SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
สมถกัมมัฏฐาน
พระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววา...
สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงยังสมาธิใหเกิด
ชนผูมีจิตเปนสมาธิแลว ยอมรูตามความเปนจริง
จุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองค
ทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ
เมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดี
ใจที่เปนสมาธิยอมเห็นสิ่งตางๆได รูผิดชอบชั่วดี แต
ใจนี้โดยปกติมักจะมีอารมณ คือ สิ่งที่ขัดขวางไมให
ทําความดี ใหหวั่นไหว เรียกวา “นิวรณ”

นิวรณ ๕ คือ
1. กามฉันท
2. พยาบาท

3. ถีนมิทธะ
4. อุทธัจจกุกกุจจะ

5. วิจิกิจฉา
1. กามฉันท หมายถึง ความพอใจรักใครในกามคุณ ๕
มีรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ดวยอํานาจของกิเลส
กามหลงใหลในกามสุข คนที่มากไปดวยกามฉันทควร
แกดวยการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน
2. พยาบาท หมายถึง ความโกรธจัด ดวยกําลังโทสะ
อยางแรง ถึงกับมีความพยาบาทคิดจองลางจองผลาญ
ผูอื่น คนผูมีความพยาบาท มักโกรธงายโมโหราย ควร
แกดวยการเจริญพรหมวิหารธรรม ๓ ขอ คือ เมตตา
กรุณา และ มุทิตา
3. ถีนมิทธะ หมายถึง ความหดหูทอแทและเคลิบเคลิ้ม
เศราซึมแหงจิต คนผูมีถีนมิทธะมักยอทอในกิจการงาน
ที่ตองทําควรแกดวยการเจริญอนุสสติกัมมัฏฐานนึกถึง
ความดีของตนหรือคุณของพระรัตนตรัย เปนตน...
4. อุทธัจจกุกกุจจะ หมายถึง ความฟุงซาน อึดอัด วิตก
กังวลอันเปนเหตุใหใจไมปกติ ควรแกดวยการเพงกสิณ
เพื่อใหใจแนวแน หรือเจริญมรณัสสติกัมมัฏฐาน
5. วิจิกิจฉา หมายถึง ความลังเลสงสัยตัดสินใจไมไดแก
ดวยการเจริญธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปสสนากัมมัฏฐาน
สมาธิ...แปลวา ความตั้งมั่นแหงจิต หมายถึง
.แปลว
อาการที่ทําจิตใหวางจากนิวรณ ควรแกการงานเปน
การรวบรวมความคิดของใจ ใหตรงไปในทิศทาง
เดียวกัน มี ๒ อยาง คือ
1. อุปจารสมาธิ สมาธิเปนแตเฉียด ๆ คือสมาธิที่
เกือบแนวแนสามารถระงับนิวรณไดองคฌานก็เริ่ม
เกิดขึ้น เพียงแตวายังไมมีกําลังมากพอเพราะจิตยัง
ไมสงบนิ่งในอารมณ
2. อัปปนาสมาธิ สมาธิแนวแน คือ สภาวะจิตของ
บุคคลผูบําเพ็ญสมถกัมมัฏฐาน จนจิตแนบแนนคง
อยูในอารมณกัมมัฏฐาน ไมฟุงซานไปที่อื่น ตั้งมั่น
ในอารมณเดียวที่เรียกวา “เอกัคคตาจิต”
การทําใจใหสงบเปนสมาธิ โดยวิธีคือเจริญสมถ
กัมมัฏฐานนี้ ตองมีอารมณเปนเครื่องยึดเหนี่ยวใน
ที่นี้ทานไดแสดงหัวใจสมถกัมมัฏฐาน ๕ อยาง อัน
ใจสมถกั
เปนคูปรับของนิวรณ ๕ เพื่อเปนอุบายเจิรญสมาธิ
ายเจิ ญสมาธิ
หัวใจ...สมถ
ใจ...
กัมมัฏฐาน

