SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง
เมื่อเรียนจบบทนี้แล้วนักเรียนจะสามารถ
1. แยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสามที่อยู่ในรูปผลบวกกาลังสามและผลต่างกาลังสาม
โดยใช้สูตร
2. แยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม ที่สามารถจัดให้อยู่ในรูปผลต่างของ
กาลังสอง กาลังสองสมบูรณ์ ผลบวกของกาลังสาม หรือผลต่างของกาลังสาม โดยใช้
สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการแจกแจง
จุดประสงค์ของบทเรียน
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง
• สมบัติของเลขยกกาลัง
(am)n = amn เมื่อ a เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m และ n เป็นเลขชี้กาลังที่เป็นจานวนเต็ม
เช่น (103)2 = 103  2 = 106
210 = 25  2 = (25)2
(ab)n = an bn เมื่อ a, b เป็นจานวนจริงที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n เป็นเลขชี้กาลังที่เป็นจานวนเต็ม
เช่น (2 x 5)3 = 23  53 = 1,000
• พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป x2 + bx + c แยกตัวประกอบเป็น (x + m)(x + n) ได้ เมื่อ mn = c และ m + n = b
โดยที่ b, c, m และ n เป็นจานวนเต็ม
เช่น x + 5x +6 = (x + 2)(x + 3)
• พหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c แยกตัวประกอบเป็น (px + r)(qx + s) ได้ เมื่อ pq = a, rs = c
และ ps + qr = b โดยที่ a, b, c, d, q, r, s เป็นจานวนเต็ม และ a  0
เช่น 6x2 – 7x – 3 = (2x – 3)(3x + 1)
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
บทที่ 2 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง
• ถ้า A และ B เป็นพหุนาม จะแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ตามสูตร ดังนี้
A2 + 2AB + B2 = (A + B)2
A2 – 2AB + B2 = (A – B)2
• ถ้า A และ B เป็นพหุนาม จะแยกตัวประกอบของพหุนามที่เป็นผลต่างของกาลังสองได้ตามสูตร ดังนี้
A2 – B2 = (A + B)(A – B)
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
นักเรียนเคยทราบมาแล้วเกี่ยวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจานวนเต็ม
และ a  0 ให้ได้เป็นตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็ม ในบทนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบ
ของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็มให้ได้เป็นตัวประกอบที่มีสัมประสิทธิ์ของ
แต่ละพจน์และค่าคงตัวเป็นจานวนเต็มเท่านั้น
ทักษะในการแยกตัวประกอบของพหุนามนี้ จะเป็นพื้นฐานการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์
ได้มากขึ้น
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็น
จานวนเต็ม และตัวประกอบที่ได้มามีสัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์เป็นจานวนเต็มด้วย
1. (x + 5) (x2 – 5x + 25) = x3 – 5x2 + 25x + 5x2 – 25x + 125
= x3 + 125
= x3 + 53
2. (2x + 3) (4x2 – 6x + 9) = 8x3 – 12x2 + 18x + 12x2 – 18x + 27
= 8x3 + 27
= (2x)3 + 33
พิจารณาการหาผลคูณของพหุนามในแต่ละข้อต่อไปนี้
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
จากผลคูณในข้อที่ 1 ถึงข้อ 4 ข้างต้น จะเห็นว่าเมื่อมีผลคูณเป็นพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกของกาลังสามหรือ
ผลต่างของกาลังสาม สามารถใช้สมบัติของการเท่ากันเขียนพหุนามที่เป็นผลคูณนั้นในรูปการคูณของพหุนามได้ นั่นคือ
จะได้การแยกตัวประกอบของ x3 + 53 , (2x)3 + 33 , x3 – 53 และ (2x)3 – 33 เป็นดังนี้
1. x3 + 53 = (x + 5) (x2 – 5x + 25)
2. (2x)3 + 33 = (2x + 3) (4x2 – 6x + 9)
3. x3 – 53 = (x – 5) (x2 + 5x + 25)
4 .(2x)3 – 33 = (2x – 3) (4x2 + 6x + 9)
3. (x – 5) (x2 + 5x + 25) = x3 + 5x2 + 25x – 5x2 – 25x – 125
= x3 – 125
= x3 – 53
4. (2x – 3) (4x2 + 6x + 9) = 8x3 + 12x2 + 18x – 12x2 – 18x – 27
= 8x3 – 27
= (2x)3 – 33
