SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 18
เรื่อง การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว
การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว
1. การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว โดยอาศัยการแยกตัวประกอบพหุนามและ ab = 0 แล้ว a หรือ b
อย่างน้อยหนึ่งตัวต้องเป็นศูนย์ เมื่อ a, b  R
ตัวอย่างที่ 1 จงหาคาตอบของสมการ x2
– 4x + 3 = 0
วิธีทา x2
– 4x + 3 = 0
(x – 1)(x – 3) = 0
หาคาตอบของสมการ (x – 1)(x – 3) = 0 โดยหาค่า x ที่ทาให้
x – 1 = 0 หรือ x – 3 = 0
x = 1 หรือ x = 3
ตรวจคาตอบโดยการแทนค่า x ด้วย 1 หรือ 3 ในสมการ x2
– 4x + 3 = 0
เมื่อ x = 1 จะได้
(12
) – 4(1) + 3 = 0 ซึ่งเป็นจริง
เมื่อ x = 3 จะได้
(32
) – 4(3) + 3 = 0 ซึ่งเป็นจริง
1 และ 3 เป็นคาตอบของสมการ x2
– 4x + 3 = 0 ตอบ
2. การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว
และ a  0 โดยใช้สูตร x =
2a
4ac-bb- 2

เมื่อ b2
– 4ac  0
ตัวอย่างที่ 2 จงหาคาตอบของสมการ 2x2
– 4x – 4 = 0
วิธีทา จากสูตร x = 2a
4ac-bb- 2

จากโจทย์จะได้ a = 2 , b = -4 และ c = -4
แทนค่า a, b, c ในสูตร จะได้
x = 42
(-4))2(4-(-4)(-4)- 2


= 4
32164 
= 4
484 
= 4
344 
= 31 
คาตอบของสมการคือ 31  และ 3-1 ตอบ
ข้อสังเกต
ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ x
2
+ 3x = 4 โดยใช้สูตรข้างต้น
จากสมการ x
2
+ 3x = 4
จะได้ x
2
+ 3x - 4 = 0
สูตร x =
a
acbb
2
42 
เมื่อ a = 1, b = 3 และ c = - 4 จะได้
x =
)(
))((
12
414233 
=
2
1693 
=
2
53
คาตอบของสมการ คือ 1 และ -4
ตัวอย่างที่ 4 จงแก้สมการ 2x
2
+ 10x + 7 = 0 โดยใช้สูตร
สูตร x =
a
acbb
2
42 
เมื่อ a = 2, b = 10 และ c = 7
จะได้ x =
a
ac
2
421010 
=
)(22
5610010 
=
2
115
คาตอบของสมการ คือ
2
115
และ
2
115
แบบฝึกทักษะที่ 18
เรื่อง การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว
1. จงแก้สมการ
1) x2 - 16 = 0
2) 3x2 – 25 = 0
3) (2x + 3)2 = 9
4) 2x2 = -8
5) (3x - 5)2 = -6
6) (2x + 3)2 – 6 = 0
2. จงแก้สมการโดยวิธีแยกตัวประกอบ
1) x2 - 7x + 10 = 0
2) 2x2 + x – 10 = 0
3) x2 + 6x = -10
4) y2 - 8y = 0
5) 3a2 - 7a + 4 = 0
3. แก้สมการโดยทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์
1) x2 + 2x = 6
2) y2 - 2y - 16 = 0
3) 3x2 + 4 = -2x
4. จงแก้สมการโดยใช้สูตรกาลังสอง
1) 2x2 + 4x – 3 = 0
2) 3x2 + 2x - 7 = 0
3) 2y3 - 5y3 - 12y = 0
5. สังกะสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 3 เซนติเมตร ถ้าความยาวและความกว้าง
เพิ่มขึ้นอีกด้านละ 3 เซนติเมตร จะมีพื้นที่เพิ่มขึ้น 54 ตารางเซนติเมตร จงหาความกว้างและความยาวของรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้าเดิม
6. ถ้าจานวนสองจานวน จานวนที่มากกว่ามากกว่าจานวนที่น้อยกว่าอยู่ 6 ถ้าผลบวกของกาลังสองของแต่
ละจานวนเท่ากับ 306 จงหาจานวนทั้งสอง
เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 18
เรื่อง การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว
1. แก้สมการ
1) x2 - 16 = 0
x2 - 16 = 0
x2 = 16
x = 4
คาตอบของสมการ คือ 4 และ -4
2) 3x2 – 25 = 0
3x2 - 25 = 0
x2 =
3
25
x =
3
5