1. กายคตาสติ
2. เมตตา
3. พุทธานุสสติ
4. กสิณ
5. จตุธาตุววัตถาน
1.กายคตาสติ หมายถึง สติที่ไปในกาย คือการใชสติพิจารณา
ถึงอวัยวะในรางกายของตนและของผูอื่น ใหเห็นเปนของไม
งดงาม เรียกวา มูลกัมมัฏฐาน หรือ ตจปญจกกัมมัฏฐาน
โดยการพิจารณาทั้งอนุโลมและปฏิโลม ในอาการ ๕ อยาง คือ
พิจารณาโดยอนุโลม คือตามลําดับดวยอาการ ๕ อยาง คือ... เกสา
โลมา นขา ทนฺตา ตโจ
ตา
พิจารณาโดยปฏิโลม คือการยอนลําดับ ดวยอาการ ๕ อยาง คือ...
ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา
ตา
กัมมัฏฐานขอนี..... อํานวยผลเพียงขั้นอุปจารสมาธิ และเปน
้ ...
ประโยชนแกผูมีกามฉันทเปนเจาเรือน เพราะทําใหไมยดมั่นใน
ึ
กายของตนและของผูอื่น...
2. เมตตา หมายถึง ความรักที่ไมเจือดวยความใคร
คือความปรารถนาดีหวังดีตอผูอื่น คิดนําสุขไปใหเขา
โดยสวนเดียว การแผเมตตาในที่นี้ เบื้องตนตองแผ
โดยเจาะจงกอน เชน แผใหกับคนในครอบครัว เมือ
่
ชํานาญแลว จึงแผไปโดยไมเจาะจงบุคคลหรือสัตว
โดยไมเลือก
กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิ
้ ..อํ
และเปนประโยชนแกผูมีความพยาบาท เพราะทําใหเปนอยู
ดวยความไมมีเวรไมมีภัยตอกัน รักใครชวยเหลือกัน...
3. พุทธานุสสติ หมายถึง การระลึกถึงคุณของพระ
พุทธเจา คือ การสํารวมจิตนอมถึงพระพุทธคุณทั้ง
๙ ตามบทพุทธคุณ เชน อิติป โส ภควา อรหัง
สัมมา เปนตน หรือ พุทธคุณ ๓ คือ พระปญญาคุณ
พระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณทั้งหมดหรือบท
ใดบทหนึ่งจนจิตสงบตั้งมั่นเปนสมาธิ
กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ
้ ..อํ
และเปนประโยชนแกผูที่มีถีนมิทธะ เพราะทําใหจิตใจไมหด
หูไมยอทอตออุปสรรคที่มาขัดขวางในการทําความดีงาม
4. กสิณ หมายถึง เครื่องหมายจูงใจหรือวัตถุสําหรับเพง
คือ การทํากัมมัฏฐาน โดยการเพงหรือการยึดเอากสิณเปน
อารมณที่เรียกกันวา เพงกสิณ 10 อยาง คือ ปฐวีกสิณ (ดิน)
อาโปกสิณ (น้ํา) เตโชกสิณ (ไฟ) วาโยกสิณ (ลม) ๔ อยางนี้
เรียกวา ภูตกสิณ คือ ธาตุ ๔ นีลกสิณ สีเขียว ปตกสิณ
สีเหลือง โลหิตกสิณ สีแดง โอทาตกสิณ สีขาว ๔ อยางนี้
เรียกวา วัณณกสิณ คือ กสิณสี อาโลกกสิณ (แสงสวาง)
อากาสกสิณ ความวางเปลา
กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิและ
้ ..อํ
และ
เปนประโยชนแกผูที่อุทธัจจกุกกุจจะเพราะทําใหจิตนิ่งจดจอและ
จะเพราะทํ
อดทนในงานที่กระทํา
5. จตุธาตุววัตถาน หมายถึง กําหนดธาตุ ๔ คือ การ
กําหนดพิจารณารางกาย ใหเห็นสภาวะที่เปนอยูจริงวา
เปนสิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุ ๔ รวมกันเขา
เปนรางกาย หรือแมแตสิ่งตาง ๆ ที่มนุษยไดสรางขึ้นทั้ง
รางกายและสิ่งของเปนสิ่งที่เกิดจากธาตุ เมื่อธาตุรวมกัน
จึงทําใหเกิดสังขาร ทั้งที่มีใจครองและมิมีใจครอง

กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ
้ ..อํ
และเปนประโยชนแกผูที่วิจิกิจฉา เพราะทําใหคลายความ
สงสัย ไมหลงเขาใจผิดในสภาพที่เปนอยูจริงของสิ่งตางๆ
ความหมายของ...สมถกั
ความหมายของ...สมถกัมมัฏฐาน
สมถะ...
สมถะ... มีความหมายอยู ๓ อยาง คือ...
1. ธรรมเปนเครื่องสงบระงับของจิต
2. ธรรมอันทําใหจิตสงบระงับจากนิวรณูปกิเลส
3. ความสงบระงับของจิตในภายใน
กัมมัฏฐานนี....ไดแกอารมณที่ตั้งของจิต คือสิ่งที่ยดผูกจิตไว
้ ..ได
ึ
ไมใหฟุงซาน ใหสงบนิงอยูกับกัมมัฏฐาน
่
สมถกั
สมถกัมมัฏฐาน จึงหมายถึงอุบายเปนเครื่องสงบใจ โดยใชสติ
กําหนดอารมณกัมมัฏฐานอยางใดอยางหนึ่งในอารมณ ๔๐ วิธี
กัมมัฏฐาน ๔๐ อยาง
ซึ่งเปนอารมณของสมถกัมมัฏฐาน เพื่อทําใจใหสงบ
ระงับจากนิวรณูปกิเลส มี ๗ หมวด คือ...

1. กสิณ 10
2. อสุภะ 10
3. อนุสสติ 10

4. พรหมวิหาร
5. อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1

6. จตุธาตุววัตถาน 1

7. อรูป 4
1. กสิณ 10
ภูตกสิณ ๔ คือ..
1. ปฐวีกสิณ

2. อาโปกสิณ

3. เตโชกสิณ

4. วาโยกสิณ

วัณณกสิณ ๔ คือ..
ณกสิ
5. นีลกสิณ

6. ปตกสิณ
9. อาโลกกสิณ

7. โลหิตกสิณ 8. โอทาตกสิณ
10. อากาสกสิณ
กสิณ...หมายถึง
...หมายถึ

เครื่องหมายจูงใจ หรือ วัตถุ
สําหรับเพงเพื่อยึดดึงใจไวในเวลาทํากรรมฐาน นิยม
เรียกวาเพงกสิณ มี 10 อยาง คือ...
1. ปฐวีกสิณ เพงดินเปนอารมณ บริกรรมวา ปฐวี ๆ
2. อาโปกสิณ เพงน้ําเปนอารมณ บริกรรมวา อาโป ๆ
3. เตโชกสิณ เพงไฟเปนอารมณ บริกรรมวา เตโช ๆ
4. วาโยกสิณ เพงลมเปนอารมณ บริกรรมวา วาโย ๆ
5. นีลกสิณ เพงสีเขียวเปนอารมณ บริกรรมวา นีลํ ๆ
6. ปตกสิณ เพงสีเหลืองเปนอารมณ บริกรรมวา ปตกํ ๆ
7. โลหิตกสิณ เพงสีแดงเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ๆ
8. โอทาตกสิณ เพงสีขาวเปนอารมณ บริกรรมวา โอทาตํ ๆ
9. อาโลกกสิณ เพงถึงแสงสวาง บริกรรมวา อาโลโก ๆ
10. อากาสกสิณ เพงถึงอากาศ บริกรรมวา อากาโส ๆ

