SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
8.
ความรู้เดิม
➢ นิพจน์ที่สามารถเขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขั้นไป และเลขชี้กำลังของ
ตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก เรียกว่า เอกนาม
➢ นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนาม หรือเขียนอยู่ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไปได้ เรียกว่า
พหุนาม และเรียกแต่ละเอกนามในพหุนามว่า พจน์
➢ พหุนามที่ไม่มีพจน์ที่คล้ายกัน เรียกว่า พหุนามในรูปผลสำเร็จ
เรียกดีกรีสูงสุดของพจน์ของพหุนามในรูปผลสำเร็จว่า ดีกรีของพหุนาม เช่น
เป็นพหุนามในรูปผลสำเร็จ ที่มีดีกรีของพหุนามเท่ากับ
➢ ตัวประกอบของจำนวนนับใด คือ จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นลงตัว เช่น
ตัวประกอบทั้งหมดของ คือ และ
ตัวประกอบทั้งหมดของ คือ และ
จากตัวอย่างข้างต้นจะได้ว่า และ เป็นตัวประกอบของทั้ง และ จึงเรียก
และ ว่า ตัวประกอบร่วม หรือตัวหารร่วมของ และ
➢ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ เช่น
และ เป็นตัวประกอบเฉพาะของ
➢ การแยกตัวประกอบของจำนวนนับใด คือประโยคที่แสดงการเขียนจำนวนนับนั้นรูปการคูณของตัว
ประกอบเฉพาะ เช่น
➢ ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด หรือ ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป คือ
จำนวนนับที่มากที่สุดที่หารจำนวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม.ของ และ คือ
การเขียนพหุนามที่กำหนดให้
ให้อยู่ในรูปการคูณของพหุนาม
ตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป โดยที่
แต่ละพหุนามหารพหุนามที่
กำหนดให้ได้ลงตัวดังข้างต้น
เป็นตัวอย่างของ การแยกตัว
ประกอบ (Factorization)
ของพหุนามที่กำหนดให้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
ให้นักเรียนพิจารณาการคูณของพหุนามต่อไปนี้
การแยกตัวประกอบของพหุนามเป็นกระบวนการทำ
ย้อนกลับของการคูณพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจง
ตัวประกอบของพหุนามใด คือ
พหุนามที่หารพหุนามนั้นได้ลงตัว
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
ถ้า ,
a b และ c เป็นพหุนาม เราก็สามารถใช้สมบัติการแจกแจงข้างต้นได้ด้วย และเรียก a ว่า ตัว
ประกอบร่วมของ ab และ ac หรือตัวประกอบร่วมของ ba และ ca
พิจารณาวิธีการแยกตัวประกอบของ 2 2
6 15
a b ab
− โดยใช้สมบัติการแจกแจง ดังนี้
2 2
6 15
a b ab
− ( ) ( )
2 5
3 3
a b a
a b b
=     −     d
( )
2
3 5
a b
a b
  −

=  d
( )
2
3 5
a b
ab
= − d
ดังนั้น 2 2
6 15
a b ab
− ( )
3 2 5
ab a b
= −
ในการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีหลายพจน์ นอกจากจะใช้สมบัติการแจกแจงแล้ว อาจต้องใช้
สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการเปลี่ยนหมู่ประกอบด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 2
2 2
ab ac bc c
− + −
วิธีทำ 2
2 2
ab ac bc c
− + − ( ) ( )
2
2 2c
b
a c
a bc
= − + −
( ) ( )
2 2
b c b
a c
c
= − −
+
( )( )
2
a c b c
= + −
ดังนั้น ( )( )
2
2 2 2
ab ac bc c a c b c
− + − = + −
ตอบ ( )( )
2
2 2 2
ab ac bc c a c b c
− + − = + −
เราสามารถ จับคู่อีกแบบหนึ่งได้ดังนี้
2
2 2
ab ac bc c
− + − ( ) ( )
2
2 2
b b c c
a c a
− −
= + +
( ) ( )
2 c
b a c a
c
= + +
−
( )( )
2
b c a c
= − +
ดังนั้น ( )( ) ( )( )
2
2 2 2 2
ab ac bc c b c a c a c b c
− + − = − + = + −
ตอบ ( )( )
2
2 2 2
ab ac bc c a c b c
− + − = + −
1. การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง
สมบัติการแจกแจงกล่าวว่า ถ้า ,
a b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว
( )
a b c ab ac
+ = + หรือ ( )
b c a ba ca
+ = +
เราอาจเขียนสมบัติการแจกแจงข้างต้นใหม่ เป็นดังนี้
( )
ab ac a b c
+ = + หรือ ( )
ba ca b c a
+ = +
เราสามารถใช้แนวคิดของการหา
ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ในการ
แยกตัวประกอบของพหุนามได้
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 1
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
ข้อ
ที่
สมการ
ข้อ
ที่
สมการ
1. 10 4
x+ = 11. 2
15 5
x y x
+ =
2. 7 14
x− = 12. 2
6 8
xy xy
− =
3. 9 3
x
− + = 13. 3
x x
+ =
4. 8 12x
− − = 14. 3
4
y y
+ =
5. 14 26
y z
+ = 15. 2 2
9 6
y z yz
− =
6. 2
13
x x
+ = 16. 3 2 2 3
21 28
x y x y
− =
7. 2
3 2
z z
− = 17. 2 3 5
7 63
x z xz
− + =
8. 2
5 20
y y
− = 18. 4 2 3 3
24 18
x z x z
+ =
9. 12 16
xz z
− = 19. 2 3 3 2 3 3
30 36 6
x y x y x y
+ − =
10. 2
33 11
y yz
− = 20. 2 2 3 3 4
24 27 9
xz x z x z
− + =
ข้อ
ที่
สมการ
ข้อ
ที่
สมการ
1. ( 3) 5( 3)
m n n
+ + + = 6. 3 3
na b nb a
+ + + =
2. ( ) ( )
x y z x y
+ − + = 7. 2 2
8 8
n m n p m p
+ − − =
3. 4 ( ) ( )
t a b s a b
+ − + = 8. 3 2
2 14 7
x x x
− + − =
4. ax by bx ay
+ + + = 9. 2 3
2 5 10
a b a ab
− − + =
5. 5 10 2
a x ab bx
− + − = 10. 3 3 2 2
x x z y z y
− + − =
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2
ax bx c
+ +
เมื่อ 1,
a b
= และ c เป็นจำนวนเต็ม ที่ 0
c 
กรณีที่ 1
a = และ 0
c  พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวอยู่ในรูป 2
ax bx c
+ + เราสามารถ
แยกตัวประกอบของพหุนาม 2
ax bx c
+ + โดยอาศัยแนวคิดจากการหาผลคูณของพหุนาม ดังนี้
( )( )
2 3
x x
+ + = ( )( ) ( )( )
2 2 3
x x x
+ + +
e = ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( )
2 3 2 3
x x x x
+ + +
e = 2
2 3 6
x x x
+ + +
e = 2
5 6
x x
+ +
จะได้ ( )( )
2 3
x x
+ + = 2
5 6
x x
+ +
ดังนั้น การแยกตัวประกอบของพหุนาม 2
5 6
x x
+ + สามารถทำได้โดยทำขั้นตอนย้อนกลับ ดังนี้
2
5 6
x x
+ + = ( ) ( )( )
2
2 3 2 3
x x
+ + +
e = ( )( )
2
2 3 2 3
x x x
+ + +
e = ( )( )
2
2 3 2 3
x x x
 
