Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad

Check these out next

1 of 15 Ad

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒

Download to read offline

กรรมฐาน (ต่อ)

กรรมฐาน (ต่อ)

Advertisement
Advertisement

More Related Content

Slideshows for you (20)

Viewers also liked (20)

Advertisement

Similar to กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒ (20)

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

Advertisement

Recently uploaded (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒

  1. 1. ประเภท กรรมฐานในทาง พระพุทธศาสนา สมถกรรมฐาน ฝึกจิตให้ สงบ มั่นคง พร้อมใช้งาน วิปัสสนากรรมฐาน ฝึกจิต ให้เกิดปัญญา รู้เห็นตาม ความเป็นจริง ละ ปล่อยวาง
  2. 2. กรรมฐานในพระพุทธศาสนา •จุดมุ่งหมาย •อารมณ์กรรมฐาน •วิธีการปฏิบัติ •ผลการปฏิบัติ
  3. 3. สมถกรรมฐาน • จุดมุ่งหมาย มีจุดมุ่งหมายเพื่อฝึกจิตให้เกิดความ สงบ ไม่ฟุ้งซ่าน แน่วแน่ ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว พร้อม ใช้งาน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานที่ดีในการเจริญวิปัสสนา อารมณ์ ในคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านรวบรวมอารมณ์ สมถกรรมฐานไว้เป็นหมวดหมู่ ๔๐ อย่าง ได้แก่ - กสิณ ๑๐ - อสุภะ ๑๐ - อนุสสติ ๑๐ - พรหมวิหาร ๔ - อรูป ๔ - อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ - จตุธาตุววัตถาน ๑
  4. 4. • วิธีการปฏิบัติ ประคองจิตให้แนบแน่นอยู่กับอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดาอารมณ์ ๔๐ อย่าง จนจิต แนบสนิทอยู่กับอารมณ์ ไม่ฟุ้งซ่าน ซัดส่าย คิดเรื่องอื่น • ผลของการปฏิบัติ เมื่อจิตตั้งมั่นแน่วแน่เป็นสมาธิแล้ว จะเกิดสภาวะที่เรียกว่า ฌาน แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ รวมเรียกว่า สมาบัติ ๘ • และเกิดผลพลอยได้พิเศษ เรียกว่า อภิญญา ๕ ได้แก่ - แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้ - หูทิพย์ - ตาทิพย์ - รู้วาระจิตของผู้อื่น - ระลึกชาติได้
  5. 5. วิปัสสนากรรมฐาน • จุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดปัญญาทรู้เห็นตามความเป็น จริง (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) • อารมณ์ มีรูปนาม ขันธ์ ๕ (วิปัสสนาภูมิ ๖) เป็น อารมณ์ • วิธีการปฏิบัติ ใช้สติปัญญากาหนดรู้เท่าทันอารมณ์ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันตามเป็นจริงแล้ว ปล่อย ละ วาง • ผลของการปฏิบัติ ญาณ วิชชา มรรค ผล นิพพาน
  6. 6. • วิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการฝึกจิตให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่ง ต่าง ๆ อย่างมีสติสัมปชัญญะ เพื่อป้องกันกาจัดกิเลสไม่ให้เกิดขึ้น ในขันธสันดานและเพื่อกาจัดอนุสัยกิเลสที่มีอยู่ในจิตใจให้หมด ไป • ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานเต็มที่แล้วจะเกิดผลคือยถาภูตญาทัส สนะ กล่าวคือปัญญาที่รู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงว่า “สรรพสิ่งล้วนตกอยู่ในลักษณะ ๓ ประการ คือ ไม่เที่ยง เป็น ทุกข์ เป็นอนัตตา” • เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้แล้วจิตก็จะปล่อยวางไม่เข้าไปยึดมั่นถือมั่น ด้วยอานาจอุปาทานในสิ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง สามารถกาจัดกิเลส ได้อย่างถาวร บรรลุมรรค ผล นิพพาน จิตเข้าถึงสภาวะที่บริสุทธิ์
  7. 7. อารมณ์กรรมฐาน • อารมณ์ หมายถึง สิ่งที่จิตยึดเหนี่ยวในขณะเจริญกรรมฐาน หรือ สิ่งที่เป็นอุปกรณ์ใช้สาหรับทากรรมฐาน • อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ท่านรวบรวมไว้ ๔๐ อย่าง คือ • หมวดกสิณ ๑๐ วัตถุอันจูงใจ หรือกัมมัฏฐานที่ใช้วัตถุสาหรับ เพ่งเพื่อจูงจิตให้เป็นสมาธิ เช่น ปฐวีกสิณ อาโปกสิณ เป็นต้น • หมวดอสุภะ ๑๐ พิจารณาซากศพที่อยู่ในสภาพต่าง ๆ โดย ความไม่งามเป็นอารมณ์ เช่น อุทธุมาตกะ พิจารณาซากศพที่ เน่าพองขึ้นอืด เป็นต้น