****************
อสุภะ 10 อยาง
1. อุทธุมาตกอสุภะ

6. วิกขิตตกอสุภะ

2. วินีลกอสุภะ

7. หตวิกขิตกอุสภะ

3. วิปุพพกอสุภะ

8. โลหิตกอสุภะ

4. วิฉิททกอสุภะ

9. ปุฬุวกอสุภะ

5. วิกขายิตกอสุภะ

10. อัฏฐิกอสุภะ
อสุภะ แปลวา สภาพที่ไมงาม หมายถึง ซากศพที่
ภะ
อยูในสภาพตางๆ กัน ซึ่งนํามาเปนอารมณกัมมัฏฐาน
โดยการพิจารณาใหเห็นวาเปนของไมงาม เปนของไม
นาชื่นชม ไมนายึดมั่นถือมั่น มี 10 อยาง คือ
1. พิจารณาซากศพที่เนาพองขึ้นเปนอารมณ บิรกรรม
วา อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ
2. พิจารณาซากศพที่มีมีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ
บริกรรมวา วินีลกํ ปฏิกูลํ
3. พิจารณาซากศพที่มีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ
บริกรรมวา วิปุพพกํ ปฏิกูลํ
4. พิจารณาซากศพที่ขาดกลางตัวเปนอารมณ บริกรรมวา
วิฉิทฺทกํ ปฏิกูลํ
5. พิจารณาซากศพที่สัตวกัดกินแลวเปนอารมณ บริกรรม
วา วิกฺขายิตกํ ปฏิกูลํ
6. พิจารณาซากศพที่มีมือ เทา ศรีษะขาดเปนอารมณ
บริกรรมวา วิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ
7. พิจารณาซากศพที่คนที่มีเวรตอกัน ขาศึกกัน สับฟนเปน
ทอนๆ เปนอารมณ บริกรรมวา หตวิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ
8. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัสตรา มีโลหิตไหล
อาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ
9. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัตตรา มีโลหิตไหล
อาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ
10. พิจารณาซากศพที่ยังเหลืออยูแตโครงกระดูกเปน
อารมณ บริกรรมวา อฏฐิกํ ปฏิกูลํ
อนุสสติ 10 อยาง
1. พุทธานุสสติ

6. เทวตานุสสติ

2. ธัมมานุสสติ

7. อุปสมานุสสติ

3. สังฆานุสสติ

8. มรณสติ

4. สีลานุสสติ

9. กายคตาสติ

5. จาคานุสสติ

10. อานาปานสติ
อนุสสติ หมายถึง ความตามระลึกถึงอยูเปนประจํา
อารมณที่ควรตามระลึกถึงอยูเสมอ ๆ เพื่อยึดดึงใจให
สงบตั้งมั่น มี 10 อยาง คือ...
1. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจาเปนอารมณ
2. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรมเปนอารมณ
3. สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆเปนอารมณ
4. สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษาไดเปนอารมณ
5. จาคานุสสติ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาคเปนอารมณ
6. เทวตานุสสติ ระลึกถึงคุณธรรมที่ทําบุคคลใหเปน
เทวดาเปนอารมณ
7. อุปสมานุสสติ ระลึกถึงพระนิพพานเปนอารมณ
8. มรณสติ ระลึกถึงความตายที่จะมาถึงเปนอารมณ
9. กายคตาสติ ระลึกถึงทั่วไปในกาย เชน ผม ขน เล็บ
ฟน หนัง เปนตน โดยความเปนของปฏิกูลเปนอารมณ
10. อานาปานสติ ระลึกถึงลมหายใจเขา – ออก ยาว –
สั้น ก็รู วาเปนอารมณ
พรหมวิหาร ๔ อยาง
****************
1. เมตตา
2. กรุณา
3. มุทิตา
4. อุเบกขา
พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเปนเครืองอยูของทาน
่ 
ผูใหญ การบําเพ็ญกรรมฐานหมวดนี้ ไดแก การแผ
ความรูสึกที่ดีตอผูอน มีวิธีแผไมตรีจิต ๔ อยาง คือ
 ื่
1. เมตตา หมายถึง การแผเมตตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงเปน
สุขทุกถวนหนา
2. กรุณา หมายถึง การแผกรุณาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่
ประสบทุกขใหไดพนจากความทุกข
3. มุทิตา การแผมุทิตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ประสบสุข
สมบัติแลว จงดํารงอยูในสุขสมบัตินั้นนานเทานาน
4. อุเบกขา หมายถึง การแผอุเบกขา คือ การวางเฉยวางใจ
ใหเปนกลาง ไมดีใจหรือเสียใจเมื่อไดรับทุกข

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาOnpa Akaradech
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 

What's hot (20)

พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทาบทที่ 1 นิพพิทา
บทที่ 1 นิพพิทา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 

Similar to บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาSongsarid Ruecha
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์Panda Jing
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมniralai
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์duangdee tung
 

Similar to บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
คำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนาคำนำทำ 3 ภาวนา
คำนำทำ 3 ภาวนา
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
เรียนรู้วิธีออกจากทุกข์
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์จิตที่พ้นจากทุกข์
จิตที่พ้นจากทุกข์
 
Jitpontook
JitpontookJitpontook
Jitpontook
 

More from Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2Onpa Akaradech
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ Onpa Akaradech
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติOnpa Akaradech
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะOnpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

More from Onpa Akaradech (13)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
บทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติบทที่ 5 สันติ
บทที่ 5 สันติ
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
บทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะบทที่ 2 วิราคะ
บทที่ 2 วิราคะ
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน

  • 1. สมถกัมมัฏฐาน พระผูมีพระภาคทรงประธานโอวาทไววา... สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูตํ ปชานาติ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงยังสมาธิใหเกิด ชนผูมีจิตเปนสมาธิแลว ยอมรูตามความเปนจริง จุดประสงคแหงพระพุทธพจนนี้ คือ พระพุทธองค ทรงอยากใหพุทธบริษัท บําเพ็ญสมาธิเพื่อทําใจใหสงบ เมื่อใจสงบ ยอมคิดดี พูดดี ทําดี
  • 2. ใจที่เปนสมาธิยอมเห็นสิ่งตางๆได รูผิดชอบชั่วดี แต ใจนี้โดยปกติมักจะมีอารมณ คือ สิ่งที่ขัดขวางไมให ทําความดี ใหหวั่นไหว เรียกวา “นิวรณ” นิวรณ ๕ คือ 1. กามฉันท 2. พยาบาท 3. ถีนมิทธะ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ 5. วิจิกิจฉา
  • 3. 1. กามฉันท หมายถึง ความพอใจรักใครในกามคุณ ๕ มีรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ดวยอํานาจของกิเลส กามหลงใหลในกามสุข คนที่มากไปดวยกามฉันทควร แกดวยการเจริญอสุภกัมมัฏฐาน 2. พยาบาท หมายถึง ความโกรธจัด ดวยกําลังโทสะ อยางแรง ถึงกับมีความพยาบาทคิดจองลางจองผลาญ ผูอื่น คนผูมีความพยาบาท มักโกรธงายโมโหราย ควร แกดวยการเจริญพรหมวิหารธรรม ๓ ขอ คือ เมตตา กรุณา และ มุทิตา
  • 4. 3. ถีนมิทธะ หมายถึง ความหดหูทอแทและเคลิบเคลิ้ม เศราซึมแหงจิต คนผูมีถีนมิทธะมักยอทอในกิจการงาน ที่ตองทําควรแกดวยการเจริญอนุสสติกัมมัฏฐานนึกถึง ความดีของตนหรือคุณของพระรัตนตรัย เปนตน... 4. อุทธัจจกุกกุจจะ หมายถึง ความฟุงซาน อึดอัด วิตก กังวลอันเปนเหตุใหใจไมปกติ ควรแกดวยการเพงกสิณ เพื่อใหใจแนวแน หรือเจริญมรณัสสติกัมมัฏฐาน 5. วิจิกิจฉา หมายถึง ความลังเลสงสัยตัดสินใจไมไดแก ดวยการเจริญธาตุกัมมัฏฐานหรือวิปสสนากัมมัฏฐาน
  • 5. สมาธิ...แปลวา ความตั้งมั่นแหงจิต หมายถึง .แปลว อาการที่ทําจิตใหวางจากนิวรณ ควรแกการงานเปน การรวบรวมความคิดของใจ ใหตรงไปในทิศทาง เดียวกัน มี ๒ อยาง คือ 1. อุปจารสมาธิ สมาธิเปนแตเฉียด ๆ คือสมาธิที่ เกือบแนวแนสามารถระงับนิวรณไดองคฌานก็เริ่ม เกิดขึ้น เพียงแตวายังไมมีกําลังมากพอเพราะจิตยัง ไมสงบนิ่งในอารมณ
  • 6. 2. อัปปนาสมาธิ สมาธิแนวแน คือ สภาวะจิตของ บุคคลผูบําเพ็ญสมถกัมมัฏฐาน จนจิตแนบแนนคง อยูในอารมณกัมมัฏฐาน ไมฟุงซานไปที่อื่น ตั้งมั่น ในอารมณเดียวที่เรียกวา “เอกัคคตาจิต” การทําใจใหสงบเปนสมาธิ โดยวิธีคือเจริญสมถ กัมมัฏฐานนี้ ตองมีอารมณเปนเครื่องยึดเหนี่ยวใน ที่นี้ทานไดแสดงหัวใจสมถกัมมัฏฐาน ๕ อยาง อัน ใจสมถกั เปนคูปรับของนิวรณ ๕ เพื่อเปนอุบายเจิรญสมาธิ ายเจิ ญสมาธิ
  • 7. หัวใจ...สมถ ใจ... กัมมัฏฐาน 1. กายคตาสติ 2. เมตตา 3. พุทธานุสสติ 4. กสิณ 5. จตุธาตุววัตถาน