+ + +
 
 
 
e = ( ) ( )
2 3 2
x x x
+ + +
e = ( )( )
3 2
x x
+ +
นั่นคือ 2
5 6
x x
+ + = ( )( )
3 2
x x
+ +
ข้อสังเกต! หาจำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคงตัว คือ 6
และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x คือ 5
จากข้อสังเกตข้างต้น เราสามารถแยกตัวประกอบของพหุนาม 2
ax bx c
+ + โดยพิจารณาหา
จำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคงตัว และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x เช่น
การหาผลคูณของพหุนาม
เป็นกระบวนการคิดย้อนกลับ
ผลรวม
3
4
7
x
x
x
+
+
+
พจน์หลัง คือ
สัมประสิทธิ์ของพจน์กลาง คือ (สัมประสิทธิ์ของ )
พจน์กลาง
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
พจน์หน้า
พจน์หน้าของพหุนามในวงเล็บแรก คูณกับ
พจน์หน้าของพหุนามในวงเล็บหลัง
ได้เท่ากับพจน์หน้าของพหุนาม
พจน์หลัง
พจน์หลังของพหุนามในวงเล็บแรก คูณกับ
พจน์หลังของพหุนามในวงเล็บหลัง
ได้เท่ากับพจน์หลังของพหุนาม
ในกรณีทั่วไป เราสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง 2
x bx c
+ +
เมื่อ b และ c เป็นจำนวนเต็ม และ 0
c  ได้
ถ้าเราสามารถหาจำนวนเต็มสองจำนวนที่
1. คูณกันแล้วได้เท่ากับพจน์หลัง
2. บวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของพจน์กลาง
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 2
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
ข้อ
ที่
พหุนาม
ข้อ
ที่
พหุนาม
1. 2
5
x x
− =
16. 2
11 18
a a
+ + =
2. 2
3 3
m m
− =
17. 2
56 15a a
+ + =
3. 2
2y y
− + = 18. 2
13 42
m m
− + =
4. 2
5 10
x x
− − =
19. 2
20 21
x x
− − =
5. 2
4 3 12
x x x
+ + + =
20. 2
15 36
x x
− + =
6. 2
5 2 10
m m m
− + − =
21. 2
13 12
y y
+ + =
7. 2
9 14
x x
+ + =
22. 2
11 30
t t
− + =
8. 2
15 14
n n
+ + =
23. 2
72
a a
− − =
9. 2
10 24
y y
+ + = 24. 2
17 70
x x
− + =
10. 2
7 18
x x
+ − =
25. 2
18 81
y y
− + =
11. 2
9 20
x x
− + =
26. 2
15 54
n n
+ − =
12. 2
8 9
a a
− − =
27. 2
30 99
x x
− − =
13. 2
9 10
b b
+ − =
28. 2
22 121
m m
− + =
14. 2
10 24
x x
− + =
29. 2
12 85
x x
− − =
15. 2
14 24
x x
− + =
30. 2
144 24a a
+ + =
Difficult, not impossible
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2
ax bx c
+ + เมื่อ ,
a b และ c เป็นจำนวนเต็ม ที่
1,0
a  และ 0
c  ใช้หลักการเดียวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูป 2
x bx c
+ +
เพื่อความสะดวก เราจะเรียก 2
ax ว่าพจน์หน้า เรียก bx ว่าพจน์กลาง และเรียก c ว่า พจน์หลัง
ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 2
8 14 15
x x
+ −
ขั้นที่ 1 หาพหุนามดีกรีหนึ่ง สองพหุนามที่คูณกันแล้วได้พจน์หน้า คือ 2
8x
ซึ่งอาจเป็น x กับ 8x หรือ 2x กับ 4x
เขียนพหุนามสองพหุนามนั้น เป็นพจน์หน้าของพหุนามในวงเล็บสองวงเล็บ ดังนี้
( )( )
8
x x หรือ ( )( )
2 4
x x
นั่นคือ ( )( )
2
8 14 15 8
x x x x
+ − =
หรือ ( )( )
2
8 14 15 2 4
x x x x
+ − =
ขั้นที่ 2 หาจำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันแล้วได้พจน์หลัง คือ 15
−
ซึ่งอาจเป็น 1 กับ 15 หรือ 3 กับ 5
โดยที่จำนวนหนึ่งเป็นจำนวนบวก ( )
+ และอีกจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนลบ ( )
−
ผลคูณจึงจะได้เป็นจำนวนลบ ( )
15
− ซึ่งจะได้กรณีทั้งหมดดังนี้
( )( )
1 15 15
+ − = − ( )( )
1 15 15
− + = −
( )( )
3 5 15
+ − = − ( )( )
3 5 15
− + = −
นั่นคือ ( )( )
2
8 14 15 1 15
x x
+ − = + −
หรือ ( )( )
2
8 14 15 1 15
x x
+ − = − +
หรือ ( )( )
2
8 14 15 3 5
x x
+ − = + −
หรือ ( )( )
2
8 14 15 3 5
x x
+ − = − +
3. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2
ax bx c
+ +
เมื่อ ,
a b และ c เป็นจำนวนเต็ม ที่ 1,0
a  และ 0
c 
พจน์หน้า พจน์หน้า พจน์หน้า
พจน์หลัง พจน์หลัง พจน์หลัง
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
ขั้นที่ 3 นำผลที่ได้จากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 มาตรวจสอบหาพจน์กลางที่มีค่าเท่ากับ 14x
+
ได้ทั้งหมด 16 กรณี ดังนี้
กรณีที่ 1
( )( )
1 8 15
x x
+ −
กรณีที่ 2
( )( )
1 8 15
x x
− +
กรณีที่ 3
( )( )
15 8 1
x x
− +
กรณีที่ 4
( )( )
15 8 1
x x
+ −
กรณีที่ 5
( )( )
3 8 5
x x
+ −
กรณีที่ 6
( )( )
3 8 5
x x
− +
กรณีที่ 7
( )( )
5 8 3
x x
+ −
กรณีที่ 8
( )( )
5 8 3
x x
− +
8x
+
15x
− 7x
−
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
กรณีที่ 9
( )( )
2 1 4 15
x x
+ −
กรณีที่ 10
( )( )
2 1 4 15
x x
− +
กรณีที่ 11
( )( )
2 15 4 1
x x
+ −
กรณีที่ 12
( )( )
2 15 4 1
x x
− +
กรณีที่ 13
( )( )
2 3 4 5
x x
+ −
กรณีที่ 14
( )( )
2 3 4 5
x x
− +
กรณีที่ 15
( )( )
2 5 4 3
x x
+ −
กรณีที่ 16
( )( )
2 5 4 3
x x
− +
ซึ่งในทางปฏิบัติในขั้นตอนที่ 3 ไม่จำเป็นต้องหาให้ครบทุกกรณี หากแต่พบว่ากรณีใดได้พจน์กลาง
เท่ากับ 14x
+ แล้ว ก็ไม่ต้องพิจารณากรณีอื่นอีก
ดังนั้น 2
8 14 15
x x
+ − แยกตัวประกอบได้เท่ากับ ( )( )
2 5 4 3
x x
− +
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 3
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
ข้อ
ที่
พหุนาม
ข้อ
ที่
พหุนาม
1. 2
2 2 4
x x
− − =
16. 2
35 18 8
m m
+ − =
2. 2
3 6 9
m m
− − =
17. 2
4 10 6
x x
+ − =
3. 2
9 6 1
y y
− + = 18. 2
9 42 49
x x
− + =
4. 2
2 6 4
a a
+ + =
19. 2
3 26 35
x x
− + =
5. 2
6 12
y y
− − = 20. 2
4 28 49
z x
− + =
6. 2
6 7 10
m m
− − =
21. 2
12 20 7
y y
− − − =
7. 2
6 17 12
x x
+ + =
22. 2
10 19 15
x x
− − =
8. 2
5 14 3
n n
+ − =
23. 2
6 38 56
b b
− − =
9. 2
4 16 9
y y
+ − = 24. 2
7 72 55
x x
+ − =
10. 2
12 35
x x
− − =
25. 2
20 77 18
a a
+ + =
11. 2
5 4 1
x x
+ − =
26. 2
3 40 117
x x
− + =
12. 2
10 11 35
a a
− − =
27. 2
10 81 45
x x
− + − =
13. 2
16 8 1
z z
− − =
28. 2
13 69 54
y y
+ − =
14. 2
15 8 7
x x
+ − =
29. 2
4 36
x − =
15. 2
7 49 84
x x
+ + =
30. 2
144 a
− =
No such thing as genius; it is
nothing but labour and diligence.
ในความอัจฉริยะนั้น มิมีอื่นใดนอกจาก
ความอุตสาหะและพากเพียร
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์
พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองต่อไปนี้
1. 2
2 1
x x
+ + = ( )( )
1 1
x x
+ + = ( )
2
1
x +
2. 2
4 4
x x
− + = =
3. 2
4 12 9
x x
− + = =
4. 2
9 6 1
x x
+ + = =