เรียกพหุนาม เช่น x3 + 53 และ (2x)3 + 33 ว่า ผลบวกของกาลังสาม
และ เรียกพหุนาม เช่น x3 – 53 และ (2x)3 – 33 ว่า ผลต่างของกาลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
พิจารณา x3 – 53 = (x – 5)(x2 + 5x + 25)
หรือ x3 – 53 = (x – 5)[x2 + (x)(5) + 52]
และพิจารณา (2x)3 – 33 = (2x – 3)(4x2 + 6x + 9)
หรือ (2x)3 – 33 = (2x – 3)[(2x)2 + (2x)(3) + 32]
จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของพหุนามข้างต้นมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้
(พจน์หน้า)3 – (พจน์หลัง)3 = (พจน์หน้า – พจน์หลัง)[(พจน์หน้า)2 + (พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2]
พิจารณา x3 + 53 = (x + 5)(x2 – 5x + 25)
หรือ x3 + 53 = (x + 5)[x2 – (x)(5) + 52]
และพิจารณา (2x)3 + 33 = (2x + 3)(4x2 – 6x + 9)
หรือ (2x)3 + 33 = (2x + 3)[(2x)2 – (2x)(3) + 32]
จะเห็นว่า การแยกตัวประกอบของพหุนามข้างต้นมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้
(พจน์หน้า)3 + (พจน์หลัง)3 = (พจน์หน้า + พจน์หลัง)[(พจน์หน้า)2 – (พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2]
พจน์หน้าคือ x พจน์หลังคือ 5
พจน์หน้าคือ 2x พจน์หลังคือ 3
พจน์หน้าคือ x พจน์หลังคือ 5
พจน์หน้าคือ 2x พจน์หลังคือ 3
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ x3 + 125
วิธีทา x3 + 125 = x3 + 53
= (x + 5) [x2 – (x)(5) + 52]
= (x + 5) (x2 – 5x + 25)
ดังนั้น x3 + 125 = (x + 5) (x2 – 5x + 25)
ในกรณีทั่วไป เมื่อ A และ B เป็นพหุนาม เรียกพหุนามที่อยู่ในรูป A3 + B3 ว่าผลบวกของกาลังสาม และ
เรียกพหุนามที่อยู่ในรูป A3 – B3 ว่าผลต่างของกาลังสาม
การแยก ตัวประกอบของพหุนามทาได้ตามสูตรดังนี้
A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2)
A3 – B3 = (A – B)(A2 + AB + B2)
ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 27x3 + 64
วิธีทา 27x3 + 64 = (3x)3 + 43
= (3x + 4) [(3x)2 – (3x)(4) + 42]
= (3x + 4) (9x2 – 12x + 16)
ดังนั้น 27x3 + 64 = (3x + 4) (9x2 – 12x + 16)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ (2x + 1)3 + (x – 3)3
วิธีทา (2x + 1)3 + (x – 3)3 = [(2x + 1) + (x – 3)][(2x + 1)2 – (2x + 1)(x – 3) + (x – 3)2]
= (2x + 1 + x – 3)[(4x2 + 4x + 1) – (2x2 – 6x+x – 3) + (x2 – 6x + 9)]
= (3x – 2) (4x2 + 4x + 1 – 2x2 + 5x + 3 + x2 – 6x + 9)
= (3x – 2) (3x2 + 3x + 13)
ดังนั้น (2x + 1)3 + (x – 3)3 = (3x – 2) (3x2 + 3x + 13)
ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ 1,000 – x3
วิธีทา 1,000 – x3 = 103 – x3
= (10 – x)[102 + (10)(x) + x2]
= (10 – x)[100 + 10x + x2]
ดังนั้น 1,000 – x3 = (10 – x)[100 + 10x + x2]
ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ x3 – 126
วิธีทา x3 – 126 = x3 – 63
= (x – 6) [x2 + (x)(6) + 62]
= (x – 6) (x2 + 6x + 36)
ดังนั้น x3 – 126 = (x – 6) (x2 + 6x + 36)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ 8x3 – 27y3
วิธีทา 8x3 – 27y3 = (2x)3 – (3y)3
= (2x – 3y)[(2x)2 + (2x)(3y) + (3y)2]
= (2x – 3y) (4x2 + 6xy +9y2)
ดังนั้น 8x3 – 27y3 = (2x – 3y) (4x2 + 6xy +9y2)
ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ (x – 3)3 – (3x + 2)3
วิธีทา (x – 3)3 – (3x + 2)3 = [(x – 3) – (3x + 2)][(x – 3)2 + (x – 3)(3x + 2) + (3x + 2)2]
= (x – 3 – 3x – 2)(x2 – 6x + 9 + 3x2 + 2x – 9x – 6 + 9x2 + 12x + 4)
= (– 2x – 5)(13x2 – x + 7)
ดังนั้น (x – 3)3 – (3x + 2)3 = (– 2x – 5)(13x2 – x + 7)
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
จากสูตร A3 + B3 = (A + B)(A2 – AB + B2)
A3 – B3 = (A – B)(A2 + AB + B2)
เพื่อให้ง่ายต่อการจดจาและนาไปใช้ อาจจาโดยย่อ ดังนี้
(หน้า)3 + (หลัง)3 = (หน้า + หลัง)[(หน้า)2 – (หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 ]