  • 8. 1.กายคตาสติ หมายถึง สติที่ไปในกาย คือการใชสติพิจารณา ถึงอวัยวะในรางกายของตนและของผูอื่น ใหเห็นเปนของไม งดงาม เรียกวา มูลกัมมัฏฐาน หรือ ตจปญจกกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาทั้งอนุโลมและปฏิโลม ในอาการ ๕ อยาง คือ พิจารณาโดยอนุโลม คือตามลําดับดวยอาการ ๕ อยาง คือ... เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ตา พิจารณาโดยปฏิโลม คือการยอนลําดับ ดวยอาการ ๕ อยาง คือ... ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา ตา กัมมัฏฐานขอนี..... อํานวยผลเพียงขั้นอุปจารสมาธิ และเปน ้ ... ประโยชนแกผูมีกามฉันทเปนเจาเรือน เพราะทําใหไมยดมั่นใน ึ กายของตนและของผูอื่น...
  • 9. 2. เมตตา หมายถึง ความรักที่ไมเจือดวยความใคร คือความปรารถนาดีหวังดีตอผูอื่น คิดนําสุขไปใหเขา โดยสวนเดียว การแผเมตตาในที่นี้ เบื้องตนตองแผ โดยเจาะจงกอน เชน แผใหกับคนในครอบครัว เมือ ่ ชํานาญแลว จึงแผไปโดยไมเจาะจงบุคคลหรือสัตว โดยไมเลือก กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิ ้ ..อํ และเปนประโยชนแกผูมีความพยาบาท เพราะทําใหเปนอยู ดวยความไมมีเวรไมมีภัยตอกัน รักใครชวยเหลือกัน...
  • 10. 3. พุทธานุสสติ หมายถึง การระลึกถึงคุณของพระ พุทธเจา คือ การสํารวมจิตนอมถึงพระพุทธคุณทั้ง ๙ ตามบทพุทธคุณ เชน อิติป โส ภควา อรหัง สัมมา เปนตน หรือ พุทธคุณ ๓ คือ พระปญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระกรุณาธิคุณทั้งหมดหรือบท ใดบทหนึ่งจนจิตสงบตั้งมั่นเปนสมาธิ กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ้ ..อํ และเปนประโยชนแกผูที่มีถีนมิทธะ เพราะทําใหจิตใจไมหด หูไมยอทอตออุปสรรคที่มาขัดขวางในการทําความดีงาม
  • 11. 4. กสิณ หมายถึง เครื่องหมายจูงใจหรือวัตถุสําหรับเพง คือ การทํากัมมัฏฐาน โดยการเพงหรือการยึดเอากสิณเปน อารมณที่เรียกกันวา เพงกสิณ 10 อยาง คือ ปฐวีกสิณ (ดิน) อาโปกสิณ (น้ํา) เตโชกสิณ (ไฟ) วาโยกสิณ (ลม) ๔ อยางนี้ เรียกวา ภูตกสิณ คือ ธาตุ ๔ นีลกสิณ สีเขียว ปตกสิณ สีเหลือง โลหิตกสิณ สีแดง โอทาตกสิณ สีขาว ๔ อยางนี้ เรียกวา วัณณกสิณ คือ กสิณสี อาโลกกสิณ (แสงสวาง) อากาสกสิณ ความวางเปลา กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอัปปนาสมาธิและ ้ ..อํ และ เปนประโยชนแกผูที่อุทธัจจกุกกุจจะเพราะทําใหจิตนิ่งจดจอและ จะเพราะทํ อดทนในงานที่กระทํา
  • 12. 5. จตุธาตุววัตถาน หมายถึง กําหนดธาตุ ๔ คือ การ กําหนดพิจารณารางกาย ใหเห็นสภาวะที่เปนอยูจริงวา เปนสิ่งที่เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุ ๔ รวมกันเขา เปนรางกาย หรือแมแตสิ่งตาง ๆ ที่มนุษยไดสรางขึ้นทั้ง รางกายและสิ่งของเปนสิ่งที่เกิดจากธาตุ เมื่อธาตุรวมกัน จึงทําใหเกิดสังขาร ทั้งที่มีใจครองและมิมีใจครอง กัมมัฏฐานนี....อํานวยผลใหจิตเปนสมาธิขั้นอุปจารสมาธิ ้ ..อํ และเปนประโยชนแกผูที่วิจิกิจฉา เพราะทําใหคลายความ สงสัย ไมหลงเขาใจผิดในสภาพที่เปนอยูจริงของสิ่งตางๆ