จากการแยกตัวประกอบของพหุนามในข้างต้น จะเห็นว่าการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง
ในแต่ละข้อจะได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งที่ซ้ำกัน(เหมือนกัน) สามารถเขียนเป็นกำลังสองของ
พหุนามดีกรีหนึ่งได้ เรียกพหุนามดีกรีสองที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า พหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์
พหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์ มีลักษณะที่สังเกตได้ดังนี้
1. ( ) ( )( ) ( ) ( )
2 2 2
2
2 1 2 1 1 1
x x x x x
+ + = + + = +
ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 1 เป็นพจน์หลัง สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
(พจน์หน้า)2 + 2(พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2 = (พจน์หน้า + พจน์หลัง)2
หรือเขียนอย่างย่อได้ดังนี้ (หน้า)2 + 2(หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)2
2. ( ) ( )( ) ( ) ( )
2 2 2
2
4 4 2 2 2 2
x x x x x
− + = − + = −
ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 2 เป็นพจน์หลัง สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้
(พจน์หน้า)2 – 2(พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2 = (พจน์หน้า – พจน์หลัง)2
หรือเขียนอย่างย่อได้ดังนี้ (หน้า)2 – 2(หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 = (หน้า – หลัง)2
3. ( ) ( )( ) ( ) ( )
2 2 2
2
4 12 9 2 2 2 3 3 3
x x x x x
− + = − + = −
4. ( ) ( )( ) ( ) ( )
2 2 2
2
9 6 1 3 2 3 1 1 3 1
x x x x x
+ + = + + = +
ในกรณีทั่วไป ถ้าให้ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลัง จะแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์ได้ดังนี้
(หน้า)2
–2(หน้า)(หลัง)
+(หลัง)2
(หน้า – หลัง)2
(หน้า)2
+2(หน้า)(หลัง)
+(หลัง)2
(หน้า + หลัง)2
2 2
2
A AB B
+ + =
2 2
2
A AB B
− + =
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 4
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) 2
12 36
x x
+ +
2) 2
16 64
x x
+ +
3) 2
34 289
x x
+ +
4) 2
40 400
x x
+ +
5) 2
46 529
x x
+ +
6) 2
10 25
x x
− +
7) 2
28 196
x x
− +
8) 2
38 361
x x
− +
9) 2
52 676
x x
− +
10) 2
60 900
x x
− +
จงทำดี
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
1) 2
9 30 25
x x
+ +
2) 2
16 56 49
x x
+ +
3) 2
49 42 9
x x
+ +
4) 2
100 220 121
x x
+ +
5) 2
81 360 400
x x
+ +
6) 2
4 36 81
x x
− +
7) 2
49 70 25
x x
− +
8) 2
64 176 121
x x
− +
9) 2
81 180 100
x x
− +
10) 2
225 360 144
x x
− +
“ผู้เอ่ยปากถาม... ดูราวจะเป็นคนโง่อยู่ราว 5 นาที
ส่วนผู้ที่ไม่ยอมถาม ...จะเป็นคนโง่ตลอดกาล”
สุภาษิตจีน
ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่
ครูรัฐภูมิ
พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองต่อไปนี้
1. 2
1
x − = 2 2
1
x − = ( )( )
1 1
x x
+ −
2. 2
4
x − = =
3. 2
9
x − = =
4. 2
9 16
x − = =
จะเห็นว่าการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในแต่ละข้อ จะได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรี
หนึ่งที่มีพจน์เหมือนกัน แต่มีเครื่องหมายระหว่างพจน์ต่างกัน เรียกพหุนามดีกรีสองที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า
พหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง
พหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง มีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้
1. 2
1
x − = 2 2
1
x − = ( )( )
1 1
x x
+ −
ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 1 เป็นพจน์หลัง เขียนความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
(หน้า)2 – (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)(หน้า – หลัง)
2. 2
4
x − = 2 2
2
x − = ( )( )
2 2
x x
+ −
ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 1 เป็นพจน์หลัง เขียนความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
(หน้า)2 – (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)(หน้า – หลัง)
3. 2
9 16
x − = ( ) ( )
2 2
3 4
x − = ( )( )
3 4 3 4
x x
+ −
ถ้าให้ 3x เป็นพจน์หน้า และ 4 เป็นพจน์หลัง เขียนความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
(หน้า)2 – (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)(หน้า – หลัง)
ในกรณีทั่วไป ถ้าให้ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลัง จะแยกตัวประกอบของพหุนาม
ดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสองได้ดังนี้
5. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง
(หน้า)2 – (หลัง)2
(หน้า + หลัง) (หน้า – หลัง)
(หน้า)2 – (หลัง)2
(หน้า + หลัง) (หน้า – หลัง)
2 2
A B
− =
(หน้า)2 – (หลัง)2
(หน้า + หลัง) (หน้า – หลัง)
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 5
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
ข้อ
ที่
พหุนาม
ข้อ
ที่
พหุนาม
1. 2
1
x − =
6. 2
900
x − =
2. 2
16 x
− =
7. 2
4 9
y − =
3. 2
64
y − = 8. 2
9 49
x − =
4. 2
144
a − =
9. 2
16 196
x − =
5. 2
225
y − = 10. 2
64 121
a − =
2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
ข้อ
ที่
พหุนาม
ข้อ
ที่
พหุนาม
1.
( )
2
2 1
x − − =
6.
( ) ( )
2 2
4 3
x x
+ − + =
2.
( )
2
25 1
y
− + =
7.
( ) ( )
2 2
8 5
x x
− − − =
3.
( )
2
3 36
x − − =
8.
( ) ( )
2 2
3 2 1
x x
+ − − =
4.
( )
2
2
2 1
x x
− + =
9.
( )
2
2
144 2 3
x x
− − =
5.
( )
2 2
2 3 25
x x
+ − =
10.
( )
2 2
5 3 121
x x
+ − =
“กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ
คนเราจะดี เพราะการกระทำ”
พุทธสุภาษิต
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
แบบฝึกหัดที่ 6
จงแสดงวิธีทำ (ห้ามใช้เครื่องคิดเลข)
1. จากรูป กำหนดให้ ABC
 เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มี AB 14
= หน่วย BC 15
= หน่วย และ AC 13
= หน่วย
จงหาความสูง h
2. วงกลมสองวงมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน วงกลมวงใหญ่มีรัศมียาว 89 หน่วย วงกลมวงเล็กมีรัศมียาว 65 หน่วย วงกลมทั้งสองมี
พื้นที่ต่างกันเท่าใด (กำหนด 3.14
  )
3. จากรูป กำหนดให้ ABC
 เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว มี BC เป็นฐาน AB 51
= เซนติเมตร, AE 38
= เซนติเมตร และ
BE 25
= เซนติเมตร จงหาพื้นที่ของ ABC

ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
4. ถ้า ( )
3 2
7 14 2
x x A x
+ = + และ ( ) 2
5 2 15
B y y y
+ = + − โดยที่ A และ B เป็นพหุนาม แล้ว 2
A B
+ มีค่าเท่าใด
5. ถ้า 1
2
x
x
+ = แล้ว 2
2
1
x
x
− มีค่าเท่าใด
6. กำหนดให้
2 2 2
2558 2560 8
2550
A
− −
= จงหาค่าของ A
7. จงหาค่าของ 2
20,182,018 20,182,008 20,182,028
− 
ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่
คะแนน
8. นายช่างวาดพาดบันไดไม้ซึ่งยาว 260 เซนติเมตร กับห้องเก็บของ ภายหลังบันไดไม้หักไป 10 เซนติเมตร และเมื่อนำมาวาง
พาดกับห้องเก็บของอีกครั้ง พบว่าปลายด้านหนึ่งของบันไดขยับเข้ามาใกล้ตัวห้องเก็บของมากขึ้น 30 เซนติเมตร จงหาว่าความ
สูงของห้องเก็บของเป็นเท่าไร
9. จงหาค่าของ 2 2 2 2
1 1 1 1
1.98 1 1 1 1
2 3 4 99
 
     
− − − −
     
 
     
 
10. จงหาจำนวนเต็ม n ที่ทำให้สามารถเขียนพหุนาม ( )( )
3 2 3 4
x x n
− + + ให้อยู่ในรูปกำลังสองสัมบูรณ์
ห้องเก็บของ
30 ซม.
“ไม่มีใครเกิดมาไร้ค่า แม้แต่คนโง่ที่สุดก็ยังฉลาดในบางเรื่อง
และคนที่ฉลาดที่สุด ก็ยังโง่ที่สุดในหลายเรื่อง”

More Related Content

Similar to การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf

ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
พาราโบลา2
พาราโบลา2พาราโบลา2
พาราโบลา2kru na Swkj
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfssusereb21c61
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลังChitpol Kamthep
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลังlongman12
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2Destiny Nooppynuchy
 
Tedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathTedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathPintohedfang
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม Somporn Amornwech
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 

Similar to การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf (20)

Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
พาราโบลา2
พาราโบลา2พาราโบลา2
พาราโบลา2
 
Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2Ans_TME54_jh2
Ans_TME54_jh2
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdfเรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
 
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง6.2ฐาน6 2  เลขยกกำลัง
6.2ฐาน6 2 เลขยกกำลัง
 
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
เฉลยประจาปี 2554 (tme) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
Tedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_mathTedet 2559 grade9_math
Tedet 2559 grade9_math
 
Matrix problem p
Matrix problem pMatrix problem p
Matrix problem p
 
Math1
Math1Math1
Math1
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
Vector
VectorVector
Vector
 