=
3
35

คาตอบของสมการ คือ
3
35
และ -
3
35
3) (2x + 3)2 = 9
2x + 3= 3
x =
2
33
คาตอบของสมการ คือ 0 และ -3
4) 2x2 = -8
x2 = -4
ไม่มีจานวนจริง x ที่ทาให้ x2 เท่ากับ -4
ดังนั้น สมการ 2x2= -8 ไม่มีคาตอบของสมการ
5) (3x - 5)2 = -6
3x - 5 = 6
ไม่มีจานวนจริงใดที่ยกกาลังสองได้-6
ดังนั้น สมการ (3x - 5)2 = -6 ไม่มีคาตอบของสมการ
6) (2x + 3)2 – 6 = 0
(2x + 3)2 = 6
2x + 3 = 6
x =
2
36 
คาตอบของสมการ คือ
2
36 
และ -
2
36 
2. แก้สมการโดยวิธีแยกตัวประกอบ
1) x2 - 7x + 10 = 0
(x - 5)(x - 2) = 0
x - 5 = 0 หรือ x - 2 = 0
x = 5 หรือ x = 2
คาตอบของสมการ คือ 5 และ 2
2) 2x2 + x – 10 = 0
(2x + 5)(x - 2) = 0
2x + 5= 0 หรือ x - 2 = 0
x =
2
5
หรือ x = 2
คาตอบของสมการ คือ
2
5
และ 2
3) x2 + 6x = -10
x2 + 6x + 10 = 0
x2 + 2(3)x + 32 - 32 + 10 = 0
(x + 3) 2 + 1 = 0
เมื่อแทน x ด้วยจานวนจริงใดๆ จะได้ว่า (x + 3)2 + 1 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 เสมอ
ดังนั้นสมการ x2 + 6x = -10 หรือ (x + 3)2 + 1 = 0 จึงไม่มีคาตอบ
4) y2 - 8y = 0
y(y - 8) = 0
y = 0 หรือ y - 8 = 0
y = 0 หรือ y = 8
คาตอบของสมการ คือ 0 และ 8
5) 3a2 - 7a + 4 = 0
(3a - 4)(a - 1) = 0
3a - 4 = 0 หรือ a – 1 = 0
a =
3
4
หรือ a = 1 คาตอบของสมการ คือ
3
4
และ 1
3. แก้สมการโดยทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์
1) x2 + 2x = 6
x2 + 2x - 6 = 0
จะได้ [x2 + 2(1)x + 12] - 12 - 6 = 0
(x + 1)2 - 7 = 0
(x + 1) 2 = 7
x + 1 = 7
x = -1 7
คาตอบของสมการ คือ -1 + 7 และะ -1 - 7
2) y2 - 2y - 16 = 0
y2 - 2y - 16 = 0
[y2 - 2(1)y + 12] - 12 - 16 = 0
(y - 1) 2 - 17 = 0
(y - 1) 2 = 7
y - 1 = 17
y = 1 17
คาตอบของสมการ คือ 1 + 17 และ 1 - 17
3) 3x2 + 4 = -2x
3x2 + 2x + 4 = 0
x2 +
3
2
x +
3
4
= 0 (นา 3 หารทั้งสองข้างของสมการ)
[x2 + 2(
3
1
x) + (
3
1
) 2] - (
3
1
) 2 +
3
4
= 0
(x +
3
1
) 2 -
9
1
+
3
4
= 0
(x +
3
1
) 2 +
9
11
= 0
เนื่องจาก เมื่อแทน x ด้วยจานวนจริงใดๆ จะทาให้ (x +
3
1
)2 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์เสมอ
ดังนั้น [(x +
3
1
) 2 +
9
11
] จะมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ
9
11
เสมอ
นั่นคือ สมการ (x +
3
1
) 2 + =
9
11
0 หรือ 3x2 + 4 = -2x
ไม่มีคาตอบเป็นจานวนจริง
4. แก้สมการโดยใช้สูตรกาลังสอง
1) 2x2 + 4x – 3 = 0
x =
)(
))((
22
32444 
=
4
1024
=
2
102
คาตอบของสมการ คือ
2
102
และ
2
102
2) 3x2 + 2x - 7 = 0
x =
)(
))((
32
734222 
=
6
2222
=
3
221
คาตอบของสมการ คือ
3
221
และ 3
221
3) 2y3 - 5y3 - 12y = 0
y(2y2 - 5y - 12) = 0
y(2y + 3)(y - 4) = 0
y = 0 หรือ 2y + 3 = 0 หรือ y - 4 = 0
y = 0 หรือ y= หรือ y = 4
คาตอบของสมการ คือ 0,
2
3
และ 4
6. สังกะสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 3 เซนติเมตร ถ้าความยาว
และความกว้างเพิ่มขึ้นอีกด้านละ 3 เซนติเมตร จะมีพื้นที่เพิ่มขึ้น 54 ตารางเซนติเมตร จงหาความกว้างและ
ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเดิม
ให้เดิมมีด้านกว้าง x เซนติเมตร มีด้านยาว x + 3 เซนติเมตร
เดิมจะมีพื้นที่ x 5 (x + 3) = x2 + 3x ตารางเซนติเมตร
เมื่อด้านกว้างเป็น x + 3 เซนติเมตร ด้านยาวเป็น x + 6 เซนติเมตร
จะมีพื้นที่ (x + 3)(x + 6) = x2 + 9x + 18 ตารางเซนติเมตร
จะได้ (x2 + 9x + 18) - (x2 + 3x) = 54
ดังนั้น x = 6
นั่นคือ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเดิมมีด้านกว้าง 6 เซนติเมตร
และมีความยาว 6 + 3 = 9 เซนติเมตร
7. ถ้าจานวนสองจานวน จานวนที่มากกว่ามากกว่าจานวนที่น้อยกว่าอยู่ 6 ถ้าผลบวกของกาลังสองของแต่
ละจานวนเท่ากับ 306 จงหาจานวนทั้งสอง
ให้จานวนที่น้อยกว่า คือ x ดังนั้นจานวนที่มากกว่า คือ x + 6
x2 + (x + 6)2 = 306
x2 + x2 + 12x + 36 = 306
x2 + 6x - 135 = 0
(x - 9)(x + 15) = 0
x = 9 หรือ x = -15
ถ้าจานวนที่น้อยคือ -15 จานวนที่มาก คือ -9
ถ้าจานวนที่น้อย คือ 9 จานวนที่มาก คือ 15
ตอบ

More Related Content

What's hot

สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
krutew Sudarat
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
Beer Aksornsart
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
พัน พัน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
Piyanouch Suwong
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
sariya25
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
Ritthinarongron School
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 

What's hot (20)

สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์เนื้อหาเมทริกซ์
เนื้อหาเมทริกซ์
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริงค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนจริง
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
ข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนามข้อสอบพหุนาม
ข้อสอบพหุนาม
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรการแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 

Viewers also liked

กฎการนับ
กฎการนับกฎการนับ
กฎการนับ
Jutaros Tosakul
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
krulerdboon
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
kanjana2536
 
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันอสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
พัน พัน
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
narong2508
 

Viewers also liked (12)

แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
กฎการนับ
กฎการนับกฎการนับ
กฎการนับ
 
บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
ใบงานสมการ
ใบงานสมการใบงานสมการ
ใบงานสมการ
 
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากันอสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
อสมการเครื่องหมายไม่เท่ากัน
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1การแก้อสมการเชิงเส้น1
การแก้อสมการเชิงเส้น1
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 

Similar to การแก้สมการ

เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
krurutsamee
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
krurutsamee
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
Kuntoonbut Wissanu
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
Unity' Aing
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
คุณครูพี่อั๋น
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
krurutsamee
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
Aon Narinchoti
 

Similar to การแก้สมการ (20)

เฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรตเฉลยอินทิเกรต
เฉลยอินทิเกรต
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
2.1 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสองที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม 
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือการแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 
เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์เฉลยอนุพันธ์
เฉลยอนุพันธ์
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 matrix-081060
60 matrix-08106060 matrix-081060
60 matrix-081060
 
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10  ___ facebook.com_123_grade4---  _________ 3.1 ___ 01-10
___ facebook.com_123_grade4--- _________ 3.1 ___ 01-10
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
ลิมิต
ลิมิตลิมิต
ลิมิต
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 

More from Aon Narinchoti

More from Aon Narinchoti (20)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Prob
ProbProb
Prob
 
Event
EventEvent
Event
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
Random experiment
Random experimentRandom experiment
Random experiment
 
His brob
His brobHis brob
His brob
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936Lxt6 sonvyqi20150807080936
Lxt6 sonvyqi20150807080936
 
Know5
Know5Know5
Know5
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know3
Know3Know3
Know3
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Climometer
ClimometerClimometer
Climometer
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
อัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนนอัตราส่วนคะแนน
อัตราส่วนคะแนน
 

การแก้สมการ

  • 1. ใบความรู้ที่ 18 เรื่อง การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว 1. การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว โดยอาศัยการแยกตัวประกอบพหุนามและ ab = 0 แล้ว a หรือ b อย่างน้อยหนึ่งตัวต้องเป็นศูนย์ เมื่อ a, b  R ตัวอย่างที่ 1 จงหาคาตอบของสมการ x2 – 4x + 3 = 0 วิธีทา x2 – 4x + 3 = 0 (x – 1)(x – 3) = 0 หาคาตอบของสมการ (x – 1)(x – 3) = 0 โดยหาค่า x ที่ทาให้ x – 1 = 0 หรือ x – 3 = 0 x = 1 หรือ x = 3 ตรวจคาตอบโดยการแทนค่า x ด้วย 1 หรือ 3 ในสมการ x2 – 4x + 3 = 0 เมื่อ x = 1 จะได้ (12 ) – 4(1) + 3 = 0 ซึ่งเป็นจริง เมื่อ x = 3 จะได้ (32 ) – 4(3) + 3 = 0 ซึ่งเป็นจริง 1 และ 3 เป็นคาตอบของสมการ x2 – 4x + 3 = 0 ตอบ
  • 2. 2. การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียวในรูป ax2 + bx + c = 0 เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว และ a  0 โดยใช้สูตร x = 2a 4ac-bb- 2  เมื่อ b2 – 4ac  0 ตัวอย่างที่ 2 จงหาคาตอบของสมการ 2x2 – 4x – 4 = 0 วิธีทา จากสูตร x = 2a 4ac-bb- 2  จากโจทย์จะได้ a = 2 , b = -4 และ c = -4 แทนค่า a, b, c ในสูตร จะได้ x = 42 (-4))2(4-(-4)(-4)- 2   = 4 32164  = 4 484  = 4 344  = 31  คาตอบของสมการคือ 31  และ 3-1 ตอบ ข้อสังเกต