(หน้า)3 – (หลัง)3 = (หน้า – หลัง)[(หน้า)2 + (หน้า)(หลัง) + (หลัง)2]
จาไว้ใช้
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.1 ก
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสอง บางครั้งอาจทาได้โดยจัดพหุนามนั้นให้อยู่ในรูป
ผลต่างของกาลังสอง กาลังสองสมบูรณ์ ผลบวกของกาลังสาม ผลต่างของกาลังสาม หรือนาแนวคิดใน
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่อยู่ ในรูปอื่น ๆ มาใช้ จากนั้นนักเรียนสามารถนาความรู้ที่เคย
เรียนมาแล้วมาใช้ในการแยกตัวประกอบต่อได้ ดังต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 8 จงแยกตัวประกอบของ 16x4 – 812
วิธีทา 16x4 – 812 = (4x)2 – 92
= (4x2 + 9)(4x2 – 9)
= (4x2 + 9)[(2x)2 – 3]
= (4x2 + 9)(2x + 3)(2x – 3)
ดังนั้น 16x4 – 812 = (4x2 + 9)(2x + 3)(2x – 3)
ตัวอย่างที่ 9 จงแยกตัวประกอบของ x4 + x2 + 1
วิธีทา x4 + x2 + 1 = (x4 + 2x2 + 1) – x2
= (x2 + 1)2 – x2
= [(x2 + 1) + x][(x2 + 1) – x]
= (x2 + x + 1)(x2 – x + 1)
ดังนั้น x4 + x2 + 1 = (x2 + x + 1)(x2 – x + 1)
เพื่อให้ได้ (x2 + 1)2 จะต้องมีพจน์ 2x2 แต่
เนื่องจากพจน์กลางของพหุนาม x4 + x2 +
1 ไม่มีพจน์ 2x2 แต่มีพจน์ x2 จึงต้องเพิ่มอีก
x2 แล้วลบออกด้วย x2
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 10 จงแยกตัวประกอบของ x4 + 4
วิธีทาx4 + 4 = (x2)2 + 22
= [(x2)2 + 2(2)x2 + 22] – 2(2)x2
= (x2 + 2)2 – 4x2
= (x2 + 2)2 – (2x)2
= [(x2 + 2) + 2x][ (x2 + 2) – 2x]
= (x2 + 2x + 2) (x2 – 2x + 2)
ดังนั้น x4 + 4 = (x2 + 2x + 2) (x2 – 2x + 2)
เพื่อให้ได้ (x2 + 2)2 จะต้องมีพจน์
2(2)x2 แต่เนื่องจากไม่มีพจน์ 2(2)x2
ของพหุนาม x4 + 4 จึงต้องเพิ่ม
พจน์ 2(2)x2 เข้าไปแล้วลบออกด้วย
2(2)x2
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 11 จงแยกตัวประกอบของ x6 – 64
วิธีทา
วิธีที่ 1 แยกตัวประกอบโดยจัดพหุนาม x6 – 64 ให้อยู่ในรูปของ
ผลต่างกาลังสองก่อน
x6 – 64 = (x3)2 – 82
= (x3 + 8)(x3 – 8)
= (x3 + 23)(x3 – 23)
= (x + 2)(x2 – 2x + 4)(x – 2)(x2 + 2x + 4)
= (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4)
ดังนั้น x6 – 64 = (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4)
วิธีที่ 2 แยกตัวประกอบโดยจัดพหุนาม x6 – 64 ให้อยู่ในรูปของ
ผลต่างกาลังสามก่อน
x6 – 64 = (x2)3 – 43
= (x2 – 4)(x4 + 4x2 + 16)
= (x + 2)(x – 2)[(x4 + 8x2 + 16) – 4x2]
= (x + 2)(x – 2)[(x2 + 4)2 – (2x)2]
= (x + 2)(x – 2)[(x2 + 4) + 2x][(x2 + 4) – 2x]
= (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4)
ดังนั้น x6 – 64 = (x + 2)(x – 2)(x2 – 2x + 4)(x2 + 2x + 4)
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.1 ข
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างที่ 12 จงแยกตัวประกอบของ x3 – 6x2 + 12x – 8
วิธีทา x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x3 – 8) – (6x2 – 12x)
= (x3 – 22) – 6x(x – 2)
= (x – 2)(x2 + 2x +4) – 6x(x – 2)
= (x – 2)[(x2 + 2x +4) – 6x]
= (x – 2)(x2 – 4x +4)
= (x – 2)(x – 2)(x – 2)
ดังนั้น x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x – 2)(x – 2)(x – 2)
หรือ x3 – 6x2 + 12x – 8 = (x – 2)3
ในบางครั้งการแยกตัวประกอบของพหุนาม อาจต้องจัดพจน์ใหม่โดยใช้สมบัติการเปลี่ยนหมู่ สมบัติการสลับที่
และสมบัติการแจกแจง ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 13 จงแยกตัวประกอบของ 16x4 – y2 + 2y – 1
วิธีทา 16x4 – y2 + 2y – 1 = 16x4 – (y2 – 2y + 1)
= 16x4 – (y2 – 1)2
= (4x2)2 – (y2 – 1)2
= [4x2 + (y – 1)][4x2 – (y – 1)]
= (4x2 + y – 1)(4x2 – y – 1)
ดังนั้น 16x4 – y2 + 2y – 1 = (4x2 + y – 1)(4x2 – y – 1)
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.1 ค