3
33
3
 

การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf

  • 1. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ การแยกตัวประกอบของพหุนาม 8. ความรู้เดิม ➢ นิพจน์ที่สามารถเขียนอยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขั้นไป และเลขชี้กำลังของ ตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์หรือจำนวนเต็มบวก เรียกว่า เอกนาม ➢ นิพจน์ที่อยู่ในรูปเอกนาม หรือเขียนอยู่ในรูปการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไปได้ เรียกว่า พหุนาม และเรียกแต่ละเอกนามในพหุนามว่า พจน์ ➢ พหุนามที่ไม่มีพจน์ที่คล้ายกัน เรียกว่า พหุนามในรูปผลสำเร็จ เรียกดีกรีสูงสุดของพจน์ของพหุนามในรูปผลสำเร็จว่า ดีกรีของพหุนาม เช่น เป็นพหุนามในรูปผลสำเร็จ ที่มีดีกรีของพหุนามเท่ากับ ➢ ตัวประกอบของจำนวนนับใด คือ จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นลงตัว เช่น ตัวประกอบทั้งหมดของ คือ และ ตัวประกอบทั้งหมดของ คือ และ จากตัวอย่างข้างต้นจะได้ว่า และ เป็นตัวประกอบของทั้ง และ จึงเรียก และ ว่า ตัวประกอบร่วม หรือตัวหารร่วมของ และ ➢ ตัวประกอบที่เป็นจำนวนเฉพาะ เรียกว่า ตัวประกอบเฉพาะ เช่น และ เป็นตัวประกอบเฉพาะของ ➢ การแยกตัวประกอบของจำนวนนับใด คือประโยคที่แสดงการเขียนจำนวนนับนั้นรูปการคูณของตัว ประกอบเฉพาะ เช่น ➢ ตัวประกอบร่วมที่มากที่สุด หรือ ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ของจำนวนนับตั้งแต่สองจำนวนขึ้นไป คือ จำนวนนับที่มากที่สุดที่หารจำนวนนับเหล่านั้นได้ลงตัว เช่น ห.ร.ม.ของ และ คือ การเขียนพหุนามที่กำหนดให้ ให้อยู่ในรูปการคูณของพหุนาม ตั้งแต่สองพหุนามขึ้นไป โดยที่ แต่ละพหุนามหารพหุนามที่ กำหนดให้ได้ลงตัวดังข้างต้น เป็นตัวอย่างของ การแยกตัว ประกอบ (Factorization) ของพหุนามที่กำหนดให้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. ให้นักเรียนพิจารณาการคูณของพหุนามต่อไปนี้ การแยกตัวประกอบของพหุนามเป็นกระบวนการทำ ย้อนกลับของการคูณพหุนามโดยใช้สมบัติการแจกแจง ตัวประกอบของพหุนามใด คือ พหุนามที่หารพหุนามนั้นได้ลงตัว
  • 2. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ ถ้า , a b และ c เป็นพหุนาม เราก็สามารถใช้สมบัติการแจกแจงข้างต้นได้ด้วย และเรียก a ว่า ตัว ประกอบร่วมของ ab และ ac หรือตัวประกอบร่วมของ ba และ ca พิจารณาวิธีการแยกตัวประกอบของ 2 2 6 15 a b ab − โดยใช้สมบัติการแจกแจง ดังนี้ 2 2 6 15 a b ab − ( ) ( ) 2 5 3 3 a b a a b b =     −     d ( ) 2 3 5 a b a b   −  =  d ( ) 2 3 5 a b ab = − d ดังนั้น 2 2 6 15 a b ab − ( ) 3 2 5 ab a b = − ในการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีหลายพจน์ นอกจากจะใช้สมบัติการแจกแจงแล้ว อาจต้องใช้ สมบัติการสลับที่ หรือสมบัติการเปลี่ยนหมู่ประกอบด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 2 2 2 ab ac bc c − + − วิธีทำ 2 2 2 ab ac bc c − + − ( ) ( ) 2 2 2c b a c a bc = − + − ( ) ( ) 2 2 b c b a c c = − − + ( )( ) 2 a c b c = + − ดังนั้น ( )( ) 2 2 2 2 ab ac bc c a c b c − + − = + − ตอบ ( )( ) 2 2 2 2 ab ac bc c a c b c − + − = + − เราสามารถ จับคู่อีกแบบหนึ่งได้ดังนี้ 2 2 2 ab ac bc c − + − ( ) ( ) 2 2 2 b b c c a c a − − = + + ( ) ( ) 2 c b a c a c = + + − ( )( ) 2 b c a c = − + ดังนั้น ( )( ) ( )( ) 2 2 2 2 2 ab ac bc c b c a c a c b c − + − = − + = + − ตอบ ( )( ) 2 2 2 2 ab ac bc c a c b c − + − = + − 1. การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง สมบัติการแจกแจงกล่าวว่า ถ้า , a b และ c แทนจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว ( ) a b c ab ac + = + หรือ ( ) b c a ba ca + = + เราอาจเขียนสมบัติการแจกแจงข้างต้นใหม่ เป็นดังนี้ ( ) ab ac a b c + = + หรือ ( ) ba ca b c a + = + เราสามารถใช้แนวคิดของการหา ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) ในการ แยกตัวประกอบของพหุนามได้
  • 3. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ ข้อ ที่ สมการ ข้อ ที่ สมการ 1. 10 4 x+ = 11. 2 15 5 x y x + = 2. 7 14 x− = 12. 2 6 8 xy xy − = 3. 9 3 x − + = 13. 3 x x + = 4. 8 12x − − = 14. 3 4 y y + = 5. 14 26 y z + = 15. 2 2 9 6 y z yz − = 6. 2 13 x x + = 16. 3 2 2 3 21 28 x y x y − = 7. 2 3 2 z z − = 17. 2 3 5 7 63 x z xz − + = 8. 2 5 20 y y − = 18. 4 2 3 3 24 18 x z x z + = 9. 12 16 xz z − = 19. 2 3 3 2 3 3 30 36 6 x y x y x y + − = 10. 2 33 11 y yz − = 20. 2 2 3 3 4 24 27 9 xz x z x z − + = ข้อ ที่ สมการ ข้อ ที่ สมการ 1. ( 3) 5( 3) m n n + + + = 6. 3 3 na b nb a + + + = 2. ( ) ( ) x y z x y + − + = 7. 2 2 8 8 n m n p m p + − − = 3. 4 ( ) ( ) t a b s a b + − + = 8. 3 2 2 14 7 x x x − + − = 4. ax by bx ay + + + = 9. 2 3 2 5 10 a b a ab − − + = 5. 5 10 2 a x ab bx − + − = 10. 3 3 2 2 x x z y z y − + − =