  • 3. ตัวอย่างที่ 3 จงแก้สมการ x 2 + 3x = 4 โดยใช้สูตรข้างต้น จากสมการ x 2 + 3x = 4 จะได้ x 2 + 3x - 4 = 0 สูตร x = a acbb 2 42  เมื่อ a = 1, b = 3 และ c = - 4 จะได้ x = )( ))(( 12 414233  = 2 1693  = 2 53 คาตอบของสมการ คือ 1 และ -4 ตัวอย่างที่ 4 จงแก้สมการ 2x 2 + 10x + 7 = 0 โดยใช้สูตร สูตร x = a acbb 2 42  เมื่อ a = 2, b = 10 และ c = 7 จะได้ x = a ac 2 421010  = )(22 5610010  = 2 115 คาตอบของสมการ คือ 2 115 และ 2 115
  • 4. แบบฝึกทักษะที่ 18 เรื่อง การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว 1. จงแก้สมการ 1) x2 - 16 = 0 2) 3x2 – 25 = 0 3) (2x + 3)2 = 9 4) 2x2 = -8 5) (3x - 5)2 = -6 6) (2x + 3)2 – 6 = 0 2. จงแก้สมการโดยวิธีแยกตัวประกอบ 1) x2 - 7x + 10 = 0 2) 2x2 + x – 10 = 0 3) x2 + 6x = -10 4) y2 - 8y = 0 5) 3a2 - 7a + 4 = 0 3. แก้สมการโดยทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ 1) x2 + 2x = 6 2) y2 - 2y - 16 = 0 3) 3x2 + 4 = -2x 4. จงแก้สมการโดยใช้สูตรกาลังสอง 1) 2x2 + 4x – 3 = 0 2) 3x2 + 2x - 7 = 0 3) 2y3 - 5y3 - 12y = 0
  • 5. 5. สังกะสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 3 เซนติเมตร ถ้าความยาวและความกว้าง เพิ่มขึ้นอีกด้านละ 3 เซนติเมตร จะมีพื้นที่เพิ่มขึ้น 54 ตารางเซนติเมตร จงหาความกว้างและความยาวของรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้าเดิม 6. ถ้าจานวนสองจานวน จานวนที่มากกว่ามากกว่าจานวนที่น้อยกว่าอยู่ 6 ถ้าผลบวกของกาลังสองของแต่ ละจานวนเท่ากับ 306 จงหาจานวนทั้งสอง
  • 6. เฉลยแบบฝึกทักษะที่ 18 เรื่อง การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว 1. แก้สมการ 1) x2 - 16 = 0 x2 - 16 = 0 x2 = 16 x = 4 คาตอบของสมการ คือ 4 และ -4 2) 3x2 – 25 = 0 3x2 - 25 = 0 x2 = 3 25 x = 3 5  = 3 35  คาตอบของสมการ คือ 3 35 และ - 3 35 3) (2x + 3)2 = 9 2x + 3= 3 x = 2 33 คาตอบของสมการ คือ 0 และ -3 4) 2x2 = -8 x2 = -4 ไม่มีจานวนจริง x ที่ทาให้ x2 เท่ากับ -4 ดังนั้น สมการ 2x2= -8 ไม่มีคาตอบของสมการ
  • 7. 5) (3x - 5)2 = -6 3x - 5 = 6 ไม่มีจานวนจริงใดที่ยกกาลังสองได้-6 ดังนั้น สมการ (3x - 5)2 = -6 ไม่มีคาตอบของสมการ 6) (2x + 3)2 – 6 = 0 (2x + 3)2 = 6 2x + 3 = 6 x = 2 36  คาตอบของสมการ คือ 2 36  และ - 2 36  2. แก้สมการโดยวิธีแยกตัวประกอบ 1) x2 - 7x + 10 = 0 (x - 5)(x - 2) = 0 x - 5 = 0 หรือ x - 2 = 0 x = 5 หรือ x = 2 คาตอบของสมการ คือ 5 และ 2 2) 2x2 + x – 10 = 0 (2x + 5)(x - 2) = 0 2x + 5= 0 หรือ x - 2 = 0 x = 2 5 หรือ x = 2 คาตอบของสมการ คือ 2 5 และ 2