  • 13. ความหมายของ...สมถกั ความหมายของ...สมถกัมมัฏฐาน สมถะ... สมถะ... มีความหมายอยู ๓ อยาง คือ... 1. ธรรมเปนเครื่องสงบระงับของจิต 2. ธรรมอันทําใหจิตสงบระงับจากนิวรณูปกิเลส 3. ความสงบระงับของจิตในภายใน กัมมัฏฐานนี....ไดแกอารมณที่ตั้งของจิต คือสิ่งที่ยดผูกจิตไว ้ ..ได ึ ไมใหฟุงซาน ใหสงบนิงอยูกับกัมมัฏฐาน ่ สมถกั สมถกัมมัฏฐาน จึงหมายถึงอุบายเปนเครื่องสงบใจ โดยใชสติ กําหนดอารมณกัมมัฏฐานอยางใดอยางหนึ่งในอารมณ ๔๐ วิธี
  • 14. กัมมัฏฐาน ๔๐ อยาง ซึ่งเปนอารมณของสมถกัมมัฏฐาน เพื่อทําใจใหสงบ ระงับจากนิวรณูปกิเลส มี ๗ หมวด คือ... 1. กสิณ 10 2. อสุภะ 10 3. อนุสสติ 10 4. พรหมวิหาร 5. อาหาเรปฏิกูลสัญญา 1 6. จตุธาตุววัตถาน 1 7. อรูป 4
  • 15. 1. กสิณ 10 ภูตกสิณ ๔ คือ.. 1. ปฐวีกสิณ 2. อาโปกสิณ 3. เตโชกสิณ 4. วาโยกสิณ วัณณกสิณ ๔ คือ.. ณกสิ 5. นีลกสิณ 6. ปตกสิณ 9. อาโลกกสิณ 7. โลหิตกสิณ 8. โอทาตกสิณ 10. อากาสกสิณ
  • 16. กสิณ...หมายถึง ...หมายถึ เครื่องหมายจูงใจ หรือ วัตถุ สําหรับเพงเพื่อยึดดึงใจไวในเวลาทํากรรมฐาน นิยม เรียกวาเพงกสิณ มี 10 อยาง คือ... 1. ปฐวีกสิณ เพงดินเปนอารมณ บริกรรมวา ปฐวี ๆ 2. อาโปกสิณ เพงน้ําเปนอารมณ บริกรรมวา อาโป ๆ 3. เตโชกสิณ เพงไฟเปนอารมณ บริกรรมวา เตโช ๆ 4. วาโยกสิณ เพงลมเปนอารมณ บริกรรมวา วาโย ๆ 5. นีลกสิณ เพงสีเขียวเปนอารมณ บริกรรมวา นีลํ ๆ
  • 17. 6. ปตกสิณ เพงสีเหลืองเปนอารมณ บริกรรมวา ปตกํ ๆ 7. โลหิตกสิณ เพงสีแดงเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ๆ 8. โอทาตกสิณ เพงสีขาวเปนอารมณ บริกรรมวา โอทาตํ ๆ 9. อาโลกกสิณ เพงถึงแสงสวาง บริกรรมวา อาโลโก ๆ 10. อากาสกสิณ เพงถึงอากาศ บริกรรมวา อากาโส ๆ ****************
  • 18. อสุภะ 10 อยาง 1. อุทธุมาตกอสุภะ 6. วิกขิตตกอสุภะ 2. วินีลกอสุภะ 7. หตวิกขิตกอุสภะ 3. วิปุพพกอสุภะ 8. โลหิตกอสุภะ 4. วิฉิททกอสุภะ 9. ปุฬุวกอสุภะ 5. วิกขายิตกอสุภะ 10. อัฏฐิกอสุภะ
  • 19. อสุภะ แปลวา สภาพที่ไมงาม หมายถึง ซากศพที่ ภะ อยูในสภาพตางๆ กัน ซึ่งนํามาเปนอารมณกัมมัฏฐาน โดยการพิจารณาใหเห็นวาเปนของไมงาม เปนของไม นาชื่นชม ไมนายึดมั่นถือมั่น มี 10 อยาง คือ 1. พิจารณาซากศพที่เนาพองขึ้นเปนอารมณ บิรกรรม วา อุทฺธุมาตกํ ปฏิกุลํ 2. พิจารณาซากศพที่มีมีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ บริกรรมวา วินีลกํ ปฏิกูลํ