  • 4. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ 2. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2 ax bx c + + เมื่อ 1, a b = และ c เป็นจำนวนเต็ม ที่ 0 c  กรณีที่ 1 a = และ 0 c  พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวอยู่ในรูป 2 ax bx c + + เราสามารถ แยกตัวประกอบของพหุนาม 2 ax bx c + + โดยอาศัยแนวคิดจากการหาผลคูณของพหุนาม ดังนี้ ( )( ) 2 3 x x + + = ( )( ) ( )( ) 2 2 3 x x x + + + e = ( )( ) ( )( ) ( )( ) ( )( ) 2 3 2 3 x x x x + + + e = 2 2 3 6 x x x + + + e = 2 5 6 x x + + จะได้ ( )( ) 2 3 x x + + = 2 5 6 x x + + ดังนั้น การแยกตัวประกอบของพหุนาม 2 5 6 x x + + สามารถทำได้โดยทำขั้นตอนย้อนกลับ ดังนี้ 2 5 6 x x + + = ( ) ( )( ) 2 2 3 2 3 x x + + + e = ( )( ) 2 2 3 2 3 x x x + + + e = ( )( ) 2 2 3 2 3 x x x   + + +       e = ( ) ( ) 2 3 2 x x x + + + e = ( )( ) 3 2 x x + + นั่นคือ 2 5 6 x x + + = ( )( ) 3 2 x x + + ข้อสังเกต! หาจำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคงตัว คือ 6 และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x คือ 5 จากข้อสังเกตข้างต้น เราสามารถแยกตัวประกอบของพหุนาม 2 ax bx c + + โดยพิจารณาหา จำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันได้เท่ากับพจน์ที่เป็นค่าคงตัว และบวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของ x เช่น การหาผลคูณของพหุนาม เป็นกระบวนการคิดย้อนกลับ ผลรวม 3 4 7 x x x + + + พจน์หลัง คือ สัมประสิทธิ์ของพจน์กลาง คือ (สัมประสิทธิ์ของ ) พจน์กลาง
  • 5. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ พจน์หน้า พจน์หน้าของพหุนามในวงเล็บแรก คูณกับ พจน์หน้าของพหุนามในวงเล็บหลัง ได้เท่ากับพจน์หน้าของพหุนาม พจน์หลัง พจน์หลังของพหุนามในวงเล็บแรก คูณกับ พจน์หลังของพหุนามในวงเล็บหลัง ได้เท่ากับพจน์หลังของพหุนาม ในกรณีทั่วไป เราสามารถแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง 2 x bx c + + เมื่อ b และ c เป็นจำนวนเต็ม และ 0 c  ได้ ถ้าเราสามารถหาจำนวนเต็มสองจำนวนที่ 1. คูณกันแล้วได้เท่ากับพจน์หลัง 2. บวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของพจน์กลาง
  • 6. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน แบบฝึกหัดที่ 2 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ ข้อ ที่ พหุนาม ข้อ ที่ พหุนาม 1. 2 5 x x − = 16. 2 11 18 a a + + = 2. 2 3 3 m m − = 17. 2 56 15a a + + = 3. 2 2y y − + = 18. 2 13 42 m m − + = 4. 2 5 10 x x − − = 19. 2 20 21 x x − − = 5. 2 4 3 12 x x x + + + = 20. 2 15 36 x x − + = 6. 2 5 2 10 m m m − + − = 21. 2 13 12 y y + + = 7. 2 9 14 x x + + = 22. 2 11 30 t t − + = 8. 2 15 14 n n + + = 23. 2 72 a a − − = 9. 2 10 24 y y + + = 24. 2 17 70 x x − + = 10. 2 7 18 x x + − = 25. 2 18 81 y y − + = 11. 2 9 20 x x − + = 26. 2 15 54 n n + − = 12. 2 8 9 a a − − = 27. 2 30 99 x x − − = 13. 2 9 10 b b + − = 28. 2 22 121 m m − + = 14. 2 10 24 x x − + = 29. 2 12 85 x x − − = 15. 2 14 24 x x − + = 30. 2 144 24a a + + = Difficult, not impossible
  • 7. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2 ax bx c + + เมื่อ , a b และ c เป็นจำนวนเต็ม ที่ 1,0 a  และ 0 c  ใช้หลักการเดียวกับการแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยู่ในรูป 2 x bx c + + เพื่อความสะดวก เราจะเรียก 2 ax ว่าพจน์หน้า เรียก bx ว่าพจน์กลาง และเรียก c ว่า พจน์หลัง ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของพหุนาม 2 8 14 15 x x + − ขั้นที่ 1 หาพหุนามดีกรีหนึ่ง สองพหุนามที่คูณกันแล้วได้พจน์หน้า คือ 2 8x ซึ่งอาจเป็น x กับ 8x หรือ 2x กับ 4x เขียนพหุนามสองพหุนามนั้น เป็นพจน์หน้าของพหุนามในวงเล็บสองวงเล็บ ดังนี้ ( )( ) 8 x x หรือ ( )( ) 2 4 x x นั่นคือ ( )( ) 2 8 14 15 8 x x x x + − = หรือ ( )( ) 2 8 14 15 2 4 x x x x + − = ขั้นที่ 2 หาจำนวนเต็มสองจำนวนที่คูณกันแล้วได้พจน์หลัง คือ 15 − ซึ่งอาจเป็น 1 กับ 15 หรือ 3 กับ 5 โดยที่จำนวนหนึ่งเป็นจำนวนบวก ( ) + และอีกจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนลบ ( ) − ผลคูณจึงจะได้เป็นจำนวนลบ ( ) 15 − ซึ่งจะได้กรณีทั้งหมดดังนี้ ( )( ) 1 15 15 + − = − ( )( ) 1 15 15 − + = − ( )( ) 3 5 15 + − = − ( )( ) 3 5 15 − + = − นั่นคือ ( )( ) 2 8 14 15 1 15 x x + − = + − หรือ ( )( ) 2 8 14 15 1 15 x x + − = − + หรือ ( )( ) 2 8 14 15 3 5 x x + − = + − หรือ ( )( ) 2 8 14 15 3 5 x x + − = − + 3. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในรูป 2 ax bx c + + เมื่อ , a b และ c เป็นจำนวนเต็ม ที่ 1,0 a  และ 0 c  พจน์หน้า พจน์หน้า พจน์หน้า พจน์หลัง พจน์หลัง พจน์หลัง
  • 8. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ ขั้นที่ 3 นำผลที่ได้จากขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 มาตรวจสอบหาพจน์กลางที่มีค่าเท่ากับ 14x + ได้ทั้งหมด 16 กรณี ดังนี้ กรณีที่ 1 ( )( ) 1 8 15 x x + − กรณีที่ 2 ( )( ) 1 8 15 x x − + กรณีที่ 3 ( )( ) 15 8 1 x x − + กรณีที่ 4 ( )( ) 15 8 1 x x + − กรณีที่ 5 ( )( ) 3 8 5 x x + − กรณีที่ 6 ( )( ) 3 8 5 x x − + กรณีที่ 7 ( )( ) 5 8 3 x x + − กรณีที่ 8 ( )( ) 5 8 3 x x − + 8x + 15x − 7x −
  • 9. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ กรณีที่ 9 ( )( ) 2 1 4 15 x x + − กรณีที่ 10 ( )( ) 2 1 4 15 x x − + กรณีที่ 11 ( )( ) 2 15 4 1 x x + − กรณีที่ 12 ( )( ) 2 15 4 1 x x − + กรณีที่ 13 ( )( ) 2 3 4 5 x x + − กรณีที่ 14 ( )( ) 2 3 4 5 x x − + กรณีที่ 15 ( )( ) 2 5 4 3 x x + − กรณีที่ 16 ( )( ) 2 5 4 3 x x − + ซึ่งในทางปฏิบัติในขั้นตอนที่ 3 ไม่จำเป็นต้องหาให้ครบทุกกรณี หากแต่พบว่ากรณีใดได้พจน์กลาง เท่ากับ 14x + แล้ว ก็ไม่ต้องพิจารณากรณีอื่นอีก ดังนั้น 2 8 14 15 x x + − แยกตัวประกอบได้เท่ากับ ( )( ) 2 5 4 3 x x − +
  • 10. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน แบบฝึกหัดที่ 3 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ ข้อ ที่ พหุนาม ข้อ ที่ พหุนาม 1. 2 2 2 4 x x − − = 16. 2 35 18 8 m m + − = 2. 2 3 6 9 m m − − = 17. 2 4 10 6 x x + − = 3. 2 9 6 1 y y − + = 18. 2 9 42 49 x x − + = 4. 2 2 6 4 a a + + = 19. 2 3 26 35 x x − + = 5. 2 6 12 y y − − = 20. 2 4 28 49 z x − + = 6. 2 6 7 10 m m − − = 21. 2 12 20 7 y y − − − = 7. 2 6 17 12 x x + + = 22. 2 10 19 15 x x − − = 8. 2 5 14 3 n n + − = 23. 2 6 38 56 b b − − = 9. 2 4 16 9 y y + − = 24. 2 7 72 55 x x + − = 10. 2 12 35 x x − − = 25. 2 20 77 18 a a + + = 11. 2 5 4 1 x x + − = 26. 2 3 40 117 x x − + = 12. 2 10 11 35 a a − − = 27. 2 10 81 45 x x − + − = 13. 2 16 8 1 z z − − = 28. 2 13 69 54 y y + − = 14. 2 15 8 7 x x + − = 29. 2 4 36 x − = 15. 2 7 49 84 x x + + = 30. 2 144 a − = No such thing as genius; it is nothing but labour and diligence. ในความอัจฉริยะนั้น มิมีอื่นใดนอกจาก ความอุตสาหะและพากเพียร
  • 11. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ 4. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์ พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองต่อไปนี้ 1. 2 2 1 x x + + = ( )( ) 1 1 x x + + = ( ) 2 1 x + 2. 2 4 4 x x − + = = 3. 2 4 12 9 x x − + = = 4. 2 9 6 1 x x + + = = จากการแยกตัวประกอบของพหุนามในข้างต้น จะเห็นว่าการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง ในแต่ละข้อจะได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรีหนึ่งที่ซ้ำกัน(เหมือนกัน) สามารถเขียนเป็นกำลังสองของ พหุนามดีกรีหนึ่งได้ เรียกพหุนามดีกรีสองที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า พหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์ พหุนามดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์ มีลักษณะที่สังเกตได้ดังนี้ 1. ( ) ( )( ) ( ) ( ) 2 2 2 2 2 1 2 1 1 1 x x x x x + + = + + = + ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 1 เป็นพจน์หลัง สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ (พจน์หน้า)2 + 2(พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2 = (พจน์หน้า + พจน์หลัง)2 หรือเขียนอย่างย่อได้ดังนี้ (หน้า)2 + 2(หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)2 2. ( ) ( )( ) ( ) ( ) 2 2 2 2 4 4 2 2 2 2 x x x x x − + = − + = − ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 2 เป็นพจน์หลัง สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ดังนี้ (พจน์หน้า)2 – 2(พจน์หน้า)(พจน์หลัง) + (พจน์หลัง)2 = (พจน์หน้า – พจน์หลัง)2 หรือเขียนอย่างย่อได้ดังนี้ (หน้า)2 – 2(หน้า)(หลัง) + (หลัง)2 = (หน้า – หลัง)2 3. ( ) ( )( ) ( ) ( ) 2 2 2 2 4 12 9 2 2 2 3 3 3 x x x x x − + = − + = − 4. ( ) ( )( ) ( ) ( ) 2 2 2 2 9 6 1 3 2 3 1 1 3 1 x x x x x + + = + + = + ในกรณีทั่วไป ถ้าให้ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลัง จะแยกตัวประกอบของพหุนาม ดีกรีสองที่เป็นกำลังสองสัมบูรณ์ได้ดังนี้ (หน้า)2 –2(หน้า)(หลัง) +(หลัง)2 (หน้า – หลัง)2 (หน้า)2 +2(หน้า)(หลัง) +(หลัง)2 (หน้า + หลัง)2 2 2 2 A AB B + + = 2 2 2 A AB B − + =
  • 12. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน แบบฝึกหัดที่ 4 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1) 2 12 36 x x + + 2) 2 16 64 x x + + 3) 2 34 289 x x + + 4) 2 40 400 x x + + 5) 2 46 529 x x + + 6) 2 10 25 x x − + 7) 2 28 196 x x − + 8) 2 38 361 x x − + 9) 2 52 676 x x − + 10) 2 60 900 x x − + จงทำดี