  • 8. 3) x2 + 6x = -10 x2 + 6x + 10 = 0 x2 + 2(3)x + 32 - 32 + 10 = 0 (x + 3) 2 + 1 = 0 เมื่อแทน x ด้วยจานวนจริงใดๆ จะได้ว่า (x + 3)2 + 1 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 1 เสมอ ดังนั้นสมการ x2 + 6x = -10 หรือ (x + 3)2 + 1 = 0 จึงไม่มีคาตอบ 4) y2 - 8y = 0 y(y - 8) = 0 y = 0 หรือ y - 8 = 0 y = 0 หรือ y = 8 คาตอบของสมการ คือ 0 และ 8 5) 3a2 - 7a + 4 = 0 (3a - 4)(a - 1) = 0 3a - 4 = 0 หรือ a – 1 = 0 a = 3 4 หรือ a = 1 คาตอบของสมการ คือ 3 4 และ 1 3. แก้สมการโดยทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ 1) x2 + 2x = 6 x2 + 2x - 6 = 0 จะได้ [x2 + 2(1)x + 12] - 12 - 6 = 0 (x + 1)2 - 7 = 0 (x + 1) 2 = 7 x + 1 = 7 x = -1 7 คาตอบของสมการ คือ -1 + 7 และะ -1 - 7
  • 9. 2) y2 - 2y - 16 = 0 y2 - 2y - 16 = 0 [y2 - 2(1)y + 12] - 12 - 16 = 0 (y - 1) 2 - 17 = 0 (y - 1) 2 = 7 y - 1 = 17 y = 1 17 คาตอบของสมการ คือ 1 + 17 และ 1 - 17 3) 3x2 + 4 = -2x 3x2 + 2x + 4 = 0 x2 + 3 2 x + 3 4 = 0 (นา 3 หารทั้งสองข้างของสมการ) [x2 + 2( 3 1 x) + ( 3 1 ) 2] - ( 3 1 ) 2 + 3 4 = 0 (x + 3 1 ) 2 - 9 1 + 3 4 = 0 (x + 3 1 ) 2 + 9 11 = 0 เนื่องจาก เมื่อแทน x ด้วยจานวนจริงใดๆ จะทาให้ (x + 3 1 )2 มีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์เสมอ ดังนั้น [(x + 3 1 ) 2 + 9 11 ] จะมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 9 11 เสมอ นั่นคือ สมการ (x + 3 1 ) 2 + = 9 11 0 หรือ 3x2 + 4 = -2x ไม่มีคาตอบเป็นจานวนจริง
  • 10. 4. แก้สมการโดยใช้สูตรกาลังสอง 1) 2x2 + 4x – 3 = 0 x = )( ))(( 22 32444  = 4 1024 = 2 102 คาตอบของสมการ คือ 2 102 และ 2 102 2) 3x2 + 2x - 7 = 0 x = )( ))(( 32 734222  = 6 2222 = 3 221 คาตอบของสมการ คือ 3 221 และ 3 221 3) 2y3 - 5y3 - 12y = 0 y(2y2 - 5y - 12) = 0 y(2y + 3)(y - 4) = 0 y = 0 หรือ 2y + 3 = 0 หรือ y - 4 = 0 y = 0 หรือ y= หรือ y = 4 คาตอบของสมการ คือ 0, 2 3 และ 4
  • 11. 6. สังกะสีรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง 3 เซนติเมตร ถ้าความยาว และความกว้างเพิ่มขึ้นอีกด้านละ 3 เซนติเมตร จะมีพื้นที่เพิ่มขึ้น 54 ตารางเซนติเมตร จงหาความกว้างและ ความยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเดิม ให้เดิมมีด้านกว้าง x เซนติเมตร มีด้านยาว x + 3 เซนติเมตร เดิมจะมีพื้นที่ x 5 (x + 3) = x2 + 3x ตารางเซนติเมตร เมื่อด้านกว้างเป็น x + 3 เซนติเมตร ด้านยาวเป็น x + 6 เซนติเมตร จะมีพื้นที่ (x + 3)(x + 6) = x2 + 9x + 18 ตารางเซนติเมตร จะได้ (x2 + 9x + 18) - (x2 + 3x) = 54 ดังนั้น x = 6 นั่นคือ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเดิมมีด้านกว้าง 6 เซนติเมตร และมีความยาว 6 + 3 = 9 เซนติเมตร 7. ถ้าจานวนสองจานวน จานวนที่มากกว่ามากกว่าจานวนที่น้อยกว่าอยู่ 6 ถ้าผลบวกของกาลังสองของแต่ ละจานวนเท่ากับ 306 จงหาจานวนทั้งสอง ให้จานวนที่น้อยกว่า คือ x ดังนั้นจานวนที่มากกว่า คือ x + 6 x2 + (x + 6)2 = 306 x2 + x2 + 12x + 36 = 306 x2 + 6x - 135 = 0 (x - 9)(x + 15) = 0 x = 9 หรือ x = -15 ถ้าจานวนที่น้อยคือ -15 จานวนที่มาก คือ -9 ถ้าจานวนที่น้อย คือ 9 จานวนที่มาก คือ 15 ตอบ