  8. 8. • หมวดอนุสสติ ๑๐ อารมณ์ที่ควรระลึกถึงเนือง ๆ เช่น พุทธานุสสติ ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า เป็นต้น • หมวดอัปปมัญญา หรือ พรหมวิหาร ๔ ธรรมที่พึงแผ่ไปยังสรรพ สัตว์ไม่มีประมาณไม่จากัดขอบเขต เช่น เมตตา แผ่ความปรารถนาดี ไปยังสรรพสัตว์ • หมวดอาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ ความสาคัญในอาหารว่าเป็นของปฏิกูล • หมวดจตุธาตุววัตถาน ๑ การกาหนดร่างกายโดยความเป็นธาตุ ๔ • หมวดอรูป ๔ กรรมฐานที่กาหนดเอาสิ่งที่ไม่มีรูปเป็นอารมณ์ เช่น อากาสานัญจายตนะ กาหนดที่ว่างหาที่สุดมิได้เป็นอารมณ์ เป็นต้น
  9. 9. อารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐาน • ในคัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านรวบรวมไว้เป็น ๖ หมวด คือ • หมวดขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ • หมวดอายตนะ ๑๒ ได้แก่ ภายใน ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ภายนอก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธัมมารมณ์ • หมวดธาตุ ๑๘ เช่น จักขุธาตุ รูปธาตุ จักขุวิญญาณธาตุ เป็นต้น • หมวดอินทรีย์ ๒๒ เช่น จักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ เป็นต้น • หมวดอริยสัจ ๔ ได้แก่ ทุกข์ สมทัย นิโรธ มรรค • หมวดปฏิจจสมุปบาท ๑๒ เช่น อวิชชา สังขาร วิญญาณ เป็นต้น
  10. 10. จุดมุ่งหมายของกรรมฐาน ก. จุดมุ่งหมายของสมถกรรมฐาน • ปฏิบัติเพื่อให้จิตเกิดสมาธิสงบ แน่วแน่ ตั้งมั่น ไม่ฟุ้งซ่าน จนสามารถระงับนิวรณ์ ๕ คือ • ๑ กามฉันทะ ความพอใจในกาม • ๒ พยาบาท ความคิดร้ายขัดเคืองใจ • ๓ ถีนมิทธะ ความท้อแท้หดหู่ • ๔ อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านราคาญใจ • ๕ วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
  11. 11. • สมาธิที่ระงับนิวรณ์ ๕ ได้จนเข้าถึงความสงบระดับฌานนั้นจะมี ระดับที่ต่าง กันโดยถือเอาความละเอียดของจิตเป็นข้อแบ่งแยกดังนี้ • สมาธิที่เกิดจากการกาหนดสิ่งที่มีรูปร่างเป็นอารมณ์ เรียกว่า รูปฌาน ๔ มีระดับความละเอียดของจิต ดังนี้ ๑. ปฐมฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๕ อย่างคือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ๒. ทุติยฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๓ อย่างคือ ปีติ สุข เอกัคคตา ๓. ตติยฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ สุข เอกัคคตา ๔. จตุตถฌาน มีธรรมที่เป็นองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ อุเบกขา เอกัคคตา
  12. 12. • สมาธิที่เกิดจากการกาหนดสิ่งที่ไม่มีรูปร่างเป็นอารมณ์ เรียกว่า อรูปฌาน ๔ มีระดับความละเอียดของจิต ดังนี้ ๑ อากาสานัญจายตนะ ฌานอันกาหนดอากาศคือช่องว่างหา ที่สุดมิได้เป็นอารมณ์ ๒ วิญญานัญจายตนะ ฌานอันกาหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้เป็น อารมณ์ ๓ อากิญจัญญายตนะ ฌานอันกาหนดภาวะที่ไม่มีอะไร ๆ เป็น อารมณ์ ๔ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฌานที่เข้าถึงภาวะมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่
  13. 13. อภิญญา ความรู้ความสามารถพิเศษเหนือธรรมดา • นอกจากนี้ผู้เจริญสมถกรรมฐานจนสามารถทาฌานให้เกิดขึ้น แล้วยังจะได้รับผลพลอยได้คือความสามารถพิเศษซึ่งเรียกว่า อภิญญา ๕ อย่าง ได้แก่ • (๑) แสดงฤทธิ์ต่าง ๆ ได้ • (๒) มีหูทิพย์ • (๓) กาหนดรู้ใจคนอื่นได้ • (๔) ระลึกชาติได้ • (๕) มีตาทิพย์
  14. 14. ข. จุดมุ่งหมายของวิปัสสนากรรมฐาน • วิปัสสนากรรมฐาน เป็นวิธีการฝึกจิตให้เข้าไปเกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ อย่างมีสติสัมปชัญญะ เพื่อป้องกันกาจัดกิเลสไม่ให้เกิดขึ้นในขันธ สันดานและเพื่อกาจัดอนุสัยกิเลสที่มีอยู่ในจิตใจให้หมดไป • ผู้เจริญวิปัสสนากรรมฐานเต็มที่แล้วจะเกิดผลคือยถาภูตญาทัสสนะ กล่าวคือปัญญาที่รู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริงว่าสรรพสิ่งล้วน ตกอยู่ในลักษณะ ๓ ประการ คือ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา • เมื่อพิจารณาเห็นดังนี้แล้วจิตก็จะปล่อยวางไม่เข้าไปยึดมั่นถือมั่น ด้วยอานาจอุปาทานในสิ่งที่เข้าไปเกี่ยวข้อง สามารถกาจัดกิเลสได้ อย่างถาวร บรรลุมรรค ผล นิพพาน จิตเข้าถึงสภาวะที่บริสุทธิ์

×