  • 13. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน 2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ 1) 2 9 30 25 x x + + 2) 2 16 56 49 x x + + 3) 2 49 42 9 x x + + 4) 2 100 220 121 x x + + 5) 2 81 360 400 x x + + 6) 2 4 36 81 x x − + 7) 2 49 70 25 x x − + 8) 2 64 176 121 x x − + 9) 2 81 180 100 x x − + 10) 2 225 360 144 x x − + “ผู้เอ่ยปากถาม... ดูราวจะเป็นคนโง่อยู่ราว 5 นาที ส่วนผู้ที่ไม่ยอมถาม ...จะเป็นคนโง่ตลอดกาล” สุภาษิตจีน
  • 14. ชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ ครูรัฐภูมิ พิจารณาการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองต่อไปนี้ 1. 2 1 x − = 2 2 1 x − = ( )( ) 1 1 x x + − 2. 2 4 x − = = 3. 2 9 x − = = 4. 2 9 16 x − = = จะเห็นว่าการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองในแต่ละข้อ จะได้ตัวประกอบเป็นพหุนามดีกรี หนึ่งที่มีพจน์เหมือนกัน แต่มีเครื่องหมายระหว่างพจน์ต่างกัน เรียกพหุนามดีกรีสองที่มีลักษณะเช่นนี้ว่า พหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง พหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง มีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้ดังนี้ 1. 2 1 x − = 2 2 1 x − = ( )( ) 1 1 x x + − ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 1 เป็นพจน์หลัง เขียนความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ (หน้า)2 – (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)(หน้า – หลัง) 2. 2 4 x − = 2 2 2 x − = ( )( ) 2 2 x x + − ถ้าให้ x เป็นพจน์หน้า และ 1 เป็นพจน์หลัง เขียนความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ (หน้า)2 – (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)(หน้า – หลัง) 3. 2 9 16 x − = ( ) ( ) 2 2 3 4 x − = ( )( ) 3 4 3 4 x x + − ถ้าให้ 3x เป็นพจน์หน้า และ 4 เป็นพจน์หลัง เขียนความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ (หน้า)2 – (หลัง)2 = (หน้า + หลัง)(หน้า – หลัง) ในกรณีทั่วไป ถ้าให้ A แทนพจน์หน้า และ B แทนพจน์หลัง จะแยกตัวประกอบของพหุนาม ดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสองได้ดังนี้ 5. การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองที่เป็นผลต่างกำลังสอง (หน้า)2 – (หลัง)2 (หน้า + หลัง) (หน้า – หลัง) (หน้า)2 – (หลัง)2 (หน้า + หลัง) (หน้า – หลัง) 2 2 A B − = (หน้า)2 – (หลัง)2 (หน้า + หลัง) (หน้า – หลัง)
  • 15. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน แบบฝึกหัดที่ 5 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ ข้อ ที่ พหุนาม ข้อ ที่ พหุนาม 1. 2 1 x − = 6. 2 900 x − = 2. 2 16 x − = 7. 2 4 9 y − = 3. 2 64 y − = 8. 2 9 49 x − = 4. 2 144 a − = 9. 2 16 196 x − = 5. 2 225 y − = 10. 2 64 121 a − = 2. จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้ ข้อ ที่ พหุนาม ข้อ ที่ พหุนาม 1. ( ) 2 2 1 x − − = 6. ( ) ( ) 2 2 4 3 x x + − + = 2. ( ) 2 25 1 y − + = 7. ( ) ( ) 2 2 8 5 x x − − − = 3. ( ) 2 3 36 x − − = 8. ( ) ( ) 2 2 3 2 1 x x + − − = 4. ( ) 2 2 2 1 x x − + = 9. ( ) 2 2 144 2 3 x x − − = 5. ( ) 2 2 2 3 25 x x + − = 10. ( ) 2 2 5 3 121 x x + − = “กมฺมุนา โหติ พฺราหฺมโณ คนเราจะดี เพราะการกระทำ” พุทธสุภาษิต
  • 16. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน แบบฝึกหัดที่ 6 จงแสดงวิธีทำ (ห้ามใช้เครื่องคิดเลข) 1. จากรูป กำหนดให้ ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มี AB 14 = หน่วย BC 15 = หน่วย และ AC 13 = หน่วย จงหาความสูง h 2. วงกลมสองวงมีจุดศูนย์กลางร่วมกัน วงกลมวงใหญ่มีรัศมียาว 89 หน่วย วงกลมวงเล็กมีรัศมียาว 65 หน่วย วงกลมทั้งสองมี พื้นที่ต่างกันเท่าใด (กำหนด 3.14   ) 3. จากรูป กำหนดให้ ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว มี BC เป็นฐาน AB 51 = เซนติเมตร, AE 38 = เซนติเมตร และ BE 25 = เซนติเมตร จงหาพื้นที่ของ ABC 
  • 17. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน 4. ถ้า ( ) 3 2 7 14 2 x x A x + = + และ ( ) 2 5 2 15 B y y y + = + − โดยที่ A และ B เป็นพหุนาม แล้ว 2 A B + มีค่าเท่าใด 5. ถ้า 1 2 x x + = แล้ว 2 2 1 x x − มีค่าเท่าใด 6. กำหนดให้ 2 2 2 2558 2560 8 2550 A − − = จงหาค่าของ A 7. จงหาค่าของ 2 20,182,018 20,182,008 20,182,028 − 
  • 18. ชื่อ สกุล ชั้น เลขที่ คะแนน 8. นายช่างวาดพาดบันไดไม้ซึ่งยาว 260 เซนติเมตร กับห้องเก็บของ ภายหลังบันไดไม้หักไป 10 เซนติเมตร และเมื่อนำมาวาง พาดกับห้องเก็บของอีกครั้ง พบว่าปลายด้านหนึ่งของบันไดขยับเข้ามาใกล้ตัวห้องเก็บของมากขึ้น 30 เซนติเมตร จงหาว่าความ สูงของห้องเก็บของเป็นเท่าไร 9. จงหาค่าของ 2 2 2 2 1 1 1 1 1.98 1 1 1 1 2 3 4 99         − − − −                 10. จงหาจำนวนเต็ม n ที่ทำให้สามารถเขียนพหุนาม ( )( ) 3 2 3 4 x x n − + + ให้อยู่ในรูปกำลังสองสัมบูรณ์ ห้องเก็บของ 30 ซม. “ไม่มีใครเกิดมาไร้ค่า แม้แต่คนโง่ที่สุดก็ยังฉลาดในบางเรื่อง และคนที่ฉลาดที่สุด ก็ยังโง่ที่สุดในหลายเรื่อง”