไมดี 4. ธัมมานุธมมปฏิบัติ คือประพฤติตามธรรมะ ั
  41. 41. สังคหวัตถุ 4 1.ทาน การใหปนสิ่งของแกคนที่ควรใหปน 2.ปยวาจา การเจรจาที่ออนหวาน  3.อัตถจิยา ประพฤติสิ่งที่เปนประโยชนแก ผูอน ื่ 4.สมานัตตา การที่เปนคนเสมอตนเสมอ ปลาย
  42. 42. ธรรมของฆราวาส มี 4 ประการ 1.สัจจะ ซื่อสัตยตอกัน 2.ทมะ รูจักขมจิตองตัวเอง 3.ขันติ ความอดทน 4.จาคะ สละใหปนสิ่งของแกคนที่ควรใหปน
  43. 43. คนเราประกอบดวยธาตุ 4 1.ปฐวีธาตุ คือธาตุดิน 2.อาโปธาตุ คือธาตุน้ํา 3.เตโชธาตุ คือธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ คือธาตุลม
  44. 44. ธาตุ 6 1.ปฐวีธาตุ คือธาตุดิน 2.อาโปธาตุ คือธาตุน้ํา 3.เตโชธาตุ คือธาตุไฟ 4.วาโยธาตุ คือธาตุลม 5.อากาศธาตุ คือชองวางที่มีในกาย 6.วิญญาณธาตุ คือความรูอะไรได
  45. 45. คนเราประกอบดวยขันธ 5 1.รูป ประกอบดวย ดิน น้ํา ไฟ ลม 2.เวทนา ประกอบดวย ไมสุข ไมทุกข 3.สัญญา ประกอบดวย จํารูป จําเสียง จํากลิ่น จํารส เรียกวาสัญญาคือความจํา 4.สังขาร คือการเปลี่ยนแปลงของรางกาย 5.วิญญาณ ความรูทางอารมณที่มากระทบ
  46. 46. อนันตริยกรรมหนัก 5 ประการ 1.มาตาฆาต คือ ฆามารดา 2.ปตุฆาต คือ ฆาบิดา 3.อรหันตฆาต คือ ฆาพระอรหันต 4.โลหิตุปบาท คือทํารายพระพุทธเจายัง โลหิตใหหอ  5.สังฆเภท คือทําใหพระสงฆแตกแยกกัน
  47. 47. คุณสมบัติของอุบาสก 5 ประการ 1.ประกอบดวยศรัทธา 2.มีศีลบริสุทธิ์ 3.ไมถือมงคลตื่นขาวคือเชื่อกรรมไมเชื่อมงคล 4.ไมแสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา 5.บําเพ็ญบุญแตในพุทธศาสนา
  48. 48. ธรรมของการสื่อสาร( อายตนะภายใน 6 ) 1.จักษุ = ตา 2.โสตะ = หู 3.ฆานะ = จมูก 4. ชิวหา = ลิน ้ 5.กายะ = กาย 6.มโน = ใจ
  49. 49. ทิศ 6 1. ปุรัตถิมทิส ทิศเบื้องหนา คือบิดามารดา 2. ทักขิณาทิส ทิศเบื้องขวา คืออาจารย 3. ปจฉิมทิส ทิศเบื้องหลัง คือบุตรภรรยา 4. อุตตรทิส ทิศเบื้องซาย คือมิตรสหาย 5. เหฏฐิมทิส ทิศเบื้องต่ํา คือบาวคนรับใช 6. อุปริมทิส ทิศเบื้องบน คือสมณะพราหมณ
  50. 50. สัปปุริสธรรม 7 ( ธรรมของคนดี) ริ 1.ธัมมัญุตา คือการรูจักเหตุ 2.อัตถัญุตา คือการรูจักผล 3.อัตตัญุตา คือการรูจักตน 4.มัตตัญุตา คือการรูจักประมาณ 5.กาลัญุตา คือการรูจักกาลเวลา
  51. 51. สัปปุริสธรรม 7 ประการ ริ 6. ปริสัญุตา คือการรูจักชุมชน 7. ปุคคลปโรปรัญุตา คือการรูเลือกคบคน
  52. 52. อริยทรัพย 7 ประการ 1.ศรัทธา คือเชือสิ่งที่ควรเชือ ่ ่ 2.ศีล คือการรักษา กายวาใจใหเรียบรอย 3.หิริ คือความละอายตอบาปที่ทํา 4.โอตตัปปะ คือกลัวตอผลบาปทีทํา 5.พาหุสัจจะ คือผูไดฟงมามาก 
  53. 53. อริยทรัพย 7 ประการ ( ตอ ) 6.จาคะ คือ การเสียสละการใหปน 7.ปญญา คือความรอบรู
  54. 54. เวสารัชชกรณธรรม (ธรรมคนเกลาหาญ) 1.ศรัทธา คือเชือสิ่งที่ควรเชือ ่ ่ 2.ศีล คือมีความประพฤติที่ดีงาม 3.พาหุสัจจะ คือไดศึกษามามาก 4.วิริยารัมภะ คือความเพียรอยางจริงจัง 5.ปญญา คือความรอบรู
  55. 55. มรรค 8 ประการ(ทางสายกลาง) 1.สัมมาทิฏฐิ คือความเห็นชอบ 2.สัมมาสังกัปปะ คือความดําริชอบ 3.สัมมาวาจา คือการพูดชอบ 4.สัมมากัมมันตะ คือการกระทําชอบ 5.สัมมาอาชีวะ คือการเลียงชีพชอบ ้
  56. 56. มรรค 8 ประการ 6.สัมมาวายามะ คือความพยามยามชอบ 7.สัมมาสติ คือความระลึกชอบ 8.สัมมาสมาธิ คือการตั้งจิตมั่นชอบ
  57. 57. โลกธรรม 8 1.ลาภ 5.เสื่อมลาภ 2.ยศ 6.เสื่อมยศ 3.สรรเสริญ 7.นินทา 4.สุข 8.ทุกข
  58. 58. มรรค 8 สรุปเขาไตรสิกขา 3 ดังนี้ 1.ศีล ไดแก เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ 2.สมาธิ ไดแกวาจาชอบ การงานชอบ เลียงชีพชอบ ้ 3. ปญญา ไดแก เห็นชอบ ดําริชอบ
  59. 59. สามีตามหลักพระพุทธศาสนา 1. วธกภัสดา สามีเหมือนเพชฌฆาต 2. โจรภัสดา สามีเหมือนโจร 3. อัยยภัสดา สามีเหมือนนาย 4. ปตาภัสดา สามีเหมือนพอ 5. ภาตาภัสดา สามีเหมือนพีชาย ่
  60. 60. สามีตามกลักพระพุทธศาสนา 6. สขาภัสดา สามีเหมือนเพือน ่ 7. ทาสภัสดา สามีเหมือนทาสเหมือน คนรับใช
  61. 61. ภริยาตามหลักพระพุทธศาสนา 1.วธกภริยา ภริยาเหมือนเพชฌฆาต 2.โจรีภริยา ภริยาเหมือนโจร 3.อัยยภริยา ภริยาเหมือนนาย 4.มาตาภริยา ภริยาเหมือนแม 5.ภคินีภริยา ภริยาเหมือนพีสาว ่
  62. 62. ภริยาตามหลักพระพุทธศาสนา 6. สขีภริยยา ภริยาเหมือนเพือน ่ 7. ทาสีภริยา ภริยาเหมือนคนรับใช เหมือนกับทาส
  63. 63. ภริยา 7 (ตอ) ภัสดา แปลวา ผูเลี้ยงดู คําวา ภริยา แปลวา ผูถูกเลี้ยงดู หมายความวา ในอดีตสามีเปนผูเลี้ยงดู ภริยาฝายเดียว
  64. 64. ญาติในทางศาสนามี 2 ประเภท 1.ญาติทางโลก แบงออกเปน 2 ประเภท 1. ญาติโดยสายโลหิต มี 7 ชั้น 1.ชันพอแมของปูยาตายายของเรา ไดแก ้ ปูทวด ยาทวด ตาทวด ยายทวด 2.ชันพอแมของพอแมของเรา ปู ยา ตา ยาย ้
  65. 65. ญาติโดสายโลหิต 7 (ตอ) 3.ชันพอแมของเรา ไดแก พอ แม ลุง ปา ้ นา อา 4.ชันเดียวกับเรา ไดแก พี่ นอง ลูกพี่ ้ ลูกนอง 5. ชั้นลูกของเรา ไดแกลก หลาน ู
  66. 66. ญาติโดยสายโลหิต 7 (ตอ) 6.ชันหลานของเรา ไดแก ลูกของลูก ้ 7.ชันเหลนของเรา ไดแก ลูกของหลาน ้
  67. 67. ญาติโดยสายโลหิต 7 ประการ 2. ญาติโดยความใกลชิดคุนเคย หมายถึง เพือนสนิทสนมกับเราโดยตรง หรือกับ ่ ญาติทางสายโลหิตของเรา
  68. 68. 2. ญาติทางธรรมมี 4 ประการ 1.เปนญาติเพราะบวชใหเปนภิกษุ 2.เปนญาติเพราะบวชใหสามเณร 3.เปนญาติเพราะใหนิสัย 4.เปนญาติเพราะสอนธรรมะให
  69. 69. หลักกาลามสูตร (เกสปุตตสูตร 10 ประการ) 1.มา อนุสสเวนะ อยาปลงใจเชื่อเพียง เพราะไดฟงถอความตาม ๆ กันมา  2.มา ปรัมปรายะ อยาปลงใจเชือเพียง ่ เพราะมีการนับถือสืบตอกันมา
  70. 70. กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ) 3.มา อิติกิรายะ อยาปลงใจเชือเพียง ่ เพราะขาวที่เลาลือกันมา 4.มา ปฎกสัมปทาเนนะ อยาปลงใจเชือ ่ เพียงเพราะอางตําราหรือคัมภีร
  71. 71. กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ) 5. มา ตักกเหตุ อยาปลงใจเชื่อเพียง เพราะการคาดเดาหรือกาคาดคะเนเอา 6. มา นยเหตุ อยาปลงใจเชือเพียง ่ เพราะอนุมาน
  72. 72. กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ) 7. มา อาการปริวัตักเกนะ อยาปลงใจ เชื่อเพียงเพราะโดยการตริตรองตาม แนวเหตุผล 8. มา ทิฏฐินิชฌานักขันติยา อยาเชื่อ ใจเพียงใชทฤษฎีและความคิดของตน
  73. 73. กาลามสูตร 10 ประการ (ตอ) 9.มา ภัพพรูปะตายะ อยาเชื่อใจเพียง มองเห็นบุคลิกที่นาเชื่อถือ 10.มา สมโณ ครูติ อยาเชือใจเพียง ่ เพราะนับถือวาทานสมณะเปนครู
  74. 74. อุปกิเลสมี 16 ประการ 1.อภิชฌาวิสมโลภะ คือละโมบ 2.โทสะ คือ รายกาจ 3.โกธะ คือ โกรธ 4.อุปนาหะ คือผูกโกรธ
  75. 75. อุปกิเลสมี 16 ประการ 5.มักขะ คือ ลบหลูคุณทาน 6.ปลาสะ คือ ตีตัวเสมอเทียนทาน 7.อิสสา คือ ริษยา 8.มัจฉริยะ คือ ตระหนี่
  76. 76. อุปกิเลสมี 16 ประการ (ตอ) 9.มายา คือ มารยาคือเจาเลห 10.สาเถยยะ คือ โออวด 11.ถัมภะ คือ หัวดื้อ 12.สารัมภะ คือ แขงดี
  77. 77. อุปกิเลสมี 16 ประการ (ตอ) 13.มานะ คือ ถือตัว 14.อติมานะ คือ ดูหมิ่นทาน 15.มทะ คือ มัวเมา 16.ปมาทะ คือ เลินเลอ
  78. 78. สอนโดย คุณครูปริวัฒน บุญเชิญ

×