  • 20. 3. พิจารณาซากศพที่มีน้ําเหลืองไหลออกเปนอารมณ บริกรรมวา วิปุพพกํ ปฏิกูลํ 4. พิจารณาซากศพที่ขาดกลางตัวเปนอารมณ บริกรรมวา วิฉิทฺทกํ ปฏิกูลํ 5. พิจารณาซากศพที่สัตวกัดกินแลวเปนอารมณ บริกรรม วา วิกฺขายิตกํ ปฏิกูลํ 6. พิจารณาซากศพที่มีมือ เทา ศรีษะขาดเปนอารมณ บริกรรมวา วิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ
  • 21. 7. พิจารณาซากศพที่คนที่มีเวรตอกัน ขาศึกกัน สับฟนเปน ทอนๆ เปนอารมณ บริกรรมวา หตวิกฺขิตฺตกํ ปฏิกูลํ 8. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัสตรา มีโลหิตไหล อาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ 9. พิจารณาซากศพที่ถูกประหารดวยศัตตรา มีโลหิตไหล อาบอยูเปนอารมณ บริกรรมวา โลหิตกํ ปฏิกูลํ 10. พิจารณาซากศพที่ยังเหลืออยูแตโครงกระดูกเปน อารมณ บริกรรมวา อฏฐิกํ ปฏิกูลํ
  • 22. อนุสสติ 10 อยาง 1. พุทธานุสสติ 6. เทวตานุสสติ 2. ธัมมานุสสติ 7. อุปสมานุสสติ 3. สังฆานุสสติ 8. มรณสติ 4. สีลานุสสติ 9. กายคตาสติ 5. จาคานุสสติ 10. อานาปานสติ
  • 23. อนุสสติ หมายถึง ความตามระลึกถึงอยูเปนประจํา อารมณที่ควรตามระลึกถึงอยูเสมอ ๆ เพื่อยึดดึงใจให สงบตั้งมั่น มี 10 อยาง คือ... 1. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจาเปนอารมณ 2. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระธรรมเปนอารมณ 3. สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณของพระสงฆเปนอารมณ 4. สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษาไดเปนอารมณ 5. จาคานุสสติ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาคเปนอารมณ
  • 24. 6. เทวตานุสสติ ระลึกถึงคุณธรรมที่ทําบุคคลใหเปน เทวดาเปนอารมณ 7. อุปสมานุสสติ ระลึกถึงพระนิพพานเปนอารมณ 8. มรณสติ ระลึกถึงความตายที่จะมาถึงเปนอารมณ 9. กายคตาสติ ระลึกถึงทั่วไปในกาย เชน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เปนตน โดยความเปนของปฏิกูลเปนอารมณ 10. อานาปานสติ ระลึกถึงลมหายใจเขา – ออก ยาว – สั้น ก็รู วาเปนอารมณ
  • 25. พรหมวิหาร ๔ อยาง **************** 1. เมตตา 2. กรุณา 3. มุทิตา 4. อุเบกขา พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเปนเครืองอยูของทาน ่  ผูใหญ การบําเพ็ญกรรมฐานหมวดนี้ ไดแก การแผ ความรูสึกที่ดีตอผูอน มีวิธีแผไมตรีจิต ๔ อยาง คือ  ื่
  • 26. 1. เมตตา หมายถึง การแผเมตตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงเปน สุขทุกถวนหนา 2. กรุณา หมายถึง การแผกรุณาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ ประสบทุกขใหไดพนจากความทุกข 3. มุทิตา การแผมุทิตาจิตคิดใหสัตวทั้งปวงที่ประสบสุข สมบัติแลว จงดํารงอยูในสุขสมบัตินั้นนานเทานาน 4. อุเบกขา หมายถึง การแผอุเบกขา คือ การวางเฉยวางใจ ใหเปนกลาง ไมดีใจหรือเสียใจเมื่อไดรับทุกข