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสามSomporn Amornwech
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมjinda2512
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการnarong2508
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรพัน พัน
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือTeraporn Thongsiri
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามChitpol Kamthep
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรJiraprapa Suwannajak
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนแบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนMath and Brain @Bangbon3
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูปผลบวกและผลต่างของกำลังสาม
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยมจำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
จำนวนเต็ม เศษส่วน และทศนิยม
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะเรื่องการบวกและการลบเอกนาม
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
ทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือทฤษฎีเศษเหลือ
ทฤษฎีเศษเหลือ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
ปริพันธ์
ปริพันธ์ปริพันธ์
ปริพันธ์
 
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
3.3 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกำลังสองตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปรกราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
กราฟของสมการเชิงเส้นสองตัวอปร
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วนแบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
แบบฝึกหัด เรื่อง สัดส่วน
 

Similar to 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม Somporn Amornwech
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามPiyanouch Suwong
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญKrukomnuan
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)Krukomnuan
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตkrurutsamee
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้pummath
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newKrukomnuan
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสkrurutsamee
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfrattapoomKruawang2
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10Kuntoonbut Wissanu
 
Polynomial m2 2561
Polynomial m2 2561Polynomial m2 2561
Polynomial m2 2561Tum Anucha
 

Similar to 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม  (20)

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสูงกว่าสาม 
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2Add m3-1-chapter2
Add m3-1-chapter2
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญบทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
บทเรียนซ่อมเสริมการแยกฯ ม.3 ส่วนบุญ
 
32201mid522
32201mid52232201mid522
32201mid522
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนามแบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
แบบฝึกทักษะชุด เรื่อง การบวกและการลบเอกนาม
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3(สี)
 
เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3newแบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
แบบฝึกซ่อมเสริมกำลังสองสมบูรณ์ม.3new
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
Square Root 2
Square Root 2Square Root 2
Square Root 2
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
 
Polynomial m2 2561
Polynomial m2 2561Polynomial m2 2561
Polynomial m2 2561
 

More from Somporn Amornwech

5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงานSomporn Amornwech
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพSomporn Amornwech
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่Somporn Amornwech
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูลSomporn Amornwech
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์Somporn Amornwech
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 

More from Somporn Amornwech (14)

5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
4.ความสำคัญและขั้นตอนการทำของโครงงานคณิตศาสตร์
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
2.หลักการและจุดมุ่งหมายของโครงงานคณิตศาสตร์
 
1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน1.ความหมายของโครงงาน
1.ความหมายของโครงงาน
 
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
2.2 การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยแผนภาพ
 
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
2.1การวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยตารางความถี่
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล1.3 ประเภทข้อมูล
1.3 ประเภทข้อมูล
 
1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ1.2 คำสำคัญ
1.2 คำสำคัญ
 
1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์1.1 สถิติศาสตร์
1.1 สถิติศาสตร์
 
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.2 คำตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.1 แนะนำอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม